อริยสาวก​พึง​ศึกษา​อย่างนี้​ว่า​ธรรมที่ทำความเป็นผู้มีอำนาจเหนือจิต
สัทธรรมลำดับที่ : 953
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=953
ชื่อบทธรรม : -ธรรมที่ทำความเป็นผู้มีอำนาจเหนือจิต
เนื้อความทั้งหมด :-
--ธรรมที่ทำความเป็นผู้มีอำนาจเหนือจิต
--ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ประกอบด้วยธรรม ๗ ประการ แล้ว
ย่อม ทำจิตให้อยู่ในอำนาจ (ของตน) ได้
และภิกษุนั้นก็ ไม่ตกอยู่ในอำนาจของจิต.
เจ็ดประการอย่างไรเล่า ?
ภิกษุ ท. ! เจ็ดประการ ในกรณีนี้คือ :-
๑. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในสมาธิ;
๒. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในการเข้าสู่สมาธิ;
๓. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในการดำรงอยู่ในสมาธิ;
๔. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในการออกจากสมาธิ;
๕. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในความเหมาะสมแห่งสมาธิ;
๖. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในธรรมเป็นโคจรแห่งสมาธิ;
๗. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในอภินิหารสมาธิ;
--ภิกษุ ท. !
ภิกษุประกอบแล้วด้วยธรรมเจ็ดประการเหล่านี้แล
ย่อมทำให้จิตอยู่ในอำนาจ (ของตน) ได้ และ #ภิกษุนั้นก็ไม่ตกอยู่ในอำนาจของจิต.-
http://etipitaka.com/read/pali/32/36/?keywords=จิตฺตมุปฺปชฺชิ

(ในสูตรอื่น ตรัสว่า การระลึก
๑.ถึงตถาคต
๒.ถึงพระธรรม
๓.ถึงพระสงฆ์
๔ถึงศีล
๕.ถึงจาคะ
๖.ถึงธรรมทำความเป็นเทวดา
-- ๖ ประการนี้
ทำให้จิตไม่ถูกกลุ้มรุมด้วย ราคะ-โทสะ-โมหะ
เป็นจิตไปตรง ก้าวออก หลุดพ้น
ออกจากตัณหาซึ่งเป็นการเปลื้องจิต
ออกมาเสียจากการครอบงำของกิเลส ด้วยเหมือนกัน;
ผู้สนใจพึงอ่านดูจากที่มานั้นจาก
-- ฉกฺก.อํ. ๒๒/๓๔๘/๒๙๖
http://etipitaka.com/read/pali/22/348/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%96
).

#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 32/93/37.
http://etipitaka.com/read/thai/32/93/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๓๒/๓๕/๓๗.
http://etipitaka.com/read/pali/32/35/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=953
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=953
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
อริยสาวก​พึง​ศึกษา​อย่างนี้​ว่า​ธรรมที่ทำความเป็นผู้มีอำนาจเหนือจิต สัทธรรมลำดับที่ : 953 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=953 ชื่อบทธรรม : -ธรรมที่ทำความเป็นผู้มีอำนาจเหนือจิต เนื้อความทั้งหมด :- --ธรรมที่ทำความเป็นผู้มีอำนาจเหนือจิต --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ประกอบด้วยธรรม ๗ ประการ แล้ว ย่อม ทำจิตให้อยู่ในอำนาจ (ของตน) ได้ และภิกษุนั้นก็ ไม่ตกอยู่ในอำนาจของจิต. เจ็ดประการอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เจ็ดประการ ในกรณีนี้คือ :- ๑. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในสมาธิ; ๒. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในการเข้าสู่สมาธิ; ๓. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในการดำรงอยู่ในสมาธิ; ๔. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในการออกจากสมาธิ; ๕. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในความเหมาะสมแห่งสมาธิ; ๖. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในธรรมเป็นโคจรแห่งสมาธิ; ๗. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในอภินิหารสมาธิ; --ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบแล้วด้วยธรรมเจ็ดประการเหล่านี้แล ย่อมทำให้จิตอยู่ในอำนาจ (ของตน) ได้ และ #ภิกษุนั้นก็ไม่ตกอยู่ในอำนาจของจิต.- http://etipitaka.com/read/pali/32/36/?keywords=จิตฺตมุปฺปชฺชิ (ในสูตรอื่น ตรัสว่า การระลึก ๑.ถึงตถาคต ๒.ถึงพระธรรม ๓.ถึงพระสงฆ์ ๔ถึงศีล ๕.ถึงจาคะ ๖.ถึงธรรมทำความเป็นเทวดา -- ๖ ประการนี้ ทำให้จิตไม่ถูกกลุ้มรุมด้วย ราคะ-โทสะ-โมหะ เป็นจิตไปตรง ก้าวออก หลุดพ้น ออกจากตัณหาซึ่งเป็นการเปลื้องจิต ออกมาเสียจากการครอบงำของกิเลส ด้วยเหมือนกัน; ผู้สนใจพึงอ่านดูจากที่มานั้นจาก -- ฉกฺก.อํ. ๒๒/๓๔๘/๒๙๖ http://etipitaka.com/read/pali/22/348/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%99%E0%B9%96 ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. 32/93/37. http://etipitaka.com/read/thai/32/93/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สตฺตก. อํ. ๓๒/๓๕/๓๗. http://etipitaka.com/read/pali/32/35/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=953 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=953 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
- ธรรมที่ทำความเป็นผู้มีอำนาจเหนือจิต
-ธรรมที่ทำความเป็นผู้มีอำนาจเหนือจิต ภิกษุ ท. ! ภิกษุ ประกอบด้วยธรรม ๗ ประการ แล้ว ย่อม ทำจิตให้อยู่ในอำนาจ (ของตน) ได้ และภิกษุนั้นก็ ไม่ตกอยู่ในอำนาจของจิต. เจ็ดประการอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เจ็ดประการ ในกรณีนี้คือ : ๑. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในสมาธิ; ๒. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในการเข้าสู่สมาธิ; ๓. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในการดำรงอยู่ในสมาธิ; ๔. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในการออกจากสมาธิ; ๕. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในความเหมาะสมแห่งสมาธิ; ๖. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในธรรมเป็นโคจรแห่งสมาธิ; ๗. ภิกษุเป็นผู้ ฉลาดในอภินิหารสมาธิ; ภิกษุ ท. ! ภิกษุประกอบแล้วด้วยธรรมเจ็ดประการเหล่านี้แล ย่อมทำให้จิตอยู่ในอำนาจ (ของตน) ได้ และภิกษุนั้นก็ไม่ตกอยู่ในอำนาจของจิต.
Like
1
0 Comments 0 Shares 85 Views 0 Reviews