• ชาวบ้านในเทศบาลขอนแก่น ไม่เชื่อมั่น 'ครม.อิ๊งค์ 2' สิ้นหวังแก้ปัญหาปากท้อง
    https://www.thai-tai.tv/news/20028/
    .
    #รัฐบาลใหม่ #เศรษฐกิจไทย #ค่าครองชีพ #หนี้สินประชาชน #ปรับครม #ปากท้องประชาชน #การเมืองไทย #วิกฤตศรัทธา #ขอนแก่น #ความเห็นประชาชน
    ชาวบ้านในเทศบาลขอนแก่น ไม่เชื่อมั่น 'ครม.อิ๊งค์ 2' สิ้นหวังแก้ปัญหาปากท้อง https://www.thai-tai.tv/news/20028/ . #รัฐบาลใหม่ #เศรษฐกิจไทย #ค่าครองชีพ #หนี้สินประชาชน #ปรับครม #ปากท้องประชาชน #การเมืองไทย #วิกฤตศรัทธา #ขอนแก่น #ความเห็นประชาชน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 49 มุมมอง 0 รีวิว
  • BKK EXPO 2025 เปิดเวทีเสวนา พ.ร.บ.กรุงเทพฯ รับฟังความเห็นประชาชน สู่สารตั้งต้นสร้างกฎหมายเปลี่ยนเมือง
    https://www.thai-tai.tv/news/18655/
    BKK EXPO 2025 เปิดเวทีเสวนา พ.ร.บ.กรุงเทพฯ รับฟังความเห็นประชาชน สู่สารตั้งต้นสร้างกฎหมายเปลี่ยนเมือง https://www.thai-tai.tv/news/18655/
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 109 มุมมอง 0 รีวิว
  • การเมืองไทยมีความซับซ้อนและมีปัญหาหลายด้านที่ต้องแก้ไขเพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนและเป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริง ปัญหาหลักๆ และแนวทางการแก้ไขอาจรวมถึง以下几个方面:

    ### 1. **ปัญหาความแตกแยกและความขัดแย้งทางการเมือง**
    - **สาเหตุ**: ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มการเมืองต่าง ๆ เช่น คณะรัฐประหาร ประชาชน และพรรคการเมือง
    - **แนวทางแก้ไข**:
    - ส่งเสริม **การเจรจาและปรองดอง** ระหว่างกลุ่มการเมืองที่ขัดแย้งกัน
    - ลดการใช้อำนาจรัฐเพื่อปราบปรามฝ่ายตรงข้าม
    - สร้างกลไกแก้ไขความขัดแย้งที่เป็นกลาง เช่น คณะกรรมการอิสระ

    ### 2. **ระบบเลือกตั้งที่ไม่สมบูรณ์**
    - **สาเหตุ**: ระบบเลือกตั้งอาจไม่สะท้อนเสียงประชาชนอย่างแท้จริง เช่น การแบ่งเขตเลือกตั้งที่ไม่เป็นธรรม หรือกฎหมายที่เอื้อประโยชน์ให้พรรคใหญ่
    - **แนวทางแก้ไข**:
    - ปรับปรุง **ระบบเลือกตั้ง** ให้มีความโปร่งใสและเป็นธรรมมากขึ้น เช่น ใช้ระบบสัดส่วนผสม (Mixed-Member Proportional: MMP)
    - เปิดโอกาสให้พรรคการเมืองขนาดเล็กมีส่วนร่วมในสภา
    - ป้องกันการทุจริตเลือกตั้งด้วยเทคโนโลยีและกลไกตรวจสอบ

    ### 3. **ปัญหาอำนาจนอกระบบ (อำนาจนอกการเมือง)**
    - **สาเหตุ**: การแทรกแซงทางการเมืองโดยสถาบันอื่นที่ไม่ใช่รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง
    - **แนวทางแก้ไข**:
    - เสริมสร้าง **หลักนิติธรรม** และลดบทบาทของอำนาจนอกระบบในการเมือง
    - ปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้กองทัพและองค์กรอิสระอยู่ภายใต้การควบคุมของพลเรือน

    ### 4. **การทุจริตและระบบอุปถัมภ์**
    - **สาเหตุ**: การคอร์รัปชันในวงราชการและระบบอุปถัมภ์ที่ทำให้การเมืองไทยไม่โปร่งใส
    - **แนวทางแก้ไข**:
    - เสริมสร้าง **กลไกตรวจสอบ** เช่น ปรับปรุงสำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ป.ป.ช.)
    - เปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data) เพื่อให้ประชาชนตรวจสอบได้
    - ส่งเสริมวัฒนธรรมการต่อต้านคอร์รัปชันตั้งแต่ระดับการศึกษา

    ### 5. **การกระจายอำนาจที่ไม่ทั่วถึง**
    - **สาเหตุ**: อำนาจยังรวมศูนย์อยู่ที่กรุงเทพฯ และรัฐบาลกลาง ทำให้ท้องถิ่นขาดอิสระ
    - **แนวทางแก้ไข**:
    - **กระจายอำนาจการปกครอง** ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมากขึ้น
    - ให้ท้องถิ่นมีอำนาจในการจัดเก็บภาษีและบริหารงบประมาณเอง

    ### 6. **ปัญหาการเซ็นเซอร์และเสรีภาพสื่อ**
    - **สาเหตุ**: การควบคุมสื่อโดยรัฐ และการใช้กฎหมายเช่น พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ เพื่อจำกัดเสรีภาพ
    - **แนวทางแก้ไข**:
    - ยกเลิกหรือแก้ไขกฎหมายที่จำกัดเสรีภาพสื่อ
    - ส่งเสริมสื่ออิสระและปลอดจากการแทรกแซงของรัฐ

    ### 7. **การปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม**
    - **สาเหตุ**: กระบวนการยุติธรรมอาจถูกใช้เป็นเครื่องมือทางการเมือง
    - **แนวทางแก้ไข**:
    - ปรับปรุงระบบตุลาการให้เป็นอิสระและเป็นกลาง
    - ตรวจสอบการใช้กฎหมายอย่างเท่าเทียม

    ### 8. **การมีส่วนร่วมของประชาชน**
    - **แนวทางแก้ไข**:
    - ส่งเสริม **ประชาธิปไตยทางตรง** เช่น การลงประชามติในประเด็นสำคัญ
    - ใช้แพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อรับฟังความเห็นประชาชน (E-Participation)

    ### **สรุป**
    การเมืองไทยต้องการการปฏิรูปหลายด้าน ทั้งระบบเลือกตั้ง การลดอำนาจนอกระบบ การต่อต้านคอร์รัปชัน การกระจายอำนาจ และการส่งเสริมเสรีภาพ หากแก้ไขได้อย่างเป็นระบบ จะช่วยให้การเมืองไทยมีความมั่นคงและเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น

    คุณคิดว่าประเด็นไหนสำคัญที่สุดหรือควรเริ่มแก้ไขก่อน?
    การเมืองไทยมีความซับซ้อนและมีปัญหาหลายด้านที่ต้องแก้ไขเพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนและเป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริง ปัญหาหลักๆ และแนวทางการแก้ไขอาจรวมถึง以下几个方面: ### 1. **ปัญหาความแตกแยกและความขัดแย้งทางการเมือง** - **สาเหตุ**: ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มการเมืองต่าง ๆ เช่น คณะรัฐประหาร ประชาชน และพรรคการเมือง - **แนวทางแก้ไข**: - ส่งเสริม **การเจรจาและปรองดอง** ระหว่างกลุ่มการเมืองที่ขัดแย้งกัน - ลดการใช้อำนาจรัฐเพื่อปราบปรามฝ่ายตรงข้าม - สร้างกลไกแก้ไขความขัดแย้งที่เป็นกลาง เช่น คณะกรรมการอิสระ ### 2. **ระบบเลือกตั้งที่ไม่สมบูรณ์** - **สาเหตุ**: ระบบเลือกตั้งอาจไม่สะท้อนเสียงประชาชนอย่างแท้จริง เช่น การแบ่งเขตเลือกตั้งที่ไม่เป็นธรรม หรือกฎหมายที่เอื้อประโยชน์ให้พรรคใหญ่ - **แนวทางแก้ไข**: - ปรับปรุง **ระบบเลือกตั้ง** ให้มีความโปร่งใสและเป็นธรรมมากขึ้น เช่น ใช้ระบบสัดส่วนผสม (Mixed-Member Proportional: MMP) - เปิดโอกาสให้พรรคการเมืองขนาดเล็กมีส่วนร่วมในสภา - ป้องกันการทุจริตเลือกตั้งด้วยเทคโนโลยีและกลไกตรวจสอบ ### 3. **ปัญหาอำนาจนอกระบบ (อำนาจนอกการเมือง)** - **สาเหตุ**: การแทรกแซงทางการเมืองโดยสถาบันอื่นที่ไม่ใช่รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง - **แนวทางแก้ไข**: - เสริมสร้าง **หลักนิติธรรม** และลดบทบาทของอำนาจนอกระบบในการเมือง - ปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้กองทัพและองค์กรอิสระอยู่ภายใต้การควบคุมของพลเรือน ### 4. **การทุจริตและระบบอุปถัมภ์** - **สาเหตุ**: การคอร์รัปชันในวงราชการและระบบอุปถัมภ์ที่ทำให้การเมืองไทยไม่โปร่งใส - **แนวทางแก้ไข**: - เสริมสร้าง **กลไกตรวจสอบ** เช่น ปรับปรุงสำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ป.ป.ช.) - เปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data) เพื่อให้ประชาชนตรวจสอบได้ - ส่งเสริมวัฒนธรรมการต่อต้านคอร์รัปชันตั้งแต่ระดับการศึกษา ### 5. **การกระจายอำนาจที่ไม่ทั่วถึง** - **สาเหตุ**: อำนาจยังรวมศูนย์อยู่ที่กรุงเทพฯ และรัฐบาลกลาง ทำให้ท้องถิ่นขาดอิสระ - **แนวทางแก้ไข**: - **กระจายอำนาจการปกครอง** ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมากขึ้น - ให้ท้องถิ่นมีอำนาจในการจัดเก็บภาษีและบริหารงบประมาณเอง ### 6. **ปัญหาการเซ็นเซอร์และเสรีภาพสื่อ** - **สาเหตุ**: การควบคุมสื่อโดยรัฐ และการใช้กฎหมายเช่น พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ เพื่อจำกัดเสรีภาพ - **แนวทางแก้ไข**: - ยกเลิกหรือแก้ไขกฎหมายที่จำกัดเสรีภาพสื่อ - ส่งเสริมสื่ออิสระและปลอดจากการแทรกแซงของรัฐ ### 7. **การปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม** - **สาเหตุ**: กระบวนการยุติธรรมอาจถูกใช้เป็นเครื่องมือทางการเมือง - **แนวทางแก้ไข**: - ปรับปรุงระบบตุลาการให้เป็นอิสระและเป็นกลาง - ตรวจสอบการใช้กฎหมายอย่างเท่าเทียม ### 8. **การมีส่วนร่วมของประชาชน** - **แนวทางแก้ไข**: - ส่งเสริม **ประชาธิปไตยทางตรง** เช่น การลงประชามติในประเด็นสำคัญ - ใช้แพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อรับฟังความเห็นประชาชน (E-Participation) ### **สรุป** การเมืองไทยต้องการการปฏิรูปหลายด้าน ทั้งระบบเลือกตั้ง การลดอำนาจนอกระบบ การต่อต้านคอร์รัปชัน การกระจายอำนาจ และการส่งเสริมเสรีภาพ หากแก้ไขได้อย่างเป็นระบบ จะช่วยให้การเมืองไทยมีความมั่นคงและเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น คุณคิดว่าประเด็นไหนสำคัญที่สุดหรือควรเริ่มแก้ไขก่อน?
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 741 มุมมอง 0 รีวิว
  • มาช้าดีกว่าไม่มา กกพ.จ่อชงนายกฯทบทวนค่าแอดเดอร์พลังงานหมุนเวียน หั่นค่าไฟลง 17 สตางค์ เหลือ 3.98 บาท

    ข่าวสื่อมวลชนวันนี้ระบุว่าคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (กกพ.)เตรียมเสนอนายกรัฐมนตรีให้ทบทวนนโยบายรัฐที่ให้เงินส่วนเพิ่มไฟฟ้าพลังงานทดแทนที่เรียกว่า แอดเดอร์(Adder) ทำให้ราคารับซื้อเพิ่มสูง และมีการต่อสัญญาแบบอัตโนมัติทำให้ค่าไฟมีราคาสูงกว่าราคาที่เป็นจริงในปัจจุบันมาก หากมีการทบทวนราคารับซื้อตามต้นทุนจริง จะลดค่าไฟลง 17 สตางค์ เหลือ 3.98 บาท คาดประหยัดค่าไฟได้ 3.3 หมื่นล้านบาทต่อปี

    ในการรับฟังความเห็นประชาชนเรื่องการปรับค่าFt ของกกพ.งวด มกราคม -เมษายน 2568 ระหว่างวันที่ 8-22 พฤศจิกายน 2567 สภาองค์กรของผู้บริโภค (สภาผู้บริโภค)ได้เสนอแนวทางการปรับลดราคาค่าไฟไปทั้งหมด 6ข้อ

    หนึ่งใน6 ข้อเสนอของสภาผู้บริโภค ก็คือเสนอให้ยกเลิกนโยบายมาตรการสนับสนุนส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder) ที่สูงเกินสมควรจนมีผลกระทบต่อภาระค่าไฟฟ้าทั้งระบบ ซึ่งกกพ. ควรเสนอให้ทบทวนนานแล้ว เอกชนได้ค่าไฟฟ้าส่วนเกินที่ไม่ควรได้รับปีละ 3.3 หมื่นล้านบาท เป็นค่ารับซื้อไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานหมุนเวียนอื่นๆ ที่หมดอายุ 8-10 ปีไปแล้ว แต่กกพ.ก็ยังปล่อยให้ต่อสัญญาโดยอัตโนมัติในราคาสูง โดยประชาชนตาดำๆ ต้องจ่ายค่าใช้จ่ายนี้ให้เอกชนผ่านค่าไฟฟ้า เป็นภาระค่าไฟแพงของประชาชน แต่ไม่ปรากฎว่ากกพ.จะได้นำข้อเสนอนี้ของสภาผู้บริโภคไปพิจารณาเพื่อลดค่าไฟในงวด มกราคม- เมษายน 2568 แต่ประการใด

    อย่างไรก็ตาม มาช้าดีกว่าไม่มา ก็ต้องชื่นชมที่ กกพ.ตัดสินใจทำข้อเสนอถึงนายกรัฐมนตรีให้ทบทวนการให้เงินส่วนเพิ่ม(Adder)ว่าควรยกเลิกได้แล้วเพราะปัจจุบันราคาพลังงานหมุนเวียนมีราคาลดลงมากแล้ว ซึ่งบริษัทเหล่านั้นได้คืนทุนและมีกำไรคุ้มไปนานแล้ว การต่อสัญญาอัตโนมัติจึงควรยกเลิก ซึ่งจะทำให้สามารถลดค่าไฟลงได้ 17 สตางค์/หน่วย ทำให้ค่าไฟลดลงเหลือ 3.98 บาท/หน่วย จากที่กำหนดไว้เดิมที่ 4.15บาท/หน่วย และทำให้ประชาชนได้ปลดแอกบนบ่าถึงปีละ 3.3 หมื่นล้านบาทได้สักที

    สิ่งที่กกพ.ควรเสนอนายกรัฐมนตรีเพิ่มอีกอย่างน้อย 1 ข้อ คือให้เจรจาลดค่าความพร้อมจ่ายสำหรับโรงไฟฟ้าที่ได้คืนทุนและมีกำไรพอสมควรแล้ว จากเอกสารของกกพ. ในงวด มกราคม-เมษายน 2568 ค่าความพร้อมจ่ายสูงถึง 19,875 ล้านบาท หากคำนวณทั้งปี จะเป็นเงิน 59,625 ล้านบาท/ปี หากนำมาเฉลี่ยกับหน่วยไฟที่ใชทั้งประเทศประมาณ 200,000 หน่วย/ปี เท่ากับจะลดลงได้ 29-30 สต./หน่วย หากตัดค่าความพร้อมจ่ายส่วนนี้ไปได้ น่าจะลดได้ค่าไฟลงไปได้อีกเกือบ30 สตางค์/หน่วย (ตัวเลขที่นำมาคำนวณมาจากเอกสารที่เผยแพร่โดย กกพ.ในการรับฟังความเห็นค่าFt)

    กกพ.จึงควรถือเป็นหน้าที่ในการรีดไขมันที่ทำให้ค่าไฟแพงอย่างไม่เป็นธรรมต่อประชาชน ซึ่งยังมีอีกหลายรายการที่สมควรพิจารณาต่อไปอย่างจริงจัง จะเป็นการช่วยลดภาระที่ประชาชนแบกจนหลังแอ่นมายาวนานมาก และเป็นการสร้างภาพลักษณ์ของประเทศไทยที่มีราคาค่าไฟเหมาะสมจูงใจให้ธุรกิจต่างชาติสนใจจะมาลงทุน

    รัฐบาลหัดคิดนโยบายประชานิยมเชิงโครงสร้างเศรษฐกิจที่เป็นธรรมบ้าง ประชาชนจะได้เงยหน้าอ้าปากอย่างยั่งยืน เลิกใช้วิธีกู้เงินมาหว่านแจกซื้อเสียงแบบฉาบฉวยได้แล้ว!!

    รสนา โตสิตระกูล
    16 มกราคม 2568
    มาช้าดีกว่าไม่มา กกพ.จ่อชงนายกฯทบทวนค่าแอดเดอร์พลังงานหมุนเวียน หั่นค่าไฟลง 17 สตางค์ เหลือ 3.98 บาท ข่าวสื่อมวลชนวันนี้ระบุว่าคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (กกพ.)เตรียมเสนอนายกรัฐมนตรีให้ทบทวนนโยบายรัฐที่ให้เงินส่วนเพิ่มไฟฟ้าพลังงานทดแทนที่เรียกว่า แอดเดอร์(Adder) ทำให้ราคารับซื้อเพิ่มสูง และมีการต่อสัญญาแบบอัตโนมัติทำให้ค่าไฟมีราคาสูงกว่าราคาที่เป็นจริงในปัจจุบันมาก หากมีการทบทวนราคารับซื้อตามต้นทุนจริง จะลดค่าไฟลง 17 สตางค์ เหลือ 3.98 บาท คาดประหยัดค่าไฟได้ 3.3 หมื่นล้านบาทต่อปี ในการรับฟังความเห็นประชาชนเรื่องการปรับค่าFt ของกกพ.งวด มกราคม -เมษายน 2568 ระหว่างวันที่ 8-22 พฤศจิกายน 2567 สภาองค์กรของผู้บริโภค (สภาผู้บริโภค)ได้เสนอแนวทางการปรับลดราคาค่าไฟไปทั้งหมด 6ข้อ หนึ่งใน6 ข้อเสนอของสภาผู้บริโภค ก็คือเสนอให้ยกเลิกนโยบายมาตรการสนับสนุนส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder) ที่สูงเกินสมควรจนมีผลกระทบต่อภาระค่าไฟฟ้าทั้งระบบ ซึ่งกกพ. ควรเสนอให้ทบทวนนานแล้ว เอกชนได้ค่าไฟฟ้าส่วนเกินที่ไม่ควรได้รับปีละ 3.3 หมื่นล้านบาท เป็นค่ารับซื้อไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานหมุนเวียนอื่นๆ ที่หมดอายุ 8-10 ปีไปแล้ว แต่กกพ.ก็ยังปล่อยให้ต่อสัญญาโดยอัตโนมัติในราคาสูง โดยประชาชนตาดำๆ ต้องจ่ายค่าใช้จ่ายนี้ให้เอกชนผ่านค่าไฟฟ้า เป็นภาระค่าไฟแพงของประชาชน แต่ไม่ปรากฎว่ากกพ.จะได้นำข้อเสนอนี้ของสภาผู้บริโภคไปพิจารณาเพื่อลดค่าไฟในงวด มกราคม- เมษายน 2568 แต่ประการใด อย่างไรก็ตาม มาช้าดีกว่าไม่มา ก็ต้องชื่นชมที่ กกพ.ตัดสินใจทำข้อเสนอถึงนายกรัฐมนตรีให้ทบทวนการให้เงินส่วนเพิ่ม(Adder)ว่าควรยกเลิกได้แล้วเพราะปัจจุบันราคาพลังงานหมุนเวียนมีราคาลดลงมากแล้ว ซึ่งบริษัทเหล่านั้นได้คืนทุนและมีกำไรคุ้มไปนานแล้ว การต่อสัญญาอัตโนมัติจึงควรยกเลิก ซึ่งจะทำให้สามารถลดค่าไฟลงได้ 17 สตางค์/หน่วย ทำให้ค่าไฟลดลงเหลือ 3.98 บาท/หน่วย จากที่กำหนดไว้เดิมที่ 4.15บาท/หน่วย และทำให้ประชาชนได้ปลดแอกบนบ่าถึงปีละ 3.3 หมื่นล้านบาทได้สักที สิ่งที่กกพ.ควรเสนอนายกรัฐมนตรีเพิ่มอีกอย่างน้อย 1 ข้อ คือให้เจรจาลดค่าความพร้อมจ่ายสำหรับโรงไฟฟ้าที่ได้คืนทุนและมีกำไรพอสมควรแล้ว จากเอกสารของกกพ. ในงวด มกราคม-เมษายน 2568 ค่าความพร้อมจ่ายสูงถึง 19,875 ล้านบาท หากคำนวณทั้งปี จะเป็นเงิน 59,625 ล้านบาท/ปี หากนำมาเฉลี่ยกับหน่วยไฟที่ใชทั้งประเทศประมาณ 200,000 หน่วย/ปี เท่ากับจะลดลงได้ 29-30 สต./หน่วย หากตัดค่าความพร้อมจ่ายส่วนนี้ไปได้ น่าจะลดได้ค่าไฟลงไปได้อีกเกือบ30 สตางค์/หน่วย (ตัวเลขที่นำมาคำนวณมาจากเอกสารที่เผยแพร่โดย กกพ.ในการรับฟังความเห็นค่าFt) กกพ.จึงควรถือเป็นหน้าที่ในการรีดไขมันที่ทำให้ค่าไฟแพงอย่างไม่เป็นธรรมต่อประชาชน ซึ่งยังมีอีกหลายรายการที่สมควรพิจารณาต่อไปอย่างจริงจัง จะเป็นการช่วยลดภาระที่ประชาชนแบกจนหลังแอ่นมายาวนานมาก และเป็นการสร้างภาพลักษณ์ของประเทศไทยที่มีราคาค่าไฟเหมาะสมจูงใจให้ธุรกิจต่างชาติสนใจจะมาลงทุน รัฐบาลหัดคิดนโยบายประชานิยมเชิงโครงสร้างเศรษฐกิจที่เป็นธรรมบ้าง ประชาชนจะได้เงยหน้าอ้าปากอย่างยั่งยืน เลิกใช้วิธีกู้เงินมาหว่านแจกซื้อเสียงแบบฉาบฉวยได้แล้ว!! รสนา โตสิตระกูล 16 มกราคม 2568
    Like
    4
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 647 มุมมอง 0 รีวิว
  • Newsstory : "นพดล" คนลืมตัว เมินความเห็นประชาชน ไม่กังวลม็อ-บสนธิ "แค่รถติด"
    #Newsstory #สนธิทอร์ค #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #นิวส์สตอรี่
    #สนธิ #สนธิลิ้มทองกุล #แค่รถติด
    Newsstory : "นพดล" คนลืมตัว เมินความเห็นประชาชน ไม่กังวลม็อ-บสนธิ "แค่รถติด" #Newsstory #สนธิทอร์ค #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #นิวส์สตอรี่ #สนธิ #สนธิลิ้มทองกุล #แค่รถติด
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 848 มุมมอง 30 0 รีวิว
  • ”สิงหาสับ“ นิด้าสำรวจความเห็นประชาชน เรื่อง “Believe It or Not! ทางการเมืองไทย ตอน เดือนพิพากษา” เดือนแห่งการตัดสินผู้มีกรรมหนักคดีใหญ่ ในประเด็นร้อนโพลความเห็นทางการเมือง เรื่องเศรษฐากับการเปลี่ยนนายกฯ,ยุบพรรคก้าวไกลหรือไม่และทักษิณพ้นโทษจะช่วยพรรคเพื่อไทยทำงานดีขึ้นหรือไม่?

    4 สิงหาคม 2567-ศูนย์สำรวจความคิดเห็น “นิด้าโพล” สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เปิดเผยผลการสำรวจของประชาชน เรื่อง “Believe It or Not! ทางการเมืองไทย ตอน เดือนพิพากษา” ทำการสำรวจระหว่างวันที่ 25 กรกฎาคม ถึง 1 สิงหาคม 2567 จากประชาชนที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป กระจายทุกภูมิภาค ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ ทั่วประเทศ รวมทั้งสิ้น จำนวน 1,310 หน่วยตัวอย่าง เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองไทยในเดือนสิงหาคม 2567 การสำรวจอาศัยการสุ่มตัวอย่างโดยใช้ความน่าจะเป็นจากบัญชีรายชื่อฐานข้อมูลตัวอย่างหลัก (Master Sample) ของ “นิด้าโพล” สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage Sampling) เก็บข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ โดยกำหนดค่าความเชื่อมั่น ร้อยละ 97.0

    จากการสำรวจเมื่อถามถึงความเชื่อของประชาชนเกี่ยวกับการเปลี่ยนนายกรัฐมนตรีในเดือนสิงหาคมนี้ พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 45.42 ระบุว่า ไม่เชื่อเลย รองลงมา ร้อยละ 29.62 ระบุว่า ไม่ค่อยเชื่อ ร้อยละ 15.27 ระบุว่า ค่อนข้างเชื่อ ร้อยละ 8.63 ระบุว่า เชื่อมาก และร้อยละ 1.06 ระบุว่า ไม่ตอบ/ไม่สนใจ

    เมื่อถามตัวอย่างที่ระบุว่า เชื่อมากและค่อนข้างเชื่อว่าจะมีการเปลี่ยนนายกรัฐมนตรีในเดือนสิงหาคมนี้ (จำนวน 313 หน่วยตัวอย่าง) เกี่ยวกับบุคคลที่จะได้เป็นนายกรัฐมนตรีคนใหม่จากพรรคร่วมรัฐบาล หากมีการเปลี่ยนนายกรัฐมนตรีในเดือนสิงหาคมนี้ พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 31.95 ระบุว่าเป็น น.ส.แพทองธาร (อุ๊งอิ๊งค์) ชินวัตร (พรรคเพื่อไทย) รองลงมา ร้อยละ 30.99 ระบุว่าเป็น นายอนุทิน ชาญวีรกูล (พรรคภูมิใจไทย) ร้อยละ 11.82 ระบุว่าเป็น พลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ (พรรคพลังประชารัฐ) ร้อยละ 8.31 ระบุว่าเป็น นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค (พรรครวมไทยสร้างชาติ) ร้อยละ 2.23 ระบุว่าเป็น นายชัยเกษม นิติสิริ (พรรคเพื่อไทย) และร้อยละ 14.70 ระบุว่า ไม่ตอบ/ไม่สนใจ

    ด้านความเชื่อของประชาชนเกี่ยวกับการยุบพรรคการเมืองในเดือนสิงหาคมนี้ พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 32.44 ระบุว่า ไม่เชื่อเลย รองลงมา ร้อยละ 27.94 ระบุว่า ไม่ค่อยเชื่อ ร้อยละ 24.20 ระบุว่า ค่อนข้างเชื่อ ร้อยละ 13.44 ระบุว่า เชื่อมาก และร้อยละ 1.98 ระบุว่า ไม่ตอบ/ไม่สนใจ

    เมื่อถามตัวอย่างที่ระบุว่า เชื่อมากและค่อนข้างเชื่อว่าจะมีการยุบพรรคการเมืองในเดือนสิงหาคมนี้ (จำนวน 493 หน่วยตัวอย่าง) เกี่ยวกับความเป็นไปได้ที่ สส. จากพรรคการเมืองที่ถูกยุบ จะไปสังกัดกับพรรคร่วมรัฐบาล พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 40.97 ระบุว่า ค่อนข้างเป็นไปได้ รองลงมา ร้อยละ 27.99 ระบุว่า เป็นไปได้มาก ร้อยละ 16.84 ระบุว่า เป็นไปไม่ได้เลย และร้อยละ 14.20 ระบุว่า ไม่ค่อยเป็นไปได้

    ท้ายที่สุดเมื่อถามถึงความเชื่อของประชาชนเกี่ยวกับการพ้นโทษของคุณทักษิณ ชินวัตร จะทำให้รัฐบาลที่นำโดยพรรคเพื่อไทยทำงานได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 41.83 ระบุว่า ไม่เชื่อเลย รองลงมา ร้อยละ 26.87 ระบุว่า ไม่ค่อยเชื่อ ร้อยละ 19.01 ระบุว่า ค่อนข้างเชื่อ ร้อยละ 11.45 ระบุว่า เชื่อมาก และร้อยละ 0.84 ระบุว่า ไม่ตอบ/ไม่สนใจ

    ที่มา : นิด้าโพล

    #Thaitimes
    ”สิงหาสับ“ นิด้าสำรวจความเห็นประชาชน เรื่อง “Believe It or Not! ทางการเมืองไทย ตอน เดือนพิพากษา” เดือนแห่งการตัดสินผู้มีกรรมหนักคดีใหญ่ ในประเด็นร้อนโพลความเห็นทางการเมือง เรื่องเศรษฐากับการเปลี่ยนนายกฯ,ยุบพรรคก้าวไกลหรือไม่และทักษิณพ้นโทษจะช่วยพรรคเพื่อไทยทำงานดีขึ้นหรือไม่? 4 สิงหาคม 2567-ศูนย์สำรวจความคิดเห็น “นิด้าโพล” สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เปิดเผยผลการสำรวจของประชาชน เรื่อง “Believe It or Not! ทางการเมืองไทย ตอน เดือนพิพากษา” ทำการสำรวจระหว่างวันที่ 25 กรกฎาคม ถึง 1 สิงหาคม 2567 จากประชาชนที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป กระจายทุกภูมิภาค ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ ทั่วประเทศ รวมทั้งสิ้น จำนวน 1,310 หน่วยตัวอย่าง เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองไทยในเดือนสิงหาคม 2567 การสำรวจอาศัยการสุ่มตัวอย่างโดยใช้ความน่าจะเป็นจากบัญชีรายชื่อฐานข้อมูลตัวอย่างหลัก (Master Sample) ของ “นิด้าโพล” สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage Sampling) เก็บข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ โดยกำหนดค่าความเชื่อมั่น ร้อยละ 97.0 จากการสำรวจเมื่อถามถึงความเชื่อของประชาชนเกี่ยวกับการเปลี่ยนนายกรัฐมนตรีในเดือนสิงหาคมนี้ พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 45.42 ระบุว่า ไม่เชื่อเลย รองลงมา ร้อยละ 29.62 ระบุว่า ไม่ค่อยเชื่อ ร้อยละ 15.27 ระบุว่า ค่อนข้างเชื่อ ร้อยละ 8.63 ระบุว่า เชื่อมาก และร้อยละ 1.06 ระบุว่า ไม่ตอบ/ไม่สนใจ เมื่อถามตัวอย่างที่ระบุว่า เชื่อมากและค่อนข้างเชื่อว่าจะมีการเปลี่ยนนายกรัฐมนตรีในเดือนสิงหาคมนี้ (จำนวน 313 หน่วยตัวอย่าง) เกี่ยวกับบุคคลที่จะได้เป็นนายกรัฐมนตรีคนใหม่จากพรรคร่วมรัฐบาล หากมีการเปลี่ยนนายกรัฐมนตรีในเดือนสิงหาคมนี้ พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 31.95 ระบุว่าเป็น น.ส.แพทองธาร (อุ๊งอิ๊งค์) ชินวัตร (พรรคเพื่อไทย) รองลงมา ร้อยละ 30.99 ระบุว่าเป็น นายอนุทิน ชาญวีรกูล (พรรคภูมิใจไทย) ร้อยละ 11.82 ระบุว่าเป็น พลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ (พรรคพลังประชารัฐ) ร้อยละ 8.31 ระบุว่าเป็น นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค (พรรครวมไทยสร้างชาติ) ร้อยละ 2.23 ระบุว่าเป็น นายชัยเกษม นิติสิริ (พรรคเพื่อไทย) และร้อยละ 14.70 ระบุว่า ไม่ตอบ/ไม่สนใจ ด้านความเชื่อของประชาชนเกี่ยวกับการยุบพรรคการเมืองในเดือนสิงหาคมนี้ พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 32.44 ระบุว่า ไม่เชื่อเลย รองลงมา ร้อยละ 27.94 ระบุว่า ไม่ค่อยเชื่อ ร้อยละ 24.20 ระบุว่า ค่อนข้างเชื่อ ร้อยละ 13.44 ระบุว่า เชื่อมาก และร้อยละ 1.98 ระบุว่า ไม่ตอบ/ไม่สนใจ เมื่อถามตัวอย่างที่ระบุว่า เชื่อมากและค่อนข้างเชื่อว่าจะมีการยุบพรรคการเมืองในเดือนสิงหาคมนี้ (จำนวน 493 หน่วยตัวอย่าง) เกี่ยวกับความเป็นไปได้ที่ สส. จากพรรคการเมืองที่ถูกยุบ จะไปสังกัดกับพรรคร่วมรัฐบาล พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 40.97 ระบุว่า ค่อนข้างเป็นไปได้ รองลงมา ร้อยละ 27.99 ระบุว่า เป็นไปได้มาก ร้อยละ 16.84 ระบุว่า เป็นไปไม่ได้เลย และร้อยละ 14.20 ระบุว่า ไม่ค่อยเป็นไปได้ ท้ายที่สุดเมื่อถามถึงความเชื่อของประชาชนเกี่ยวกับการพ้นโทษของคุณทักษิณ ชินวัตร จะทำให้รัฐบาลที่นำโดยพรรคเพื่อไทยทำงานได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 41.83 ระบุว่า ไม่เชื่อเลย รองลงมา ร้อยละ 26.87 ระบุว่า ไม่ค่อยเชื่อ ร้อยละ 19.01 ระบุว่า ค่อนข้างเชื่อ ร้อยละ 11.45 ระบุว่า เชื่อมาก และร้อยละ 0.84 ระบุว่า ไม่ตอบ/ไม่สนใจ ที่มา : นิด้าโพล #Thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1229 มุมมอง 0 รีวิว