อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าผัสสะเป็นปัจจัยเวทนา ๓ ประการ​ ย่อมดับไปเพราะผัสสะดับ.
สัทธรรมลำดับที่ : 149
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=149
ชื่อบทธรรม :- อาการเกิดดับแห่งเวทนา
เนื้อความทั้งหมด :-
--อาการเกิดดับแห่งเวทนา
--ภิกษุ ท. ! เวทนา ๓ อย่างเหล่านี้
เกิดมาจากผัสสะ มีผัสสะเป็นมูล มีผัสสะเป็นเหตุ มีผัสสะเป็นปัจจัย.
สามอย่างเหล่าไหนเล่า ?
สามอย่างคือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา.
http://etipitaka.com/read/pali/18/266/?keywords=ผสฺส+เวทนา
--ภิกษุ ท. !
เพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา
สุขเวทนาย่อมเกิดขึ้น ;
เพราะความดับแห่งผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้น
สุขเวทนาอันเกิดขึ้น
เพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้น
ย่อมดับไปย่อมระงับไป.

(ในกรณีแห่ง ทุกขเวทนา และ อทุกขมสุขเวทนา
ก็ได้ตรัสไว้ด้วยถ้อยคำมีนัยยะอย่างเดียวกัน).

--ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือน เมื่อไม้สีไฟสองอันสีกัน ก็เกิดความร้อนและเกิดไฟ,
เมื่อไม้สีไฟสองอันแยกกัน ความร้อนก็ดับไปสงบไป.
--ภิกษุ ท. ! ฉันใดก็ฉันนั้น :
เวทนาทั้งสามนี้ ซึ่งเกิดจากผัสสะ
มีผัสสะเป็นมูล มีผัสสะเป็นเหตุ มีผัสสะเป็นปัจจัย
อาศัยผัสสะแล้วย่อมเกิดขึ้น,
#ย่อมดับไปเพราะผัสสะดับ,
http://etipitaka.com/read/pali/18/267/?keywords=ผสฺส+เวทนา
ดังนี้แล.

#ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา, สํ. 18/229/389-390.
http://etipitaka.com/read/thai/18/229/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%98%E0%B9%99
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา, สํ. ๑๘/๒๖๖/๓๘๙-๓๙๐.
http://etipitaka.com/read/pali/18/266/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%98%E0%B9%99
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=149
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=149
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11
ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียง...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าผัสสะเป็นปัจจัยเวทนา ๓ ประการ​ ย่อมดับไปเพราะผัสสะดับ. สัทธรรมลำดับที่ : 149 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=149 ชื่อบทธรรม :- อาการเกิดดับแห่งเวทนา เนื้อความทั้งหมด :- --อาการเกิดดับแห่งเวทนา --ภิกษุ ท. ! เวทนา ๓ อย่างเหล่านี้ เกิดมาจากผัสสะ มีผัสสะเป็นมูล มีผัสสะเป็นเหตุ มีผัสสะเป็นปัจจัย. สามอย่างเหล่าไหนเล่า ? สามอย่างคือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา. http://etipitaka.com/read/pali/18/266/?keywords=ผสฺส+เวทนา --ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา สุขเวทนาย่อมเกิดขึ้น ; เพราะความดับแห่งผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้น สุขเวทนาอันเกิดขึ้น เพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้น ย่อมดับไปย่อมระงับไป. (ในกรณีแห่ง ทุกขเวทนา และ อทุกขมสุขเวทนา ก็ได้ตรัสไว้ด้วยถ้อยคำมีนัยยะอย่างเดียวกัน). --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือน เมื่อไม้สีไฟสองอันสีกัน ก็เกิดความร้อนและเกิดไฟ, เมื่อไม้สีไฟสองอันแยกกัน ความร้อนก็ดับไปสงบไป. --ภิกษุ ท. ! ฉันใดก็ฉันนั้น : เวทนาทั้งสามนี้ ซึ่งเกิดจากผัสสะ มีผัสสะเป็นมูล มีผัสสะเป็นเหตุ มีผัสสะเป็นปัจจัย อาศัยผัสสะแล้วย่อมเกิดขึ้น, #ย่อมดับไปเพราะผัสสะดับ, http://etipitaka.com/read/pali/18/267/?keywords=ผสฺส+เวทนา ดังนี้แล. #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา, สํ. 18/229/389-390. http://etipitaka.com/read/thai/18/229/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%98%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา, สํ. ๑๘/๒๖๖/๓๘๙-๓๙๐. http://etipitaka.com/read/pali/18/266/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%98%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=149 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=149 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11 ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
- อาการเกิดดับแห่งเวทนา
-อาการเกิดดับแห่งเวทนา ภิกษุ ท. ! เวทนา ๓ อย่างเหล่านี้ เกิดมาจากผัสสะ มีผัสสะเป็นมูล มีผัสสะเป็นเหตุ มีผัสสะเป็นปัจจัย. สามอย่างเหล่าไหนเล่า ? สามอย่างคือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา. ภิกษุ ท. ! เพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา สุขเวทนา ย่อมเกิดขึ้น ; เพราะความดับแห่งผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้น สุขเวทนา อันเกิดขึ้นเพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้น ย่อมดับไปย่อมระงับไป. (ในกรณีแห่ง ทุกขเวทนา และ อทุกขมสุขเวทนา ก็ได้ตรัสไว้ด้วยถ้อยคำมีนัยยะอย่างเดียวกัน). ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือน เมื่อไม้สีไฟสองอันสีกัน ก็เกิดความร้อนและเกิดไฟ, เมื่อไม้สีไฟสองอันแยกกัน ความร้อนก็ดับไปสงบไป. ภิกษุ ท. ! ฉันใดก็ฉันนั้น : เวทนาทั้งสามนี้ ซึ่งเกิดจากผัสสะ มีผัสสะเป็นมูล มีผัสสะเป็นเหตุ มีผัสสะเป็นปัจจัย อาศัยผัสสะแล้วย่อมเกิดขึ้น, ย่อมดับไปเพราะผัสสะดับ, ดังนี้แล.
0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 83 มุมมอง 0 รีวิว