• https://youtu.be/NSksfEuF3O4?si=5BQ00_Cp_LZo74J5
    https://youtu.be/NSksfEuF3O4?si=5BQ00_Cp_LZo74J5
    0 Comments 0 Shares 17 Views 0 Reviews
  • https://youtu.be/TNafOfGg_4E?si=N_G7Koae2Bt52Q5O
    https://youtu.be/TNafOfGg_4E?si=N_G7Koae2Bt52Q5O
    0 Comments 0 Shares 19 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/68VjsMlptjA?si=QeqwsvkWx2gAJ0PB
    https://youtube.com/shorts/68VjsMlptjA?si=QeqwsvkWx2gAJ0PB
    0 Comments 0 Shares 24 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/2KHNQSWd_Js?si=828O81t2nhKFihMc
    https://youtube.com/shorts/2KHNQSWd_Js?si=828O81t2nhKFihMc
    0 Comments 0 Shares 22 Views 0 Reviews
  • https://youtube.com/shorts/6wI8OTfO2CA?si=MjzzMnJRLAfb5PKE
    https://youtube.com/shorts/6wI8OTfO2CA?si=MjzzMnJRLAfb5PKE
    0 Comments 0 Shares 22 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าการแสดงลักษณะแห่งความทุกข์ (ขันธ์มาร) เป็นทุกขธรรม คือ มีทุกข์เป็นธรรมดา
    สัทธรรมลำดับที่ : 220
    ชื่อบทธรรม : - ทรงแสดงลักษณะแห่งความทุกข์ (มาร)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=220
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ทรงแสดงลักษณะแห่งความทุกข์ (มาร)
    --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! คำว่า ‘ทุกข์ ๆ’ ดังนี้
    เป็นคำที่เขากล่าวกันอยู่.
    ทุกข์หรือการบัญญัติว่าทุกข์
    พึงมีได้ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไร พระเจ้าข้า ?”
    --สมิทธิ ! จักษุ รูป จักขุวิญญาณ (ตา​ รูปภาพ​ วิญญาณทางตา)​
    ธรรมที่พึงรู้แจ้งด้วยจักขุวิญญาณมีอยู่ในที่ใด,
    ทุกข์ หรือการบัญญัติว่าทุกข์ ย่อมมีอยู่ในที่นั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/47/?keywords=จกฺขุ+มารปญฺญตฺติ

    (ในกรณีแห่ง โสตะ(หู)​ ฆานะ(จมูก)​ ชิวหา(ลิ้น)​ กายะ(ผิวกาย)​ และ มนะ(ใจ)​
    ก็ได้ตรัสไว้โดยข้อความมีลักษณะอย่างเดียวกันกับกรณีแห่งจักษุนี้
    ).-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/37/72.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/37/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๔๗/๗๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/47/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=220
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=220
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าการแสดงลักษณะแห่งความทุกข์ (ขันธ์มาร) เป็นทุกขธรรม คือ มีทุกข์เป็นธรรมดา สัทธรรมลำดับที่ : 220 ชื่อบทธรรม : - ทรงแสดงลักษณะแห่งความทุกข์ (มาร) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=220 เนื้อความทั้งหมด :- --ทรงแสดงลักษณะแห่งความทุกข์ (มาร) --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! คำว่า ‘ทุกข์ ๆ’ ดังนี้ เป็นคำที่เขากล่าวกันอยู่. ทุกข์หรือการบัญญัติว่าทุกข์ พึงมีได้ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไร พระเจ้าข้า ?” --สมิทธิ ! จักษุ รูป จักขุวิญญาณ (ตา​ รูปภาพ​ วิญญาณทางตา)​ ธรรมที่พึงรู้แจ้งด้วยจักขุวิญญาณมีอยู่ในที่ใด, ทุกข์ หรือการบัญญัติว่าทุกข์ ย่อมมีอยู่ในที่นั้น. http://etipitaka.com/read/pali/18/47/?keywords=จกฺขุ+มารปญฺญตฺติ (ในกรณีแห่ง โสตะ(หู)​ ฆานะ(จมูก)​ ชิวหา(ลิ้น)​ กายะ(ผิวกาย)​ และ มนะ(ใจ)​ ก็ได้ตรัสไว้โดยข้อความมีลักษณะอย่างเดียวกันกับกรณีแห่งจักษุนี้ ).- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/37/72. http://etipitaka.com/read/thai/18/37/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๔๗/๗๒. http://etipitaka.com/read/pali/18/47/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=220 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=220 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ทรงแสดงลักษณะแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง)
    -(ในสูตรอื่น (๑๗/๒๔๐/๓๘๒) ได้ตรัสเรียกสิ่งที่เรียกว่าทุกข์ ว่า ทุกขธรรม คือ มีทุกข์เป็นธรรมดา). ทรงแสดงลักษณะแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) “ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! คำว่า ‘ทุกข์ ๆ’ ดังนี้ เป็นคำที่เขากล่าวกันอยู่. ทุกข์หรือการบัญญัติว่าทุกข์ พึงมีได้ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไร พระเจ้าข้า ?” สมิทธิ ! จักษุ รูป จักขุวิญญาณ ธรรมที่พึงรู้แจ้งด้วยจักขุวิญญาณมีอยู่ในที่ใด, ทุกข์ หรือการบัญญัติว่าทุกข์ ย่อมมีอยู่ในที่นั้น. (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และ มนะ ก็ได้ตรัสไว้โดยข้อความมีลักษณะอย่างเดียวกันกับกรณีแห่งจักษุนี้).
    0 Comments 0 Shares 47 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าความเป็นทุกข์สามลักษณะเป็นธรรมดาของธรรมชาติในโลกธาตุ
    สัทธรรมลำดับที่ : 221
    ชื่อบทธรรม : -ความเป็นทุกข์สามลักษณะ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=221
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความเป็นทุกข์สามลักษณะ
    --ภิกษุ ท. ! ความเป็นทุกข์ มีสามลักษณะเหล่านี้.
    สามลักษณะ เหล่าไหนเล่า ?
    สามลักษณะคือ :-
    +--๑. ความเป็นทุกข์ เพราะมีลักษณะทนได้ยาก,
    http://etipitaka.com/read/pali/19/85/?keywords=ทุกฺขทุกฺขตา
    +--๒. ความเป็นทุกข์ เพราะมีลักษณะเป็นของยึดติดมั่นและประกอบ(อุปทายรูป)
    เป็น​สิ่งอื่นพร้อมกันไปในตัว,
    http://etipitaka.com/read/pali/19/85/?keywords=สงฺขารทุกฺขตา
    +--๓. ความเป็นทุกข์ เพราะมีลักษณะแห่งความแปรปรวนเป็นไปต่าง ๆ.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/85/?keywords=วิปริณามทุกฺขตา

    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ #ความเป็นทุกข์สามลักษณะ.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/83/319.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/83/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๘๕/๓๑๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/85/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=221
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=221
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าความเป็นทุกข์สามลักษณะเป็นธรรมดาของธรรมชาติในโลกธาตุ สัทธรรมลำดับที่ : 221 ชื่อบทธรรม : -ความเป็นทุกข์สามลักษณะ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=221 เนื้อความทั้งหมด :- --ความเป็นทุกข์สามลักษณะ --ภิกษุ ท. ! ความเป็นทุกข์ มีสามลักษณะเหล่านี้. สามลักษณะ เหล่าไหนเล่า ? สามลักษณะคือ :- +--๑. ความเป็นทุกข์ เพราะมีลักษณะทนได้ยาก, http://etipitaka.com/read/pali/19/85/?keywords=ทุกฺขทุกฺขตา +--๒. ความเป็นทุกข์ เพราะมีลักษณะเป็นของยึดติดมั่นและประกอบ(อุปทายรูป) เป็น​สิ่งอื่นพร้อมกันไปในตัว, http://etipitaka.com/read/pali/19/85/?keywords=สงฺขารทุกฺขตา +--๓. ความเป็นทุกข์ เพราะมีลักษณะแห่งความแปรปรวนเป็นไปต่าง ๆ. http://etipitaka.com/read/pali/19/85/?keywords=วิปริณามทุกฺขตา --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ #ความเป็นทุกข์สามลักษณะ.- ​ #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/83/319. http://etipitaka.com/read/thai/19/83/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๘๕/๓๑๙. http://etipitaka.com/read/pali/19/85/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=221 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=221 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ความเป็นทุกข์สามลักษณะ
    -ความเป็นทุกข์สามลักษณะ ภิกษุ ท. ! ความเป็นทุกข์ มีสามลักษณะเหล่านี้. สามลักษณะ เหล่าไหนเล่า ? สามลักษณะคือ : ๑. ความเป็นทุกข์ เพราะมีลักษณะทนได้ยาก, ๒. ความเป็นทุกข์ เพราะมีลักษณะเป็นของปรุงแต่งและปรุงแต่งสิ่งอื่นพร้อมกันไปในตัว, ๓. ความเป็นทุกข์ เพราะมีลักษณะแห่งความแปรปรวนเป็นไปต่าง ๆ. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ ความเป็นทุกข์สามลักษณะ.
    0 Comments 0 Shares 34 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าถึงเหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย
    สัทธรรมลำดับที่ : 617
    ชื่อบทธรรม :- เหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=617
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อุปธิ ทั้งหลาย(ท.) นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/474/?keywords=อุปธิ
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อวิชชา นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/475/?keywords=อวิชฺชา
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง สังขาร ท. นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/475/?keywords=สงฺขาร
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง วิญญาณ นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/476/?keywords=วิญฺญาณ
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง ผัสสะ นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/476/?keywords=ผสฺส
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง เวทนา ท. นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/477/?keywords=เวทนา
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง ตัณหา นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/477/?keywords=ตณฺหา
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อุปาทาน นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/478/?keywords=อุปาทาน
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อารัมภะ (ความเกาะเกี่ยว) ท. นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/478/?keywords=อาัมฺภ
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อาหาร ท. นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/479/?keywords=อาหาร
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อิญชิตะ (ความหวั่นไหว) ท. นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/479/?keywords=อิญฺชิต
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    --นี้เป็นอนุปัสสนาหนึ่ง ๆ.-

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. 25/352-357/392-402.
    http://etipitaka.com/read/thai/25/352/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. ๒๕/๔๗๔-๔๗๙/๓๙๒-๔๐๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/474/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=617
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=617
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าถึงเหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย สัทธรรมลำดับที่ : 617 ชื่อบทธรรม :- เหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=617 เนื้อความทั้งหมด :- --เหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อุปธิ ทั้งหลาย(ท.) นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/474/?keywords=อุปธิ ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อวิชชา นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/475/?keywords=อวิชฺชา ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง สังขาร ท. นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/475/?keywords=สงฺขาร ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง วิญญาณ นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/476/?keywords=วิญฺญาณ ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง ผัสสะ นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/476/?keywords=ผสฺส ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง เวทนา ท. นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/477/?keywords=เวทนา ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง ตัณหา นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/477/?keywords=ตณฺหา ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อุปาทาน นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/478/?keywords=อุปาทาน ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อารัมภะ (ความเกาะเกี่ยว) ท. นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/478/?keywords=อาัมฺภ ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อาหาร ท. นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/479/?keywords=อาหาร ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อิญชิตะ (ความหวั่นไหว) ท. นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/479/?keywords=อิญฺชิต ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... --นี้เป็นอนุปัสสนาหนึ่ง ๆ.- #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. 25/352-357/392-402. http://etipitaka.com/read/thai/25/352/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. ๒๕/๔๗๔-๔๗๙/๓๙๒-๔๐๒. http://etipitaka.com/read/pali/25/474/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=617 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=617 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย
    -เหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อุปธิ ท. นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อวิชชา นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง สังขาร ท. นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี.... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง วิญญาณ นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี.... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง ผัสสะ นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี.... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง เวทนา ท. นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี.... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง ตัณหา นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อุปาทาน นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อารัมภะ (ความเกาะเกี่ยว) ท. นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อาหาร ท. นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี. ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อิญชิตะ (ความหวั่นไหว) ท. นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี.... นี้เป็นอนุปัสสนาหนึ่ง ๆ.
    0 Comments 0 Shares 41 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ความแตกต่างระหว่าง-คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติ
    สัทธรรมลำดับที่ : 985
    ชื่อบทธรรม :- ความแตกต่างระหว่าง-คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=985
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความแตกต่างระหว่าง-คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติพรหมจรรย์
    --ภิกษุ ท. !
    กายนี้เกิดมีขึ้นแล้ว แก่คนเขลา (พาล)​
    http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=พาลสฺส
    ผู้ถูกอวิชชาใดห่อหุ้มแล้วด้วย ผู้พัวพันแล้วด้วยตัณหาใดด้วย,
    อวิชชานั้นแหละ ที่คนเขลายังละไม่ได้
    และตัณหานั่นเทียว ก็ยังไม่หมดสิ้นไป.
    ข้อนั้นเพราะเหตุไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    เพราะว่า คนพาลไม่ได้ประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบ.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=พาโล+อจริ+พฺรหฺมจริยํ
    เพราะเหตุนั้น คนเขลา จึงเป็นผู้เข้าถึงกาย (อื่น)
    เพราะการแตกสลายแห่งกาย (นี้).
    คนเขลานั้น เมื่อเข้าถึงกายอยู่ เรากล่าวว่า
    “เขาไม่หลุดพ้นจากความเกิด ความแก่ ความตาย
    ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ
    และไม่หลุดพ้นจากทุกข์”
    ดังนี้.

    --ภิกษุ ท. !
    กายนี้ เกิดมีขึ้นแล้ว แก่บัณฑิต
    http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=ปณฺฑิตสฺส
    ผู้ถูกอวิชชาใดห่อหุ้มแล้วด้วย ผู้พัวพันแล้วด้วยตัณหาใดด้วย,
    อวิชชานั้นแหละ อันบัณฑิตละได้แล้ว
    http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=อวิชฺชา
    และตัณหานั่นเทียว ก็หมดสิ้นไปแล้ว.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=ตณฺหา
    ข้อนั้นเพราะเหตุไร ?
    เพราะว่า บัณฑิตได้ประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบ.
    เพราะเหตุนั้น บัณฑิตจึงเป็นผู้ไม่เข้าถึงกาย (อื่น)
    เพราะการแตกสลายแห่งกาย (นี้).
    บัณฑิตนั้นเมื่อไม่เข้าถึงกายอยู่ เรากล่าวว่า
    “เขาย่อมหลุดพ้นได้จากความเกิด ความแก่ ความตาย
    ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความ คับแค้นใจ และ
    #ย่อมหลุดพ้นได้จากทุกข์”
    ดังนี้แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/22/59.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/22/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๒๙/๕๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=985
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=985
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84
    ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ความแตกต่างระหว่าง-คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติ สัทธรรมลำดับที่ : 985 ชื่อบทธรรม :- ความแตกต่างระหว่าง-คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=985 เนื้อความทั้งหมด :- --ความแตกต่างระหว่าง-คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติพรหมจรรย์ --ภิกษุ ท. ! กายนี้เกิดมีขึ้นแล้ว แก่คนเขลา (พาล)​ http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=พาลสฺส ผู้ถูกอวิชชาใดห่อหุ้มแล้วด้วย ผู้พัวพันแล้วด้วยตัณหาใดด้วย, อวิชชานั้นแหละ ที่คนเขลายังละไม่ได้ และตัณหานั่นเทียว ก็ยังไม่หมดสิ้นไป. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? +--ภิกษุ ท. ! เพราะว่า คนพาลไม่ได้ประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบ. http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=พาโล+อจริ+พฺรหฺมจริยํ เพราะเหตุนั้น คนเขลา จึงเป็นผู้เข้าถึงกาย (อื่น) เพราะการแตกสลายแห่งกาย (นี้). คนเขลานั้น เมื่อเข้าถึงกายอยู่ เรากล่าวว่า “เขาไม่หลุดพ้นจากความเกิด ความแก่ ความตาย ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ และไม่หลุดพ้นจากทุกข์” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! กายนี้ เกิดมีขึ้นแล้ว แก่บัณฑิต http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=ปณฺฑิตสฺส ผู้ถูกอวิชชาใดห่อหุ้มแล้วด้วย ผู้พัวพันแล้วด้วยตัณหาใดด้วย, อวิชชานั้นแหละ อันบัณฑิตละได้แล้ว http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=อวิชฺชา และตัณหานั่นเทียว ก็หมดสิ้นไปแล้ว. http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=ตณฺหา ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? เพราะว่า บัณฑิตได้ประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบ. เพราะเหตุนั้น บัณฑิตจึงเป็นผู้ไม่เข้าถึงกาย (อื่น) เพราะการแตกสลายแห่งกาย (นี้). บัณฑิตนั้นเมื่อไม่เข้าถึงกายอยู่ เรากล่าวว่า “เขาย่อมหลุดพ้นได้จากความเกิด ความแก่ ความตาย ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความ คับแค้นใจ และ #ย่อมหลุดพ้นได้จากทุกข์” ดังนี้แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/22/59. http://etipitaka.com/read/thai/16/22/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๒๙/๕๙. http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=985 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=985 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84 ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ความแตกต่างระหว่าง
    -ความแตกต่างระหว่าง คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติพรหมจรรย์ ภิกษุ ท. ! กายนี้เกิดมีขึ้นแล้ว แก่คนเขลา ผู้ถูกอวิชชาใดห่อหุ้มแล้วด้วย ผู้พัวพันแล้วด้วยตัณหาใดด้วย, อวิชชานั้นแหละ ที่คนเขลายังละไม่ได้ และตัณหานั่นเทียว ก็ยังไม่หมดสิ้นไป. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? ภิกษุ ท. ! เพราะว่า คนเขลาไม่ได้ประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบ. เพราะเหตุนั้น คนเขลา จึงเป็นผู้เข้าถึงกาย (อื่น) เพราะการแตกสลายแห่งกาย (นี้). คนเขลานั้น เมื่อเข้าถึงกายอยู่ เรากล่าวว่า “เขาไม่หลุดพ้นจากความเกิด ความแก่ ความตาย ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ และไม่หลุดพ้นจากทุกข์” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! กายนี้ เกิดมีขึ้นแล้ว แก่บัณฑิต ผู้ถูกอวิชชาใดห่อหุ้มแล้วด้วย ผู้พัวพันแล้วด้วยตัณหาใดด้วย, อวิชชานั้นแหละ อันบัณฑิตละได้แล้ว และตัณหานั่นเทียว ก็หมดสิ้นไปแล้ว. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? เพราะว่า บัณฑิตได้ประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบ. เพราะเหตุนั้น บัณฑิตจึงเป็นผู้ไม่เข้าถึงกาย (อื่น) เพราะการแตกสลายแห่งกาย (นี้). บัณฑิตนั้นเมื่อไม่เข้าถึงกายอยู่ เรากล่าวว่า “เขาย่อมหลุดพ้นได้จากความเกิด ความแก่ ความตาย ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความ คับแค้นใจ และย่อมหลุดพ้นได้จากทุกข์” ดังนี้แล.
    0 Comments 0 Shares 38 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 12 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 13 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 16 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 62 Views 0 0 Reviews
  • ความหมายของชีวิต...
    Cr.Wiwan Boonya
    ความหมายของชีวิต... Cr.Wiwan Boonya
    0 Comments 0 Shares 20 Views 0 Reviews
  • หม่ำๆนะ
    หม่ำๆนะ
    0 Comments 0 Shares 20 Views 0 Reviews
  • ดูต้นเหตุแห่งปัญหา โลกนี้หายนะเพราะนักการเมือง ทั่วโลกจริงๆ
    พอได้หรือยัง การเลือกที่คนเลือกยังไม่รู้ไม่สน
    https://youtu.be/MOg5uMOhQA4?si=NVymbmVFtGvuXMeD
    ดูต้นเหตุแห่งปัญหา โลกนี้หายนะเพราะนักการเมือง ทั่วโลกจริงๆ พอได้หรือยัง การเลือกที่คนเลือกยังไม่รู้ไม่สน https://youtu.be/MOg5uMOhQA4?si=NVymbmVFtGvuXMeD
    0 Comments 0 Shares 33 Views 0 Reviews
  • Good morning Friday 🩵🥰
    Hope you have a lucky day 👍💯🤩
    Good morning Friday 🩵🥰 Hope you have a lucky day 👍💯🤩
    0 Comments 0 Shares 26 Views 0 Reviews
  • ขาดสต
    ิกิเลสพา
    จึงเป็นบ้า
    หาโรคกรรม
    ทำจนติด
    จิตสับสน
    จนไร้ธรรม
    วิบากกรรม
    ย้ำเอาไว้
    ้ไม่ห่างไกล

    หลงกระทำ
    อำเภอใจ
    ได้แต่บาป
    ดิ้นพะงาบ
    หาบทุกข์วน
    พ้นไม่ได้
    ก่อเวรกรรม
    อำเภอใจ
    ให้เลวร้าย
    อวดกิเลส
    เหตุไม่ดี
    มีแต่ร้าย

    สติด
    ูรู้เท่าทัน
    หมั่นฝึกฝน
    ศีลธรรมยล
    หนทางด
    ีมีอาศัย
    เจริญงาม
    ความจริงรู้
    สู่ทุกข์ได้
    ระวังกาย
    ใจระวัง
    ยั้งชั่งดู

    ขอให้พบธรรมคงามดีมีสุข ยิ่งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง สวัสดีมงคลชัย

    นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ
    ขาดสต ิกิเลสพา จึงเป็นบ้า หาโรคกรรม ทำจนติด จิตสับสน จนไร้ธรรม วิบากกรรม ย้ำเอาไว้ ้ไม่ห่างไกล หลงกระทำ อำเภอใจ ได้แต่บาป ดิ้นพะงาบ หาบทุกข์วน พ้นไม่ได้ ก่อเวรกรรม อำเภอใจ ให้เลวร้าย อวดกิเลส เหตุไม่ดี มีแต่ร้าย สติด ูรู้เท่าทัน หมั่นฝึกฝน ศีลธรรมยล หนทางด ีมีอาศัย เจริญงาม ความจริงรู้ สู่ทุกข์ได้ ระวังกาย ใจระวัง ยั้งชั่งดู ขอให้พบธรรมคงามดีมีสุข ยิ่งทำยิ่งเจริญรุ่งเรือง สวัสดีมงคลชัย นิพพานะ ปัจจะโยโหตุ
    0 Comments 0 Shares 29 Views 0 Reviews
  • FENGSHUI DAILY
    อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว
    สีเสริมดวง เสริมความเฮง
    ทิศมงคล เวลามงคล
    อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่
    วันเสาร์ที่ 10 เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2568
    ___________________________________
    FengshuiBizDesigner
    ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้

    เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ แอดเลย!! คลิก https://lin.ee/nyL0NuG
    ติดต่อ : 066-095-4524 (จิม) , 081-625-2587(ด็อง)
    .
    .
    #ดูดวงธุรกิจ #โลโก้ดี #ออกแบบโลโก้ #เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ #ฮวงจุ้ย #พี่อ๋า #สมศักดิ์ #ชาคริตฐากูร
    #FengshuiBiz #FengshuiBizDesigner
    FENGSHUI DAILY อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว สีเสริมดวง เสริมความเฮง ทิศมงคล เวลามงคล อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่ วันเสาร์ที่ 10 เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2568 ___________________________________ FengshuiBizDesigner ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้ เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ แอดเลย!! คลิก https://lin.ee/nyL0NuG ติดต่อ : 066-095-4524 (จิม) , 081-625-2587(ด็อง) . . #ดูดวงธุรกิจ #โลโก้ดี #ออกแบบโลโก้ #เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ #ฮวงจุ้ย #พี่อ๋า #สมศักดิ์ #ชาคริตฐากูร #FengshuiBiz #FengshuiBizDesigner
    0 Comments 0 Shares 31 Views 0 Reviews
  • “จากเข้าใจ…สู่เข้าถึง”
    บทเรียนสำคัญของผู้เดินทางในทางธรรม

    ในเส้นทางแห่งการลดกิเลส ไม่มีใครข้ามจากศูนย์ไปถึงปลายทางได้ภายในวันเดียว

    ธรรมะจึงไม่ใช่สิ่งที่จะ “เชื่อไว้ก่อน” แล้วได้ผลทันที

    แต่เป็นสิ่งที่ต้อง เรียนรู้-เข้าใจ-เข้าถึง-และกลายเป็นทีละลมหายใจ ทีละขณะจิต อย่างชัดเจน

    ---

    พุทธิปัญญา มี 3 ระดับ

    1. ได้ยินรู้เรื่อง – เรียนจากครูบาอาจารย์ ฟังแล้วเข้าหัว

    2. เข้าใจอย่างมีเหตุผล – ใช้การคิดพิจารณา เห็นด้วยใจบางๆ

    3. เข้าถึงความจริงตรงหน้า – ไม่ใช่แค่คิด แต่จิตเห็นแจ้งเอง

    ---

    “เข้าใจ” – คือจุดเริ่มต้นที่สำคัญ

    ผู้ที่เพียง “เข้าใจ” ว่าชีวิตไม่มีอะไรเป็นของเรา
    รู้ว่าทุกข์มีเหตุ ทุกข์ดับได้
    รู้ว่ากายใจไม่เที่ยง ไม่ควรยึด
    แม้แค่นี้ ก็ถือว่าเริ่ม “ต่อยกิเลสให้ถลอก” ได้แล้ว

    ยามทุกข์ ก็น้อมจิตระลึกว่า

    > “มันผ่านมาแล้ว ก็แล้วไป”
    “ทุกข์แค่ช่วงกลางวัน กลางคืนก็หลุดได้”

    นี่คือการคิดปลอบใจตนด้วยธรรม
    แม้ยังไม่พ้น แต่ก็ไม่หลงฟูมฟายอีก
    นี่แหละ “การเข้าใจ” ที่ลดพลังของกิเลสลงได้ระดับหนึ่ง

    ---

    “เข้าถึง” – คือจุดที่กิเลสเริ่มแตกจริง

    แต่หากวันหนึ่ง เรา
    – ให้จิตเป็นทาน
    – วางใจไว้ในศีล
    – ตั้งจิตอยู่กับความสงบ
    – แล้ว “รู้ตามความจริง” อย่างเงียบๆ ไม่คิด ไม่แปล

    จิตจะเริ่มเห็นว่า...

    > “อารมณ์แย่ๆ เกิดขึ้นตรงลมหายใจไหน”
    “ความดี ความสงบ เข้ามาแทนที่ตรงลมหายใจไหน”
    “นี่คือตัวรู้ – และสิ่งอื่นล้วนเป็นสิ่งถูกรู้”

    เมื่อเห็นว่ารูป เวทนา สัญญา สังขาร
    เป็นของชั่วคราว ไม่ใช่ของเรา
    อุปาทานจะถูกกะเทาะออก
    ไม่ใช่เพราะเชื่อครู หรือเพราะใช้เหตุผล
    แต่เพราะ “จิตเห็นเอง” อย่างประจักษ์

    ---

    **เมื่อ ‘รู้’ เกิดจากความว่าง

    นิพพานจึงอยู่ตรงนั้นเอง**

    ทุกครั้งที่เราเข้าถึงความจริงได้ด้วยใจที่สงบ
    นั่นคือการลดตัวตน ลดการยึด
    และทุกครั้งที่ไม่มีตัวตน
    จิตจะแตะนิพพานชั่วขณะ
    แม้เพียงวินาทีเดียว ก็มีค่ากว่ารู้โลกทั้งโลก

    ---

    บทสรุปของผู้ปฏิบัติธรรม

    > – ฟังธรรม = ใส่เชื้อดี
    – คิดธรรม = ประคบใจให้อบอุ่น
    – เห็นธรรม = เผากิเลสตรงหน้าได้จริง

    เมื่อปัญญาเดินทางจาก “เข้าใจ” สู่ “เข้าถึง”
    จะไม่ใช่แค่หัวที่เบา
    แต่คือ ใจที่เป็นอิสระจริงๆ
    จากสิ่งที่เคยครอบงำ…มาทั้งชีวิต
    “จากเข้าใจ…สู่เข้าถึง” บทเรียนสำคัญของผู้เดินทางในทางธรรม ในเส้นทางแห่งการลดกิเลส ไม่มีใครข้ามจากศูนย์ไปถึงปลายทางได้ภายในวันเดียว ธรรมะจึงไม่ใช่สิ่งที่จะ “เชื่อไว้ก่อน” แล้วได้ผลทันที แต่เป็นสิ่งที่ต้อง เรียนรู้-เข้าใจ-เข้าถึง-และกลายเป็นทีละลมหายใจ ทีละขณะจิต อย่างชัดเจน --- พุทธิปัญญา มี 3 ระดับ 1. ได้ยินรู้เรื่อง – เรียนจากครูบาอาจารย์ ฟังแล้วเข้าหัว 2. เข้าใจอย่างมีเหตุผล – ใช้การคิดพิจารณา เห็นด้วยใจบางๆ 3. เข้าถึงความจริงตรงหน้า – ไม่ใช่แค่คิด แต่จิตเห็นแจ้งเอง --- “เข้าใจ” – คือจุดเริ่มต้นที่สำคัญ ผู้ที่เพียง “เข้าใจ” ว่าชีวิตไม่มีอะไรเป็นของเรา รู้ว่าทุกข์มีเหตุ ทุกข์ดับได้ รู้ว่ากายใจไม่เที่ยง ไม่ควรยึด แม้แค่นี้ ก็ถือว่าเริ่ม “ต่อยกิเลสให้ถลอก” ได้แล้ว ยามทุกข์ ก็น้อมจิตระลึกว่า > “มันผ่านมาแล้ว ก็แล้วไป” “ทุกข์แค่ช่วงกลางวัน กลางคืนก็หลุดได้” นี่คือการคิดปลอบใจตนด้วยธรรม แม้ยังไม่พ้น แต่ก็ไม่หลงฟูมฟายอีก นี่แหละ “การเข้าใจ” ที่ลดพลังของกิเลสลงได้ระดับหนึ่ง --- “เข้าถึง” – คือจุดที่กิเลสเริ่มแตกจริง แต่หากวันหนึ่ง เรา – ให้จิตเป็นทาน – วางใจไว้ในศีล – ตั้งจิตอยู่กับความสงบ – แล้ว “รู้ตามความจริง” อย่างเงียบๆ ไม่คิด ไม่แปล จิตจะเริ่มเห็นว่า... > “อารมณ์แย่ๆ เกิดขึ้นตรงลมหายใจไหน” “ความดี ความสงบ เข้ามาแทนที่ตรงลมหายใจไหน” “นี่คือตัวรู้ – และสิ่งอื่นล้วนเป็นสิ่งถูกรู้” เมื่อเห็นว่ารูป เวทนา สัญญา สังขาร เป็นของชั่วคราว ไม่ใช่ของเรา อุปาทานจะถูกกะเทาะออก ไม่ใช่เพราะเชื่อครู หรือเพราะใช้เหตุผล แต่เพราะ “จิตเห็นเอง” อย่างประจักษ์ --- **เมื่อ ‘รู้’ เกิดจากความว่าง นิพพานจึงอยู่ตรงนั้นเอง** ทุกครั้งที่เราเข้าถึงความจริงได้ด้วยใจที่สงบ นั่นคือการลดตัวตน ลดการยึด และทุกครั้งที่ไม่มีตัวตน จิตจะแตะนิพพานชั่วขณะ แม้เพียงวินาทีเดียว ก็มีค่ากว่ารู้โลกทั้งโลก --- บทสรุปของผู้ปฏิบัติธรรม > – ฟังธรรม = ใส่เชื้อดี – คิดธรรม = ประคบใจให้อบอุ่น – เห็นธรรม = เผากิเลสตรงหน้าได้จริง เมื่อปัญญาเดินทางจาก “เข้าใจ” สู่ “เข้าถึง” จะไม่ใช่แค่หัวที่เบา แต่คือ ใจที่เป็นอิสระจริงๆ จากสิ่งที่เคยครอบงำ…มาทั้งชีวิต
    0 Comments 0 Shares 50 Views 0 Reviews
  • ตะนาวศรี รีสอร์ท
    by TongAroundTheWorld
    #TongAroundTheWorld #ตองอะราวเดอะเวิลด์ #ตองอะราวเดอะเวิลด์ #Reel #tiktok #Tranding #Feed #Viral #tiktok #ตะนาวศรีรีสอร์ท #รีสอร์ท #ที่พัก #ปราณบุรี #ประจวบคีรีขันธ์ #Travel #Hotel #Resort #Sea #Sand #Sun #TranaosriResort #Pranburi #Thailand
    ตะนาวศรี รีสอร์ท by TongAroundTheWorld #TongAroundTheWorld #ตองอะราวเดอะเวิลด์ #ตองอะราวเดอะเวิลด์ #Reel #tiktok #Tranding #Feed #Viral #tiktok #ตะนาวศรีรีสอร์ท #รีสอร์ท #ที่พัก #ปราณบุรี #ประจวบคีรีขันธ์ #Travel #Hotel #Resort #Sea #Sand #Sun #TranaosriResort #Pranburi #Thailand
    1 Comments 0 Shares 68 Views 0 0 Reviews
  • ตะนาวศรีรีสอร์ท ปราณบุรี
    by TongAroundTheWorld
    #TongAroundTheWorld #ตองอะราวเดอะเวิลด์ #ตองอะราวเดอะเวิลด์ #Reel #tiktok #Tranding #Feed #Viral #tiktok #ตะนาวศรีรีสอร์ท #รีสอร์ท #ที่พัก #ปราณบุรี #ประจวบคีรีขันธ์ #Travel #Hotel #Resort #Sea #Sand #Sun #TranaosriResort #Pranburi #Thailand
    ตะนาวศรีรีสอร์ท ปราณบุรี by TongAroundTheWorld #TongAroundTheWorld #ตองอะราวเดอะเวิลด์ #ตองอะราวเดอะเวิลด์ #Reel #tiktok #Tranding #Feed #Viral #tiktok #ตะนาวศรีรีสอร์ท #รีสอร์ท #ที่พัก #ปราณบุรี #ประจวบคีรีขันธ์ #Travel #Hotel #Resort #Sea #Sand #Sun #TranaosriResort #Pranburi #Thailand
    1 Comments 0 Shares 67 Views 0 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 17 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 54 Views 0 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 53 Views 0 0 Reviews