อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งทุกข์ โดยสังเขป
สัทธรรมลำดับที่ : 610
ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งทุกข์ โดยสังเขป
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=610
เนื้อความทั้งหมด :-
--อาการดับแห่งทุกข์ โดยสังเขป
--มิคชาละ ! รูปทั้งหลายที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ
อันเป็นรูปที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก
เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด มีอยู่.
ถ้าภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่สยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นไซร้.
เมื่อเธอนั้น ไม่เพลิดเพลินไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่สยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นอยู่, นันทิย่อมดับ.
+--มิคชาละ ! เรากล่าวว่า
“ความดับแห่งทุกข์ย่อมมี #เพราะความดับแห่งนันทิ”
http://etipitaka.com/read/pali/18/45/?keywords=นนฺทิ+อภินนฺทโต
ดังนี้.
(ในกรณีแห่ง เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู ก็ดี
ในกรณีแห่ง กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก ก็ดี
ในกรณีแห่ง รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น ก็ดี
ในกรณีแห่ง โผฏฐัพพะที่จะพึงรู้แจ้งด้วยผิวกาย ก็ดี และ
ในกรณีแห่ง ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ ก็ดี
ก็ได้ตรัสไว้โดยนัยอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งรูป
ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ ทุกประการ ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น
).-
#ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/36/69.
http://etipitaka.com/read/thai/18/36/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%99
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๔๕/๖๙.
http://etipitaka.com/read/pali/18/45/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%99
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=610
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=610
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
สัทธรรมลำดับที่ : 610
ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งทุกข์ โดยสังเขป
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=610
เนื้อความทั้งหมด :-
--อาการดับแห่งทุกข์ โดยสังเขป
--มิคชาละ ! รูปทั้งหลายที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ
อันเป็นรูปที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก
เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด มีอยู่.
ถ้าภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่สยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นไซร้.
เมื่อเธอนั้น ไม่เพลิดเพลินไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่สยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นอยู่, นันทิย่อมดับ.
+--มิคชาละ ! เรากล่าวว่า
“ความดับแห่งทุกข์ย่อมมี #เพราะความดับแห่งนันทิ”
http://etipitaka.com/read/pali/18/45/?keywords=นนฺทิ+อภินนฺทโต
ดังนี้.
(ในกรณีแห่ง เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู ก็ดี
ในกรณีแห่ง กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก ก็ดี
ในกรณีแห่ง รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น ก็ดี
ในกรณีแห่ง โผฏฐัพพะที่จะพึงรู้แจ้งด้วยผิวกาย ก็ดี และ
ในกรณีแห่ง ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ ก็ดี
ก็ได้ตรัสไว้โดยนัยอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งรูป
ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ ทุกประการ ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น
).-
#ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/36/69.
http://etipitaka.com/read/thai/18/36/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%99
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๔๕/๖๙.
http://etipitaka.com/read/pali/18/45/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%99
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=610
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=610
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งทุกข์ โดยสังเขป
สัทธรรมลำดับที่ : 610
ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งทุกข์ โดยสังเขป
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=610
เนื้อความทั้งหมด :-
--อาการดับแห่งทุกข์ โดยสังเขป
--มิคชาละ ! รูปทั้งหลายที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ
อันเป็นรูปที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก
เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด มีอยู่.
ถ้าภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่สยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นไซร้.
เมื่อเธอนั้น ไม่เพลิดเพลินไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่สยบมัวเมา ซึ่งรูปนั้นอยู่, นันทิย่อมดับ.
+--มิคชาละ ! เรากล่าวว่า
“ความดับแห่งทุกข์ย่อมมี #เพราะความดับแห่งนันทิ”
http://etipitaka.com/read/pali/18/45/?keywords=นนฺทิ+อภินนฺทโต
ดังนี้.
(ในกรณีแห่ง เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู ก็ดี
ในกรณีแห่ง กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก ก็ดี
ในกรณีแห่ง รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น ก็ดี
ในกรณีแห่ง โผฏฐัพพะที่จะพึงรู้แจ้งด้วยผิวกาย ก็ดี และ
ในกรณีแห่ง ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ ก็ดี
ก็ได้ตรัสไว้โดยนัยอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งรูป
ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ ทุกประการ ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น
).-
#ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. 18/36/69.
http://etipitaka.com/read/thai/18/36/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%99
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา.สํ. ๑๘/๔๕/๖๙.
http://etipitaka.com/read/pali/18/45/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%99
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=610
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=610
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
0 ความคิดเห็น
0 การแบ่งปัน
37 มุมมอง
0 รีวิว