อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิภาคแห่งสัญญาขันธ์
สัทธรรมลำดับที่ : 153
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=153
ชื่อบทธรรม : -๓. วิภาคแห่งสัญญาขันธ์
เนื้อความทั้งหมด :-
--๓. วิภาคแห่งสัญญขันธ์
--สัญญาหกประการ
--ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? หมู่แห่งสัญญาหกเหล่านี้คือ
สัญญาในรูป,
สัญญาในเสียง,
สัญญาในกลิ่น,
สัญญาในรส,
สัญญาในโผฏฐัพพะ, และ
สัญญาในธรรมารมณ์.
ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #สัญญา.-
-http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=สญฺญา
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/59/115.
http://etipitaka.com/read/thai/17/59/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๕.
http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=153
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=153
สัทธรรมลำดับที่ : 154
ชื่อบทธรรม : -ความหมายของคำว่า “สัญญา”
เนื้อความทั้งหมด :-
--ความหมายของคำว่า “สัญญา”
--ภิกษุ ท. ! คนทั่วไป กล่าวกันว่า “สัญญา” เพราะอาศัยความหมาย อะไรเล่า ?
--ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่หมายรู้ได้พร้อม มีอยู่ ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น
สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า สัญญา.
http://etipitaka.com/read/pali/17/105/?keywords=สญฺญา
สิ่งนั้น ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งอะไร ?
สิ่งนั้น ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีเขียวบ้าง,
ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีเหลืองบ้าง,
ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีแดงบ้าง, และ
ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีขาวบ้าง
(ดังนี้เป็นต้น).
ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่หมายรู้ได้พร้อม มีอยู่ ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น
สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า สัญญา.-
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธฺ. สํ. 17/86/159.
http://etipitaka.com/read/thai/17/86/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธฺ. สํ. ๑๗/๑๐๕/๑๕๙.
http://etipitaka.com/read/pali/17/105/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=154
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=154
สัทธรรมลำดับที่ : 155
ชื่อบทธรรม : -อุปมาแห่งสัญญา
เนื้อความทั้งหมด :-
--อุปมาแห่งสัญญา
--ภิกษุ ท. ! เมื่อเดือนท้ายแห่งฤดูร้อนยังเหลืออยู่,
ในเวลาเที่ยงวัน พยับแดดย่อมไหวยิบยับ.
บุรุษผู้มีจักษุ (ตามปกติ) เห็นพยับแดดนั้น ก็เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย.
http://etipitaka.com/read/pali/17/172/?keywords=สญฺญา
เมื่อบุรุษนั้นเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่,
พยับแดดนั้น ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป.
--ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในพยับแดดนั้น จะพึงมีได้อย่างไร, อุปมานี้ฉันใด ;
--ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ สัญญา ชนิดใดชนิดหนึ่ง
มีอยู่จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม
หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือที่ใกล้ก็ตาม ;
ภิกษุสังเกตเห็น (การบังเกิดขึ้นแห่ง) สัญญานั้น ย่อมเพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย.
เมื่อภิกษุนั้นสังเกตเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่,
สัญญานั้นย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า
และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป.
--ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในสัญญานั้น จะพึงมีได้อย่างไร.-
#ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/135/244.
http://etipitaka.com/read/thai/17/135/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๗๒/๒๔๔.
http://etipitaka.com/read/pali/17/172/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=155
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=155
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12
ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
สัทธรรมลำดับที่ : 153
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=153
ชื่อบทธรรม : -๓. วิภาคแห่งสัญญาขันธ์
เนื้อความทั้งหมด :-
--๓. วิภาคแห่งสัญญขันธ์
--สัญญาหกประการ
--ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? หมู่แห่งสัญญาหกเหล่านี้คือ
สัญญาในรูป,
สัญญาในเสียง,
สัญญาในกลิ่น,
สัญญาในรส,
สัญญาในโผฏฐัพพะ, และ
สัญญาในธรรมารมณ์.
ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #สัญญา.-
-http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=สญฺญา
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/59/115.
http://etipitaka.com/read/thai/17/59/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๕.
http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=153
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=153
สัทธรรมลำดับที่ : 154
ชื่อบทธรรม : -ความหมายของคำว่า “สัญญา”
เนื้อความทั้งหมด :-
--ความหมายของคำว่า “สัญญา”
--ภิกษุ ท. ! คนทั่วไป กล่าวกันว่า “สัญญา” เพราะอาศัยความหมาย อะไรเล่า ?
--ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่หมายรู้ได้พร้อม มีอยู่ ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น
สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า สัญญา.
http://etipitaka.com/read/pali/17/105/?keywords=สญฺญา
สิ่งนั้น ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งอะไร ?
สิ่งนั้น ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีเขียวบ้าง,
ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีเหลืองบ้าง,
ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีแดงบ้าง, และ
ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีขาวบ้าง
(ดังนี้เป็นต้น).
ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่หมายรู้ได้พร้อม มีอยู่ ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น
สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า สัญญา.-
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธฺ. สํ. 17/86/159.
http://etipitaka.com/read/thai/17/86/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธฺ. สํ. ๑๗/๑๐๕/๑๕๙.
http://etipitaka.com/read/pali/17/105/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=154
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=154
สัทธรรมลำดับที่ : 155
ชื่อบทธรรม : -อุปมาแห่งสัญญา
เนื้อความทั้งหมด :-
--อุปมาแห่งสัญญา
--ภิกษุ ท. ! เมื่อเดือนท้ายแห่งฤดูร้อนยังเหลืออยู่,
ในเวลาเที่ยงวัน พยับแดดย่อมไหวยิบยับ.
บุรุษผู้มีจักษุ (ตามปกติ) เห็นพยับแดดนั้น ก็เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย.
http://etipitaka.com/read/pali/17/172/?keywords=สญฺญา
เมื่อบุรุษนั้นเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่,
พยับแดดนั้น ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป.
--ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในพยับแดดนั้น จะพึงมีได้อย่างไร, อุปมานี้ฉันใด ;
--ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ สัญญา ชนิดใดชนิดหนึ่ง
มีอยู่จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม
หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือที่ใกล้ก็ตาม ;
ภิกษุสังเกตเห็น (การบังเกิดขึ้นแห่ง) สัญญานั้น ย่อมเพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย.
เมื่อภิกษุนั้นสังเกตเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่,
สัญญานั้นย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า
และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป.
--ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในสัญญานั้น จะพึงมีได้อย่างไร.-
#ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/135/244.
http://etipitaka.com/read/thai/17/135/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๗๒/๒๔๔.
http://etipitaka.com/read/pali/17/172/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=155
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=155
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12
ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาวิภาคแห่งสัญญาขันธ์
สัทธรรมลำดับที่ : 153
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=153
ชื่อบทธรรม : -๓. วิภาคแห่งสัญญาขันธ์
เนื้อความทั้งหมด :-
--๓. วิภาคแห่งสัญญขันธ์
--สัญญาหกประการ
--ภิกษุ ท. ! สัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? หมู่แห่งสัญญาหกเหล่านี้คือ
สัญญาในรูป,
สัญญาในเสียง,
สัญญาในกลิ่น,
สัญญาในรส,
สัญญาในโผฏฐัพพะ, และ
สัญญาในธรรมารมณ์.
ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #สัญญา.-
-http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=สญฺญา
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/59/115.
http://etipitaka.com/read/thai/17/59/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๕.
http://etipitaka.com/read/pali/17/74/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%91%E0%B9%95
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=153
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=153
สัทธรรมลำดับที่ : 154
ชื่อบทธรรม : -ความหมายของคำว่า “สัญญา”
เนื้อความทั้งหมด :-
--ความหมายของคำว่า “สัญญา”
--ภิกษุ ท. ! คนทั่วไป กล่าวกันว่า “สัญญา” เพราะอาศัยความหมาย อะไรเล่า ?
--ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่หมายรู้ได้พร้อม มีอยู่ ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น
สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า สัญญา.
http://etipitaka.com/read/pali/17/105/?keywords=สญฺญา
สิ่งนั้น ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งอะไร ?
สิ่งนั้น ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีเขียวบ้าง,
ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีเหลืองบ้าง,
ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีแดงบ้าง, และ
ย่อมหมายรู้ได้พร้อม ซึ่งสีขาวบ้าง
(ดังนี้เป็นต้น).
ภิกษุ ท. ! เพราะกิริยาที่หมายรู้ได้พร้อม มีอยู่ ในสิ่งนั้น (เช่นนี้แล) ดังนั้น
สิ่งนั้น จึงถูกเรียกว่า สัญญา.-
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธฺ. สํ. 17/86/159.
http://etipitaka.com/read/thai/17/86/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธฺ. สํ. ๑๗/๑๐๕/๑๕๙.
http://etipitaka.com/read/pali/17/105/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%99
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=154
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=154
สัทธรรมลำดับที่ : 155
ชื่อบทธรรม : -อุปมาแห่งสัญญา
เนื้อความทั้งหมด :-
--อุปมาแห่งสัญญา
--ภิกษุ ท. ! เมื่อเดือนท้ายแห่งฤดูร้อนยังเหลืออยู่,
ในเวลาเที่ยงวัน พยับแดดย่อมไหวยิบยับ.
บุรุษผู้มีจักษุ (ตามปกติ) เห็นพยับแดดนั้น ก็เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย.
http://etipitaka.com/read/pali/17/172/?keywords=สญฺญา
เมื่อบุรุษนั้นเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่,
พยับแดดนั้น ย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป.
--ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในพยับแดดนั้น จะพึงมีได้อย่างไร, อุปมานี้ฉันใด ;
--ภิกษุ ท. ! อุปไมยก็ฉันนั้น คือ สัญญา ชนิดใดชนิดหนึ่ง
มีอยู่จะเป็นอดีตอนาคตหรือปัจจุบันก็ตาม เป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม
หยาบหรือละเอียดก็ตาม เลวหรือประณีตก็ตาม มีในที่ไกลหรือที่ใกล้ก็ตาม ;
ภิกษุสังเกตเห็น (การบังเกิดขึ้นแห่ง) สัญญานั้น ย่อมเพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคาย.
เมื่อภิกษุนั้นสังเกตเห็นอยู่ เพ่งพินิจพิจารณาโดยแยบคายอยู่,
สัญญานั้นย่อมปรากฏเป็นของว่างของเปล่า
และปรากฏเป็นของหาแก่นสารมิได้ไป.
--ภิกษุ ท. ! ก็แก่นสารในสัญญานั้น จะพึงมีได้อย่างไร.-
#ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/135/244.
http://etipitaka.com/read/thai/17/135/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๗๒/๒๔๔.
http://etipitaka.com/read/pali/17/172/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%94
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=155
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=155
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12
ลำดับสาธยายธรรม : 12 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
0 Comments
0 Shares
129 Views
0 Reviews