• ตามรอยย้อนกลับ Supply Chain แร่หายากจากพม่ามหาศาลสู่จีน
    ______________________________
    23 ธันวาคม พ.ศ. 2564 บริษัท China Rare Earth Group Co., Ltd. ก่อตัวขึ้นอย่างเป็นทางการ จากการควบรวมของ 3 กิจการด้านอุตสาหกรรมแร่หายากในจีน China Aluminium Corporation, China Minmetals Corporation และ Ganzhou Rare Earth Group Co., Ltd. เป้าคือพัฒนาอุตสาหกรรมแร่หายาก วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี
    China Rare Earth Group อยู่ภายใต้การกำกับดูแลโดยตรงของรัฐ-คณะกรรมการกำกับดูแลและบริหารสินทรัพย์ที่เป็นเจ้าของของสภาแห่งรัฐ ถือหุ้นร้อยละ 31.21 China Aluminium Corporation, China Minmetals Corporation และ Ganzhou Rare Earth Group Co., Ltd. แต่ละบริษัทถือหุ้นร้อยละ 20.33; China Iron and Steel Research Technology Group Co., Ltd. และ Youyan Technology Group Co., Ltd. ถือหุ้นร้อยละ 3.90
    ปัจจุบันจีนมีปริมาณการผลิตแร่ธาตุ หายากสูงเป็นอันดับ 1 ของโลกอยู่ที่ 132,000 ตัน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 63 ของปริมาณการผลิตแร่ธาตุหายากทั่วโลก ซึ่งอยู่ที่ประมาณ 210,000 ตัน โดยประเทศอื่น ๆ ที่มีปริมาณการผลิตแร่ธาตุหายากในลำดับถัดมา ได้แก่ สหรัฐฯ (26,000 ตัน) เมียนมา (22,000 ตัน) ออสเตรเลีย (21,000 ตัน) อินเดีย (3,000 ตัน) รัสเซีย (2,700 ตัน) มาดากัสการ์ (2,000 ตัน) ไทย (1,800 ตัน) บราซิล (1,000 ตัน) เวียดนาม (900 ตัน) และบุรุนดี (600 ตัน)
    ______________________________
    ระฆังกำแพงภาษีลั่นขึ้นห้วงเมษายน 2568 โดยสหรัฐอเมริกา การตอบโต้กลับของจีนเปิดหน้าชก สวนกลับทุกเม็ด รวมถึงได้ขยายการใช้ "แร่หายาก" (rare earths) เป็นเครื่องมือตอบโต้ทางการค้า โดยประกาศจำกัดการส่งออกแร่หายาก 7 ชนิด ซึ่งเป็นวัสดุสำคัญในอุดสาหกรรมเทคโนโลยีขั้นสูง เช่น รถยนต์ไฟฟ้า ไปจนถึงอาวุธยุทโธปกรณ์ โดยเป็นการตอบโต้ต่อมาดรการภาษีนำเข้าของสหรัฐ
    สำหรับแร่หายาก 7 ชนิดได้แก่ ชามาเรียม (Samarium) แกโดลิเนียม (Gadolinium) เทอร์เมียม (Terbium) ดิสโพรเซียม (Dysprosium) ลูทีเซียม (Lutetium) สแกนเดียม (Scandium) และอิดเทรียม (Yttrium) สำหรับแร่หายากยอดนิยมอย่าง นี่โอไดเมียม (Neodymium) และ พราเชโอไดเมียม (Praseodymium) ซึ่งใช้ผลิตแม่เหล็กประสิทธิภาพสูง ยังไม่อยู่ในรายชื่อควบคุม
    หลังการรัฐประหารปี 2021 การส่งออกแร่ธาตุหายากจากพม่าไปจีนเพิ่มขึ้น 5 เท่า สูงถึง 3.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เป็นการการพึ่งพาจีน 90% ของการแปรรูปแร่หายากโลกอยู่ในจีน แบ่งเป็น แร่กลุ่มหายาก (Rare Earth Elements) มูลค่า: 3.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ปี 2025) ส่วนแบ่งการนำเข้า: กว่า 50% ของการนำเข้าแร่หายากทั้งหมดของจีน ชนิดแร่หลัก: เทอร์เบียม (Terbium) และดีสโพรเซียม (Dysprosium) ในกลุ่ม Heavy Rare Earth Elements (HREE) พื้นที่ทำเหมืองหลักที่คะฉิ่น ที่เหมือง Chipwi และ Momauk: มีบ่อแร่มากกว่า 2,700 บ่อ เมือง Panwa: แหล่งผลิตหลักภายใต้การควบคุมของ Kachin Independence Army (KIA) การขยายตัว: จำนวนไซต์ทำเหมืองเพิ่มขึ้น 40% นับตั้งแต่ปี 2021 โดยพื้นที่ KIA: เก็บภาษี 35,000 หยวน/ตัน (ประมาณ 4,800 ดอลลาร์สหรัฐ)
    บริษัทจีนผู้รับซื้อหลัก คือ China Rare Earths Group (REGCC) ควบคุมการประมูลแร่กว่า 80% China Northern Rare Earth Group ผู้ประมูลแร่รายใหญ่ของโลก และ JL Mag Rare-Earth: ผู้ผลิตแม่เหล็กถาวรรายใหญ่ ใช้แร่จากพม่าในอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า และยังมีบริษัท Rising Nonferrous บริษัทที่ได้รับอนุมัติให้นำเข้าแร่หายากจากเมียนมาโดยตรง
    นอกจากนั้นก็จะมี China Nonferrous Metal Mining Group (CNMC) รับซื้อ: ทองแดง, นิกเกิล พื้นที่รับซื้อคือเหมือง Monywa ในเขตสะกาย บริษัท China Minmetals Corporation: รับซื้อ: แร่หายาก, ดีบุก, ทังสเตน Aluminum Corporation of China (CHINALCO): รับซื้อ: แร่ที่เกี่ยวข้องกับอะลูมิเนียมและโลหะผสม Yunnan Tin Company: รับซื้อ: ดีบุก เพราะเป็นผู้ผลิตดีบุกรายใหญ่ของจีน Pangang Group: รับซื้อ: ทังสเตน, พลวง เป็นผู้นำในอุตสาหกรรมโลหะหนัก
    ______________________________
    การส่งออกแร่ธาตุจากพม่าไปจีนมีป้อนอุตสาหกรรมหลักที่สร้างรายได้เป็นกอบเป็นกำให้จีน และแน่นอนต้องใช้ฐานของกลุ่มประเทศอาเซียนเป็นตลาดหลักและบายพาสไปยังกลุ่มประเทศที่มีกำแพงภาษีสูงไม่ว่าจะเป็น
    • อุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า (Electric Vehicles)แร่ธาตุหายาก เช่น ดิสโพรเซียม (Dysprosium) และเทอร์เบียม (Terbium) ที่นำเข้าจากพม่าใช้เป็นวัตถุดิบสำคัญในการผลิตแม่เหล็กถาวรสำหรับมอเตอร์ในรถยนต์ไฟฟ้า ซึ่งจีนมีความต้องการสูงมากในช่วงหลังเพื่อรองรับการเติบโตของตลาด EV
    • อุตสาหกรรมพลังงานลม (Wind Power)แม่เหล็กถาวรที่ผลิตจากแร่ธาตุหายากเหล่านี้ยังถูกใช้ในกังหันลมเพื่อผลิตพลังงานสะอาด ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายพลังงานทดแทนของจีน
    • อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics)แร่ธาตุหายากจากพม่าถูกนำไปใช้ในชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เช่น สมาร์ทโฟน คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่น ๆ ที่ต้องการแม่เหล็กและวัสดุพิเศษ
    • อุตสาหกรรมแม่เหล็กถาวร (Permanent Magnets) บริษัทจีนใหญ่ เช่น China Southern Rare Earth ใช้แร่ธาตุจากพม่าในการผลิตแม่เหล็กถาวรที่เป็นวัตถุดิบสำคัญในหลายอุตสาหกรรม
    • อาวุธยุทโธปกรณ์ (Defence Industry) และอุตสาหกรรมอวกาศ และอากาศยาน (Aerospace Industry)
    สถานการณ์ความต้องการแร่ธาตุหายากงวดขึ้นเพราะนับวันแร่ธาตุเหล่านั้นย่อมลดลง ตามชื่อเพราะยิ่งหายากขึ้น โดยในช่วงครึ่งแรกของปี 2024 จีนเพิ่มการนำเข้าแร่หายากจากพม่าเกิน 9 เท่าเมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า และคิดเป็นกว่า 70% ของแร่ธาตุหายากที่จีนใช้ทั้งหมด ซึ่งทำให้พม่าเป็นแหล่งผลิตแร่หายากที่ใหญ่ที่สุดของจีนในปัจจุบัน
    ______________________________
    ความต้องการสูงและความไม่แน่นอนของซัพพลายเชน โดยเฉพาะในช่วงที่มีความขัดข้องจากสถานการณ์ภูมิรัฐศาสตร์ ทำให้จีนพึ่งพาแหล่งแร่จากต่างประเทศมากขึ้น โดยเฉพาะพม่าเป็นสัดส่วนถึง 70% ของวัตถุดิบที่ใช้ เนื่องจากเหมืองในจีนผลิตไม่เพียงพอและมีข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อมและนโยบาย
    ปัญหาจึงอยู่ที่แร่ธาตุหายากจากพม่าส่วนใหญ่ถูกขุดอย่างผิดกฎหมายและผ่านช่องทางที่ไม่โปร่งใส ทำให้บริษัทจีนที่แปรรูปแร่ไม่สามารถระบุแหล่งที่มาได้ชัดเจน ส่งผลต่อความยั่งยืนและความน่าเชื่อถือของตลาด รวมถึงสร้างปัญหาสุขภาพและสิ่งแวดล้อมต่อพม่าอย่างมหาศาล
    หากเจาะพื้นที่การทำเหมืองในรัฐต่าง ๆ การทำเหมืองในเมียนมามักอยู่ในพื้นที่ที่มีความขัดแย้งหรือควบคุมโดยกลุ่มติดอาวุธ ซึ่งมีผลต่อการส่งออกและการจัดการทรัพยากร ดังนี้:
    • รัฐคะฉิ่น (Kachin State): แร่หลัก: แร่หายาก (REEs), พลวง, ทองคำ, อิตเทรียม พื้นที่ป่าทางตอนเหนือ อุดมไปด้วยแร่หายาก แต่ได้รับผลกระทบจากความขัดแย้งระหว่างกองทัพเมียนมาและกองทัพปลดปล่อยคะฉิ่น (KIA) ส่วนใหญ่ทำลายสิ่งแวดล้อม น้ำกลายเป็นโคลน และสัตว์ป่าลดลง
    • รัฐฉาน (Shan State): แร่หลัก: ดีบุก, ตะกั่ว, สังกะสี, ทังสเตน,ทองคำพื้นที่ที่มีเหมืองดีบุกขนาดใหญ่ เช่น เหมือง Man Maw การควบคุมโดยกลุ่มติดอาวุธที่เชื่อมโยงกับกองทัพเมียนมา ทำให้เงินจากเหมือง สนับสนุนกองทัพ สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมหาศาลเช่นกันและลุกลามไปยังประเทศเพื่อนบ้านคือประเทศไทย
    • เขตสะกาย (Sagaing Region): แร่หลัก: ทองแดง, นิกเกิล, ทองคำพื้นที่ที่มีการสู้รบหนักระหว่างกองทัพเมียนมาและกองกำลัง PDF
    • เขตมัณฑะเลย์ (Mandalay Region): แร่หลัก: แร่หายาก, พลวง, อิตเทรียม, ทองคำพื้นที่ที่มีเหมืองขนาดเล็กกระจายอยู่
    • เขตตะนาวศรี (Tanintharyi Region): แร่หลัก: ดีบุก เป็นเหมืองดีบุกขนาดใหญ่ใกล้ชายฝั่ง
    • รัฐมอญ (Mon State): แร่หลัก: ทองแดง เป็นเหมืองขนาดเล็กถึงปานกลาง
    • รัฐกะยา (Kayah State): แร่หลัก: ตะกั่ว พื้นที่ที่มีความขัดแย้งสูง
    ______________________________
    สอบทานต้นทาง-ย้อนกลับห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) ของแร่ธาตุจากเมียนมาไปจีนมีลักษณะดังนี้ เริ่มต้นสำรวจแหล่ง แน่นอนฐานข้อมูลมีอยู่แล้วในมือรัฐบาลทหารพม่า และในกำมือเทคโนโลยีจีน ก่อนจะให้บริษัทเอกชนในแต่ละความถนัดของจีน และของพม่าเอง ขุดและแปรรูปเบื้องต้น เหมืองส่วนใหญ่ในพม่าดำเนินการโดยบริษัทท้องถิ่นหรือบริษัทจีนร่วมทุน การแปรรูปขั้นต้น (เช่น การถลุงแร่ดีบุก) มักทำในเมียนมาก่อนส่งออก ส่วนใหญ่ในพื้นที่ขัดแย้งทำให้เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและการละเมิดสิทธิมนุษยชน
    การขนส่ง เส้นทางหลัก: จากเหมืองในรัฐคะฉิ่นและฉานไปยังชายแดนจีน (มณฑลยูนนาน) ผ่านทางรถไฟหรือถนน เช่น เส้นทางรถไฟเจ้าผิ่ว-มูเซ บางส่วนส่งออกผ่านท่าเรือในเขตตะนาวศรีและย่างกุ้ง
    การแปรรูปขั้นสูงในจีน ปลายทางคือโรงงานแปรรูปอยู่ในมณฑลกวางตุ้ง, เจียงซู, และแถบเศรษฐกิจแยงซีเกียง โดยแร่หายากถูกกลั่นเป็นโลหะบริสุทธิ์หรือสารประกอบ เช่น นีโอดิเมียมสำหรับแม่เหล็ก หรืออิตเทรียมสำหรับ LED
    สายพานอุตสาหกรรมที่ใช้งานแบ่งตามแร่ธาตุอุตสาหกรรมเทคโนโลยี: แร่หายาก (REEs) และดีบุกใช้ในสมาร์ทโฟน, คอมพิวเตอร์, เซมิคอนดักเตอร์ ยานยนต์ไฟฟ้า: แร่หายาก (นีโอดิเมียม, ดิสโพรเซียม) และนิกเกิลใช้ในมอเตอร์และแบตเตอรี่ พลังงานสะอาด: ทังสเตนและพลวงใช้ในกังหันลมและแผงโซลาร์ อุตสาหกรรมทหาร: แร่หายากและพลวงใช้ในขีปนาวุธ, เรดาร์, และเลเซอร์ การก่อสร้างและเครื่องจักร: ทองแดงและสังกะสีใช้ในสายไฟและโครงสร้าง
    ความท้าทายในระบบ Supply Chain ส่วนใหญ่คือความขัดแย้งในเมียนมาอาจขัดขวางการขนส่ง จากผลประโยชน์มหาศาลเพื่อนำมาเป็นอาวุธและจุนเจือเสบียงในการรบ ขณะที่นานาชาติได้เรียกร้องให้ตรวจสอบแร่จากพื้นที่ขัดแย้ง แต่จีนเป็นประเทศเดียวที่บังคับให้แยกแร่จากเมียนมาและจีน
    ______________________________
    ล่าสุด กองกำลังเอกราชคะฉิ่น (Kachin Independent Organization, Kachin Independent Army- KIA) ซึ่งได้เป็นเจ้าของใหม่ของเหมืองแร่หายาก หรือแร่แรร์เอิร์ธ (Rare Earth) อนุญาตให้ส่งออกแร่หายากไปยังประเทศจีน โดยเก็บภาษีในอัตรา 30,500 หยวนต่อหนึ่งตัน (ราว 160,000 บาท) พื้นที่แหล่งแร่หายากที่มีมูลค่าหลายพันล้านดอลลาร์ในเขตปางวาและชิพเว (Pang Wa, Chi Pwi) ในรัฐคะฉิ่น ซึ่งกลุ่ม KIA เข้ายึดครองในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2567 ได้รับอนุญาตให้ส่งออกแร่หายากไปยังจีนหลังจากควบคุมพื้นที่มาได้ 6 เดือน
    สำนักข่าวรอยเตอร์ เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2568 KIO/KIA ได้อนุญาตให้ส่งออกแร่หายากไปยังประเทศจีน โดยเก็บภาษีในอัตรา 30,500 หยวนต่อหนึ่งตัน อย่างไรก็ตาม รายละเอียดอื่น ๆ ในหนังสืออนุญาตของ KIO ยังไม่ได้รับการเปิดเผย เจ้าหน้าที่ KIA เขตปางวาให้ข้อมูลว่าKIO/KIA และรัฐบาลจีน ยังคงเจรจาเกี่ยวกับการใช้จุดผ่านแดนเดียวในการส่งออกแร่หายาก และจนถึงสัปดาห์ที่สองของเดือนเมษายน ยังไม่มีการส่งออกอย่างเป็นทางการ
    KIA สามารถควบคุมจุดผ่านแดนทางการค้าระหว่างจีน-พม่าในรัฐคะฉิ่นทั้งหมด ได้แก่ กานปายตี Kan Pai Ti, ล่วยเจ Loi Je และปางวา ขณะนี้ยังอยู่ระหว่างตรวจสอบว่าจะใช้จุดผ่านแดนใดในการส่งออก หลังจากที่ KIA ควบคุมพื้นที่ปางวาและชิพเว รัฐบาลจีนได้มีคำสั่งปิดจุดผ่านแดนทั้งหมด ทำให้บริษัทเหมืองแร่ส่วนใหญ่หยุดดำเนินการ มีเพียงบางบริษัทที่ยังคงขุดแร่ต่อไป เนื่องจากยังมีวัตถุดิบหลงเหลืออยู่
    รายงานของ Global Witness ระบุว่า การทำเหมืองแร่แรร์เอิร์ทในพื้นที่ปางวาเริ่มขึ้นในปี 2016 โดยนักธุรกิจชาวจีน ซึ่งส่งออกแร่ไปยังจีนเป็นหลัก ตามข้อมูลปัจจุบัน พม่าติดอันดับ 3 ของประเทศผู้ผลิตแร่แรร์เอิร์ท และคิดเป็น 50% ของการส่งออกแร่หายากทั่วโลก หลังจากการรัฐประหารของกองทัพพม่า การทำเหมืองแร่แรร์เอิร์ทในพื้นที่ปางวาและชิพเวเพิ่มขึ้น 40% และจำนวนเหมืองแร่เพิ่มขึ้นกว่า 300 แห่ง ในปี 2566 เพียงปีเดียว มีการส่งออกแร่หายากไปยังจีนมากถึง 41,700 ตัน สร้างรายได้ถึง 1.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
    ______________________________
    สรุปขมวดปม การส่งออกแร่ธาตุจากพม่าไปจีนช่วยเสริมความมั่นคงของซัพพลายเชนแร่หายากในจีน ลดภาวะขาดแคลนและสนับสนุนอุตสาหกรรมเทคโนโลยีขั้นสูง แต่ก็เพิ่มความเสี่ยงด้านความโปร่งใสและความยั่งยืนในตลาดแร่ธาตุของจีน แร่ธาตุหายากจากพม่ามีบทบาทสำคัญในห่วงโซ่อุปทานของจีน โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีขั้นสูงและพลังงานสะอาด ซึ่งจีนพึ่งพาการนำเข้าแร่จากพม่าเป็นสัดส่วนสูงถึง 70% ของแร่หายากที่ใช้ในประเทศ เหมืองแร่หายากเหล่านี้ทั้งหมด รวมถึงแร่ทองคำ และอื่น ๆ ที่ปักหมุดขุดหลุมร่อนตระแกรง ทุกรัฐในเมียนมาก่อให้เกิดความเสียหายรุนแรงต่อสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ป่าเขา แม่น้ำ ลำธาร โดยคนงานบางรายถูกเอารัดเอาเปรียบอย่างโหดร้าย หญิงคนงานถูกล่วงละเมิดทางเพศ และหลายคนได้รับอันตรายทางสุขภาพอย่างร้ายแรงจากสารเคมีที่ใช้ในเหมือง และส่งผลกระทบต่อพื้นที่ที่กว้างขวางขึ้นรวมถึงประเทศไทย และลุ่มแม่น้ำโขงตอนบน คำถามคือจีนมีส่วนสำคัญในการสร้างมลภาวะในพื้นที่ ควรจะร่วมรับผิดชอบหรือไม่ ไม่ใช่การสูบทรัพยากรในพื้นที่แต่ไม่ได้เหลียวแลผลกระทบที่จะตามมา อันจะกลายเป็นการสร้างปัญหาใหญ่ให้กับจีนในอนาคต
    อ้างอิง : https://www.facebook.com/GlobalWitness/ และสำนักข่าวชายขอบ
    https://shorturl.asia/6GnqX
    ประชาไท https://prachatai.com/journal/2025/01/111942
    ______________________________

    10 อันดับแร่ธาตุที่ส่งออกจากเมียนมาไปจีน (เรียงตามมูลค่าประเมิน)
    1. แร่ดีบุก (Tin)
    o มูลค่า: สูงสุด เนื่องจากเมียนมาเป็นผู้ผลิตดีบุกรายใหญ่อันดับ 3 ของโลก และจีนนำเข้า 95% ของหัวแร่ดีบุกจากเมียนมาในปี 2563
    o การใช้งาน: ใช้ในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (บัดกรีแผงวงจร), การผลิตโลหะผสม
    o พื้นที่เหมือง: รัฐฉาน (Shan State), เขตตะนาวศรี (Tanintharyi Region)
    2. แร่หายาก (Rare Earth Elements: REEs)
    o มูลค่า: สูง เนื่องจากความต้องการในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีขั้นสูงของจีน
    o การใช้งาน: ผลิตแม่เหล็กถาวร (Permanent Magnets), แบตเตอรี่รถยนต์ไฟฟ้า, อุปกรณ์เลเซอร์, เซมิคอนดักเตอร์
    o พื้นที่เหมือง: รัฐคะฉิ่น (Kachin State), เขตมัณฑะเลย์ (Mandalay Region)
    3. ทองแดง (Copper)
    o มูลค่า: สูง เนื่องจากราคาทองแดงในตลาดโลกพุ่งสูงหลังรัฐประหาร
    o การใช้งาน: สายไฟ, อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์, การก่อสร้าง
    o พื้นที่เหมือง: เขตสะกาย (Sagaing Region), รัฐมอญ (Mon State)
    4. ตะกั่ว (Lead)
    o มูลค่า: ปานกลางถึงสูง ใช้ในอุตสาหกรรมแบตเตอรี่
    o การใช้งาน: แบตเตอรี่ตะกั่ว-กรด, อุตสาหกรรมยานยนต์
    o พื้นที่เหมือง: รัฐฉาน, รัฐกะยา (Kayah State)
    5. สังกะสี (Zinc)
    o มูลค่า: ปานกลาง ใช้ในอุตสาหกรรมเคลือบโลหะ
    o การใช้งาน: การชุบกัลวาไนซ์, โลหะผสม
    o พื้นที่เหมือง: รัฐฉาน, เขตย่างกุ้ง (Yangon Region)
    6. นิกเกิล (Nickel)
    o มูลค่า: ปานกลาง เนื่องจากความต้องการในอุตสาหกรรมแบตเตอรี่
    o การใช้งาน: แบตเตอรี่ลิเธียม-ไอออน, สแตนเลส
    o พื้นที่เหมือง: เขตสะกาย, รัฐฉาน
    7. พลวง (Antimony)
    o มูลค่า: ปานกลาง ใช้ในอุตสาหกรรมทหารและพลังงาน
    o การใช้งาน: สารหน่วงไฟ, โลหะผสม, อุปกรณ์ทหาร
    o พื้นที่เหมือง: รัฐคะฉิ่น, เขตมัณฑะเลย์
    8. ทังสเตน (Tungsten)
    o มูลค่า: ปานกลาง ใช้ในอุตสาหกรรมที่มีความแข็งสูง
    o การใช้งาน: โลหะผสม, เครื่องมือตัด, อุปกรณ์ทหาร
    o พื้นที่เหมือง: รัฐฉาน, รัฐคะฉิ่น
    9. ทองคำ (Gold)
    o มูลค่า: ปานกลางถึงสูง ขึ้นอยู่กับราคาตลาดโลก
    o การใช้งาน: อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์, เครื่องประดับ
    o พื้นที่เหมือง: เขตมัณฑะเลย์, รัฐคะฉิ่น, เขตสะกาย
    10. อิตเทรียม (Yttrium)
    o มูลค่า: ต่ำถึงปานกลาง แต่มีความสำคัญในอุตสาหกรรมเฉพาะ
    o การใช้งาน: สารเรืองแสงใน LED, อุปกรณ์ MRI, เซรามิก
    o พื้นที่เหมือง: รัฐคะฉิ่น, เขตมัณฑะเลย์
    หมายเหตุ: มูลค่าที่ระบุเป็นการประเมินจากความสำคัญในห่วงโซ่อุปทานและปริมาณการส่งออก เนื่องจากไม่มีข้อมูลตัวเลขที่แน่นอนหลังรัฐประหาร
    ______________________________
    ตามรอยย้อนกลับ Supply Chain แร่หายากจากพม่ามหาศาลสู่จีน ______________________________ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2564 บริษัท China Rare Earth Group Co., Ltd. ก่อตัวขึ้นอย่างเป็นทางการ จากการควบรวมของ 3 กิจการด้านอุตสาหกรรมแร่หายากในจีน China Aluminium Corporation, China Minmetals Corporation และ Ganzhou Rare Earth Group Co., Ltd. เป้าคือพัฒนาอุตสาหกรรมแร่หายาก วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี China Rare Earth Group อยู่ภายใต้การกำกับดูแลโดยตรงของรัฐ-คณะกรรมการกำกับดูแลและบริหารสินทรัพย์ที่เป็นเจ้าของของสภาแห่งรัฐ ถือหุ้นร้อยละ 31.21 China Aluminium Corporation, China Minmetals Corporation และ Ganzhou Rare Earth Group Co., Ltd. แต่ละบริษัทถือหุ้นร้อยละ 20.33; China Iron and Steel Research Technology Group Co., Ltd. และ Youyan Technology Group Co., Ltd. ถือหุ้นร้อยละ 3.90 ปัจจุบันจีนมีปริมาณการผลิตแร่ธาตุ หายากสูงเป็นอันดับ 1 ของโลกอยู่ที่ 132,000 ตัน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 63 ของปริมาณการผลิตแร่ธาตุหายากทั่วโลก ซึ่งอยู่ที่ประมาณ 210,000 ตัน โดยประเทศอื่น ๆ ที่มีปริมาณการผลิตแร่ธาตุหายากในลำดับถัดมา ได้แก่ สหรัฐฯ (26,000 ตัน) เมียนมา (22,000 ตัน) ออสเตรเลีย (21,000 ตัน) อินเดีย (3,000 ตัน) รัสเซีย (2,700 ตัน) มาดากัสการ์ (2,000 ตัน) ไทย (1,800 ตัน) บราซิล (1,000 ตัน) เวียดนาม (900 ตัน) และบุรุนดี (600 ตัน) ______________________________ ระฆังกำแพงภาษีลั่นขึ้นห้วงเมษายน 2568 โดยสหรัฐอเมริกา การตอบโต้กลับของจีนเปิดหน้าชก สวนกลับทุกเม็ด รวมถึงได้ขยายการใช้ "แร่หายาก" (rare earths) เป็นเครื่องมือตอบโต้ทางการค้า โดยประกาศจำกัดการส่งออกแร่หายาก 7 ชนิด ซึ่งเป็นวัสดุสำคัญในอุดสาหกรรมเทคโนโลยีขั้นสูง เช่น รถยนต์ไฟฟ้า ไปจนถึงอาวุธยุทโธปกรณ์ โดยเป็นการตอบโต้ต่อมาดรการภาษีนำเข้าของสหรัฐ สำหรับแร่หายาก 7 ชนิดได้แก่ ชามาเรียม (Samarium) แกโดลิเนียม (Gadolinium) เทอร์เมียม (Terbium) ดิสโพรเซียม (Dysprosium) ลูทีเซียม (Lutetium) สแกนเดียม (Scandium) และอิดเทรียม (Yttrium) สำหรับแร่หายากยอดนิยมอย่าง นี่โอไดเมียม (Neodymium) และ พราเชโอไดเมียม (Praseodymium) ซึ่งใช้ผลิตแม่เหล็กประสิทธิภาพสูง ยังไม่อยู่ในรายชื่อควบคุม หลังการรัฐประหารปี 2021 การส่งออกแร่ธาตุหายากจากพม่าไปจีนเพิ่มขึ้น 5 เท่า สูงถึง 3.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เป็นการการพึ่งพาจีน 90% ของการแปรรูปแร่หายากโลกอยู่ในจีน แบ่งเป็น แร่กลุ่มหายาก (Rare Earth Elements) มูลค่า: 3.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ปี 2025) ส่วนแบ่งการนำเข้า: กว่า 50% ของการนำเข้าแร่หายากทั้งหมดของจีน ชนิดแร่หลัก: เทอร์เบียม (Terbium) และดีสโพรเซียม (Dysprosium) ในกลุ่ม Heavy Rare Earth Elements (HREE) พื้นที่ทำเหมืองหลักที่คะฉิ่น ที่เหมือง Chipwi และ Momauk: มีบ่อแร่มากกว่า 2,700 บ่อ เมือง Panwa: แหล่งผลิตหลักภายใต้การควบคุมของ Kachin Independence Army (KIA) การขยายตัว: จำนวนไซต์ทำเหมืองเพิ่มขึ้น 40% นับตั้งแต่ปี 2021 โดยพื้นที่ KIA: เก็บภาษี 35,000 หยวน/ตัน (ประมาณ 4,800 ดอลลาร์สหรัฐ) บริษัทจีนผู้รับซื้อหลัก คือ China Rare Earths Group (REGCC) ควบคุมการประมูลแร่กว่า 80% China Northern Rare Earth Group ผู้ประมูลแร่รายใหญ่ของโลก และ JL Mag Rare-Earth: ผู้ผลิตแม่เหล็กถาวรรายใหญ่ ใช้แร่จากพม่าในอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า และยังมีบริษัท Rising Nonferrous บริษัทที่ได้รับอนุมัติให้นำเข้าแร่หายากจากเมียนมาโดยตรง นอกจากนั้นก็จะมี China Nonferrous Metal Mining Group (CNMC) รับซื้อ: ทองแดง, นิกเกิล พื้นที่รับซื้อคือเหมือง Monywa ในเขตสะกาย บริษัท China Minmetals Corporation: รับซื้อ: แร่หายาก, ดีบุก, ทังสเตน Aluminum Corporation of China (CHINALCO): รับซื้อ: แร่ที่เกี่ยวข้องกับอะลูมิเนียมและโลหะผสม Yunnan Tin Company: รับซื้อ: ดีบุก เพราะเป็นผู้ผลิตดีบุกรายใหญ่ของจีน Pangang Group: รับซื้อ: ทังสเตน, พลวง เป็นผู้นำในอุตสาหกรรมโลหะหนัก ______________________________ การส่งออกแร่ธาตุจากพม่าไปจีนมีป้อนอุตสาหกรรมหลักที่สร้างรายได้เป็นกอบเป็นกำให้จีน และแน่นอนต้องใช้ฐานของกลุ่มประเทศอาเซียนเป็นตลาดหลักและบายพาสไปยังกลุ่มประเทศที่มีกำแพงภาษีสูงไม่ว่าจะเป็น • อุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า (Electric Vehicles)แร่ธาตุหายาก เช่น ดิสโพรเซียม (Dysprosium) และเทอร์เบียม (Terbium) ที่นำเข้าจากพม่าใช้เป็นวัตถุดิบสำคัญในการผลิตแม่เหล็กถาวรสำหรับมอเตอร์ในรถยนต์ไฟฟ้า ซึ่งจีนมีความต้องการสูงมากในช่วงหลังเพื่อรองรับการเติบโตของตลาด EV • อุตสาหกรรมพลังงานลม (Wind Power)แม่เหล็กถาวรที่ผลิตจากแร่ธาตุหายากเหล่านี้ยังถูกใช้ในกังหันลมเพื่อผลิตพลังงานสะอาด ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายพลังงานทดแทนของจีน • อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics)แร่ธาตุหายากจากพม่าถูกนำไปใช้ในชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เช่น สมาร์ทโฟน คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่น ๆ ที่ต้องการแม่เหล็กและวัสดุพิเศษ • อุตสาหกรรมแม่เหล็กถาวร (Permanent Magnets) บริษัทจีนใหญ่ เช่น China Southern Rare Earth ใช้แร่ธาตุจากพม่าในการผลิตแม่เหล็กถาวรที่เป็นวัตถุดิบสำคัญในหลายอุตสาหกรรม • อาวุธยุทโธปกรณ์ (Defence Industry) และอุตสาหกรรมอวกาศ และอากาศยาน (Aerospace Industry) สถานการณ์ความต้องการแร่ธาตุหายากงวดขึ้นเพราะนับวันแร่ธาตุเหล่านั้นย่อมลดลง ตามชื่อเพราะยิ่งหายากขึ้น โดยในช่วงครึ่งแรกของปี 2024 จีนเพิ่มการนำเข้าแร่หายากจากพม่าเกิน 9 เท่าเมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า และคิดเป็นกว่า 70% ของแร่ธาตุหายากที่จีนใช้ทั้งหมด ซึ่งทำให้พม่าเป็นแหล่งผลิตแร่หายากที่ใหญ่ที่สุดของจีนในปัจจุบัน ______________________________ ความต้องการสูงและความไม่แน่นอนของซัพพลายเชน โดยเฉพาะในช่วงที่มีความขัดข้องจากสถานการณ์ภูมิรัฐศาสตร์ ทำให้จีนพึ่งพาแหล่งแร่จากต่างประเทศมากขึ้น โดยเฉพาะพม่าเป็นสัดส่วนถึง 70% ของวัตถุดิบที่ใช้ เนื่องจากเหมืองในจีนผลิตไม่เพียงพอและมีข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อมและนโยบาย ปัญหาจึงอยู่ที่แร่ธาตุหายากจากพม่าส่วนใหญ่ถูกขุดอย่างผิดกฎหมายและผ่านช่องทางที่ไม่โปร่งใส ทำให้บริษัทจีนที่แปรรูปแร่ไม่สามารถระบุแหล่งที่มาได้ชัดเจน ส่งผลต่อความยั่งยืนและความน่าเชื่อถือของตลาด รวมถึงสร้างปัญหาสุขภาพและสิ่งแวดล้อมต่อพม่าอย่างมหาศาล หากเจาะพื้นที่การทำเหมืองในรัฐต่าง ๆ การทำเหมืองในเมียนมามักอยู่ในพื้นที่ที่มีความขัดแย้งหรือควบคุมโดยกลุ่มติดอาวุธ ซึ่งมีผลต่อการส่งออกและการจัดการทรัพยากร ดังนี้: • รัฐคะฉิ่น (Kachin State): แร่หลัก: แร่หายาก (REEs), พลวง, ทองคำ, อิตเทรียม พื้นที่ป่าทางตอนเหนือ อุดมไปด้วยแร่หายาก แต่ได้รับผลกระทบจากความขัดแย้งระหว่างกองทัพเมียนมาและกองทัพปลดปล่อยคะฉิ่น (KIA) ส่วนใหญ่ทำลายสิ่งแวดล้อม น้ำกลายเป็นโคลน และสัตว์ป่าลดลง • รัฐฉาน (Shan State): แร่หลัก: ดีบุก, ตะกั่ว, สังกะสี, ทังสเตน,ทองคำพื้นที่ที่มีเหมืองดีบุกขนาดใหญ่ เช่น เหมือง Man Maw การควบคุมโดยกลุ่มติดอาวุธที่เชื่อมโยงกับกองทัพเมียนมา ทำให้เงินจากเหมือง สนับสนุนกองทัพ สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมหาศาลเช่นกันและลุกลามไปยังประเทศเพื่อนบ้านคือประเทศไทย • เขตสะกาย (Sagaing Region): แร่หลัก: ทองแดง, นิกเกิล, ทองคำพื้นที่ที่มีการสู้รบหนักระหว่างกองทัพเมียนมาและกองกำลัง PDF • เขตมัณฑะเลย์ (Mandalay Region): แร่หลัก: แร่หายาก, พลวง, อิตเทรียม, ทองคำพื้นที่ที่มีเหมืองขนาดเล็กกระจายอยู่ • เขตตะนาวศรี (Tanintharyi Region): แร่หลัก: ดีบุก เป็นเหมืองดีบุกขนาดใหญ่ใกล้ชายฝั่ง • รัฐมอญ (Mon State): แร่หลัก: ทองแดง เป็นเหมืองขนาดเล็กถึงปานกลาง • รัฐกะยา (Kayah State): แร่หลัก: ตะกั่ว พื้นที่ที่มีความขัดแย้งสูง ______________________________ สอบทานต้นทาง-ย้อนกลับห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) ของแร่ธาตุจากเมียนมาไปจีนมีลักษณะดังนี้ เริ่มต้นสำรวจแหล่ง แน่นอนฐานข้อมูลมีอยู่แล้วในมือรัฐบาลทหารพม่า และในกำมือเทคโนโลยีจีน ก่อนจะให้บริษัทเอกชนในแต่ละความถนัดของจีน และของพม่าเอง ขุดและแปรรูปเบื้องต้น เหมืองส่วนใหญ่ในพม่าดำเนินการโดยบริษัทท้องถิ่นหรือบริษัทจีนร่วมทุน การแปรรูปขั้นต้น (เช่น การถลุงแร่ดีบุก) มักทำในเมียนมาก่อนส่งออก ส่วนใหญ่ในพื้นที่ขัดแย้งทำให้เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและการละเมิดสิทธิมนุษยชน การขนส่ง เส้นทางหลัก: จากเหมืองในรัฐคะฉิ่นและฉานไปยังชายแดนจีน (มณฑลยูนนาน) ผ่านทางรถไฟหรือถนน เช่น เส้นทางรถไฟเจ้าผิ่ว-มูเซ บางส่วนส่งออกผ่านท่าเรือในเขตตะนาวศรีและย่างกุ้ง การแปรรูปขั้นสูงในจีน ปลายทางคือโรงงานแปรรูปอยู่ในมณฑลกวางตุ้ง, เจียงซู, และแถบเศรษฐกิจแยงซีเกียง โดยแร่หายากถูกกลั่นเป็นโลหะบริสุทธิ์หรือสารประกอบ เช่น นีโอดิเมียมสำหรับแม่เหล็ก หรืออิตเทรียมสำหรับ LED สายพานอุตสาหกรรมที่ใช้งานแบ่งตามแร่ธาตุอุตสาหกรรมเทคโนโลยี: แร่หายาก (REEs) และดีบุกใช้ในสมาร์ทโฟน, คอมพิวเตอร์, เซมิคอนดักเตอร์ ยานยนต์ไฟฟ้า: แร่หายาก (นีโอดิเมียม, ดิสโพรเซียม) และนิกเกิลใช้ในมอเตอร์และแบตเตอรี่ พลังงานสะอาด: ทังสเตนและพลวงใช้ในกังหันลมและแผงโซลาร์ อุตสาหกรรมทหาร: แร่หายากและพลวงใช้ในขีปนาวุธ, เรดาร์, และเลเซอร์ การก่อสร้างและเครื่องจักร: ทองแดงและสังกะสีใช้ในสายไฟและโครงสร้าง ความท้าทายในระบบ Supply Chain ส่วนใหญ่คือความขัดแย้งในเมียนมาอาจขัดขวางการขนส่ง จากผลประโยชน์มหาศาลเพื่อนำมาเป็นอาวุธและจุนเจือเสบียงในการรบ ขณะที่นานาชาติได้เรียกร้องให้ตรวจสอบแร่จากพื้นที่ขัดแย้ง แต่จีนเป็นประเทศเดียวที่บังคับให้แยกแร่จากเมียนมาและจีน ______________________________ ล่าสุด กองกำลังเอกราชคะฉิ่น (Kachin Independent Organization, Kachin Independent Army- KIA) ซึ่งได้เป็นเจ้าของใหม่ของเหมืองแร่หายาก หรือแร่แรร์เอิร์ธ (Rare Earth) อนุญาตให้ส่งออกแร่หายากไปยังประเทศจีน โดยเก็บภาษีในอัตรา 30,500 หยวนต่อหนึ่งตัน (ราว 160,000 บาท) พื้นที่แหล่งแร่หายากที่มีมูลค่าหลายพันล้านดอลลาร์ในเขตปางวาและชิพเว (Pang Wa, Chi Pwi) ในรัฐคะฉิ่น ซึ่งกลุ่ม KIA เข้ายึดครองในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2567 ได้รับอนุญาตให้ส่งออกแร่หายากไปยังจีนหลังจากควบคุมพื้นที่มาได้ 6 เดือน สำนักข่าวรอยเตอร์ เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2568 KIO/KIA ได้อนุญาตให้ส่งออกแร่หายากไปยังประเทศจีน โดยเก็บภาษีในอัตรา 30,500 หยวนต่อหนึ่งตัน อย่างไรก็ตาม รายละเอียดอื่น ๆ ในหนังสืออนุญาตของ KIO ยังไม่ได้รับการเปิดเผย เจ้าหน้าที่ KIA เขตปางวาให้ข้อมูลว่าKIO/KIA และรัฐบาลจีน ยังคงเจรจาเกี่ยวกับการใช้จุดผ่านแดนเดียวในการส่งออกแร่หายาก และจนถึงสัปดาห์ที่สองของเดือนเมษายน ยังไม่มีการส่งออกอย่างเป็นทางการ KIA สามารถควบคุมจุดผ่านแดนทางการค้าระหว่างจีน-พม่าในรัฐคะฉิ่นทั้งหมด ได้แก่ กานปายตี Kan Pai Ti, ล่วยเจ Loi Je และปางวา ขณะนี้ยังอยู่ระหว่างตรวจสอบว่าจะใช้จุดผ่านแดนใดในการส่งออก หลังจากที่ KIA ควบคุมพื้นที่ปางวาและชิพเว รัฐบาลจีนได้มีคำสั่งปิดจุดผ่านแดนทั้งหมด ทำให้บริษัทเหมืองแร่ส่วนใหญ่หยุดดำเนินการ มีเพียงบางบริษัทที่ยังคงขุดแร่ต่อไป เนื่องจากยังมีวัตถุดิบหลงเหลืออยู่ รายงานของ Global Witness ระบุว่า การทำเหมืองแร่แรร์เอิร์ทในพื้นที่ปางวาเริ่มขึ้นในปี 2016 โดยนักธุรกิจชาวจีน ซึ่งส่งออกแร่ไปยังจีนเป็นหลัก ตามข้อมูลปัจจุบัน พม่าติดอันดับ 3 ของประเทศผู้ผลิตแร่แรร์เอิร์ท และคิดเป็น 50% ของการส่งออกแร่หายากทั่วโลก หลังจากการรัฐประหารของกองทัพพม่า การทำเหมืองแร่แรร์เอิร์ทในพื้นที่ปางวาและชิพเวเพิ่มขึ้น 40% และจำนวนเหมืองแร่เพิ่มขึ้นกว่า 300 แห่ง ในปี 2566 เพียงปีเดียว มีการส่งออกแร่หายากไปยังจีนมากถึง 41,700 ตัน สร้างรายได้ถึง 1.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ______________________________ สรุปขมวดปม การส่งออกแร่ธาตุจากพม่าไปจีนช่วยเสริมความมั่นคงของซัพพลายเชนแร่หายากในจีน ลดภาวะขาดแคลนและสนับสนุนอุตสาหกรรมเทคโนโลยีขั้นสูง แต่ก็เพิ่มความเสี่ยงด้านความโปร่งใสและความยั่งยืนในตลาดแร่ธาตุของจีน แร่ธาตุหายากจากพม่ามีบทบาทสำคัญในห่วงโซ่อุปทานของจีน โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีขั้นสูงและพลังงานสะอาด ซึ่งจีนพึ่งพาการนำเข้าแร่จากพม่าเป็นสัดส่วนสูงถึง 70% ของแร่หายากที่ใช้ในประเทศ เหมืองแร่หายากเหล่านี้ทั้งหมด รวมถึงแร่ทองคำ และอื่น ๆ ที่ปักหมุดขุดหลุมร่อนตระแกรง ทุกรัฐในเมียนมาก่อให้เกิดความเสียหายรุนแรงต่อสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ป่าเขา แม่น้ำ ลำธาร โดยคนงานบางรายถูกเอารัดเอาเปรียบอย่างโหดร้าย หญิงคนงานถูกล่วงละเมิดทางเพศ และหลายคนได้รับอันตรายทางสุขภาพอย่างร้ายแรงจากสารเคมีที่ใช้ในเหมือง และส่งผลกระทบต่อพื้นที่ที่กว้างขวางขึ้นรวมถึงประเทศไทย และลุ่มแม่น้ำโขงตอนบน คำถามคือจีนมีส่วนสำคัญในการสร้างมลภาวะในพื้นที่ ควรจะร่วมรับผิดชอบหรือไม่ ไม่ใช่การสูบทรัพยากรในพื้นที่แต่ไม่ได้เหลียวแลผลกระทบที่จะตามมา อันจะกลายเป็นการสร้างปัญหาใหญ่ให้กับจีนในอนาคต อ้างอิง : https://www.facebook.com/GlobalWitness/ และสำนักข่าวชายขอบ https://shorturl.asia/6GnqX ประชาไท https://prachatai.com/journal/2025/01/111942 ______________________________ 10 อันดับแร่ธาตุที่ส่งออกจากเมียนมาไปจีน (เรียงตามมูลค่าประเมิน) 1. แร่ดีบุก (Tin) o มูลค่า: สูงสุด เนื่องจากเมียนมาเป็นผู้ผลิตดีบุกรายใหญ่อันดับ 3 ของโลก และจีนนำเข้า 95% ของหัวแร่ดีบุกจากเมียนมาในปี 2563 o การใช้งาน: ใช้ในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (บัดกรีแผงวงจร), การผลิตโลหะผสม o พื้นที่เหมือง: รัฐฉาน (Shan State), เขตตะนาวศรี (Tanintharyi Region) 2. แร่หายาก (Rare Earth Elements: REEs) o มูลค่า: สูง เนื่องจากความต้องการในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีขั้นสูงของจีน o การใช้งาน: ผลิตแม่เหล็กถาวร (Permanent Magnets), แบตเตอรี่รถยนต์ไฟฟ้า, อุปกรณ์เลเซอร์, เซมิคอนดักเตอร์ o พื้นที่เหมือง: รัฐคะฉิ่น (Kachin State), เขตมัณฑะเลย์ (Mandalay Region) 3. ทองแดง (Copper) o มูลค่า: สูง เนื่องจากราคาทองแดงในตลาดโลกพุ่งสูงหลังรัฐประหาร o การใช้งาน: สายไฟ, อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์, การก่อสร้าง o พื้นที่เหมือง: เขตสะกาย (Sagaing Region), รัฐมอญ (Mon State) 4. ตะกั่ว (Lead) o มูลค่า: ปานกลางถึงสูง ใช้ในอุตสาหกรรมแบตเตอรี่ o การใช้งาน: แบตเตอรี่ตะกั่ว-กรด, อุตสาหกรรมยานยนต์ o พื้นที่เหมือง: รัฐฉาน, รัฐกะยา (Kayah State) 5. สังกะสี (Zinc) o มูลค่า: ปานกลาง ใช้ในอุตสาหกรรมเคลือบโลหะ o การใช้งาน: การชุบกัลวาไนซ์, โลหะผสม o พื้นที่เหมือง: รัฐฉาน, เขตย่างกุ้ง (Yangon Region) 6. นิกเกิล (Nickel) o มูลค่า: ปานกลาง เนื่องจากความต้องการในอุตสาหกรรมแบตเตอรี่ o การใช้งาน: แบตเตอรี่ลิเธียม-ไอออน, สแตนเลส o พื้นที่เหมือง: เขตสะกาย, รัฐฉาน 7. พลวง (Antimony) o มูลค่า: ปานกลาง ใช้ในอุตสาหกรรมทหารและพลังงาน o การใช้งาน: สารหน่วงไฟ, โลหะผสม, อุปกรณ์ทหาร o พื้นที่เหมือง: รัฐคะฉิ่น, เขตมัณฑะเลย์ 8. ทังสเตน (Tungsten) o มูลค่า: ปานกลาง ใช้ในอุตสาหกรรมที่มีความแข็งสูง o การใช้งาน: โลหะผสม, เครื่องมือตัด, อุปกรณ์ทหาร o พื้นที่เหมือง: รัฐฉาน, รัฐคะฉิ่น 9. ทองคำ (Gold) o มูลค่า: ปานกลางถึงสูง ขึ้นอยู่กับราคาตลาดโลก o การใช้งาน: อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์, เครื่องประดับ o พื้นที่เหมือง: เขตมัณฑะเลย์, รัฐคะฉิ่น, เขตสะกาย 10. อิตเทรียม (Yttrium) o มูลค่า: ต่ำถึงปานกลาง แต่มีความสำคัญในอุตสาหกรรมเฉพาะ o การใช้งาน: สารเรืองแสงใน LED, อุปกรณ์ MRI, เซรามิก o พื้นที่เหมือง: รัฐคะฉิ่น, เขตมัณฑะเลย์ หมายเหตุ: มูลค่าที่ระบุเป็นการประเมินจากความสำคัญในห่วงโซ่อุปทานและปริมาณการส่งออก เนื่องจากไม่มีข้อมูลตัวเลขที่แน่นอนหลังรัฐประหาร ______________________________
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 184 มุมมอง 0 รีวิว
  • Microsoft ได้ยืนยันว่ามี ปัญหาการใช้ CPU สูงผิดปกติ ใน Classic Outlook หลังจากอัปเดตเป็น Version 2406 Build 17726.20126+ โดยพบว่าเมื่อพิมพ์ข้อความ CPU อาจพุ่งสูงถึง 30-50% ส่งผลให้ระบบทำงานช้าลง

    ✅ ปัญหาการใช้ CPU สูงผิดปกติเมื่อพิมพ์ข้อความ
    - พบว่า CPU อาจพุ่งสูงถึง 30-50% เมื่อพิมพ์อีเมลใน Classic Outlook
    - ส่งผลให้เครื่องทำงานช้าลงและใช้พลังงานมากขึ้น

    ✅ เวอร์ชันที่ได้รับผลกระทบ
    - ปัญหานี้เกิดขึ้นหลังอัปเดตเป็น Version 2406 Build 17726.20126+
    - พบใน Current Channel, Monthly Enterprise Channel และ Insider Channels

    ✅ วิธีแก้ไขปัญหาเบื้องต้น
    - Microsoft แนะนำให้ เปลี่ยนไปใช้ Semi-Annual Channel ซึ่งไม่มีปัญหานี้
    - สามารถทำได้ผ่าน Office Deployment Tool หรือ แก้ไข Registry

    ✅ Microsoft กำลังตรวจสอบปัญหา
    - ทีม Outlook กำลังสืบสวนและจะอัปเดตข้อมูลเมื่อมีความคืบหน้า

    ℹ️ ความท้าทายในการเปลี่ยนไปใช้ Semi-Annual Channel
    - แม้ Semi-Annual Channel จะไม่มีปัญหานี้ แต่ผู้ใช้บางรายอาจพบ ข้อบกพร่องอื่นๆ

    ℹ️ แนวโน้มของการอัปเดต Outlook ในอนาคต
    - Microsoft อาจต้องปรับปรุงกระบวนการอัปเดตเพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพของระบบ

    https://www.neowin.net/news/typing-on-classic-outlook-is-hogging-pcs-with-high-cpu-usage-microsoft-shares-workaround/
    Microsoft ได้ยืนยันว่ามี ปัญหาการใช้ CPU สูงผิดปกติ ใน Classic Outlook หลังจากอัปเดตเป็น Version 2406 Build 17726.20126+ โดยพบว่าเมื่อพิมพ์ข้อความ CPU อาจพุ่งสูงถึง 30-50% ส่งผลให้ระบบทำงานช้าลง ✅ ปัญหาการใช้ CPU สูงผิดปกติเมื่อพิมพ์ข้อความ - พบว่า CPU อาจพุ่งสูงถึง 30-50% เมื่อพิมพ์อีเมลใน Classic Outlook - ส่งผลให้เครื่องทำงานช้าลงและใช้พลังงานมากขึ้น ✅ เวอร์ชันที่ได้รับผลกระทบ - ปัญหานี้เกิดขึ้นหลังอัปเดตเป็น Version 2406 Build 17726.20126+ - พบใน Current Channel, Monthly Enterprise Channel และ Insider Channels ✅ วิธีแก้ไขปัญหาเบื้องต้น - Microsoft แนะนำให้ เปลี่ยนไปใช้ Semi-Annual Channel ซึ่งไม่มีปัญหานี้ - สามารถทำได้ผ่าน Office Deployment Tool หรือ แก้ไข Registry ✅ Microsoft กำลังตรวจสอบปัญหา - ทีม Outlook กำลังสืบสวนและจะอัปเดตข้อมูลเมื่อมีความคืบหน้า ℹ️ ความท้าทายในการเปลี่ยนไปใช้ Semi-Annual Channel - แม้ Semi-Annual Channel จะไม่มีปัญหานี้ แต่ผู้ใช้บางรายอาจพบ ข้อบกพร่องอื่นๆ ℹ️ แนวโน้มของการอัปเดต Outlook ในอนาคต - Microsoft อาจต้องปรับปรุงกระบวนการอัปเดตเพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพของระบบ https://www.neowin.net/news/typing-on-classic-outlook-is-hogging-pcs-with-high-cpu-usage-microsoft-shares-workaround/
    WWW.NEOWIN.NET
    Typing on Classic Outlook is hogging PCs with high CPU usage, Microsoft shares workaround
    Microsoft has confirmed that a new bug in Classic Outlook is making even typing difficult as it is leading to high CPU usage and system hogging. A workaround has been shared.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 47 มุมมอง 0 รีวิว
  • 'อัษฎางค์' วิเคราะห์ 'พีระพันธุ์' กำลังโดนโจมตีแบบล้อมวง ศึกใหญ่คือพลังงาน ไม่ใช่กาสิโน
    https://www.thai-tai.tv/news/18173/
    'อัษฎางค์' วิเคราะห์ 'พีระพันธุ์' กำลังโดนโจมตีแบบล้อมวง ศึกใหญ่คือพลังงาน ไม่ใช่กาสิโน https://www.thai-tai.tv/news/18173/
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 31 มุมมอง 0 รีวิว
  • Blood Gold เจาะขุมทรัพย์ใต้ภิภพเมียนมาร์ความมั่งคั่งที่มืดมนอนธการ
    .
    ใต้ภิภพเมียนมาร์ นับเป็นรัฐที่มีทรัพยากรมูลค่าสูงฝังอยู่มหาศาล ที่สามารถแปลงเป็นสินทรัพย์ในการพัฒนาประเทศได้อันดับต้น ๆ ของอาเซียน
    ทว่า รัฐสภาพแห่งนี้เหมือนถูกครอบงำ และตกอยู่ภายใต้ความลำบาก ความขัดแย้งไม่ลงรอย ในประวัติศาสตร์การเมืองที่ส่งผลต่อเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศโดยตรง
    รอยเลื่อนสะกาย (Sagaing Fault) “ยักษ์หลับแห่งเมียนมา” ที่ใหญ่และสำคัญที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ตื่นขึ้น 28 มีนาคม 2568 ที่ ขนาด 8.2 แมกนิจูด ได้ส่งพลังพาดผ่านเมืองหลวงสำคัญของพม่า ตั้งแต่มัณฑะเลย์ เนปิดอว์ ย่างกุ้ง ดูเหมือนว่าเมืองแห่งอารยธรรมและศูนย์กลางอำนาจ ตั้งอยู่บนหลังมังกรที่หลับ ขยับทีก็ทำให้เมืองศูนย์กลางสำคัญได้ได้ผลกระทบสูงการฟื้นตัวครั้งแล้วครั้งเล่าเหมือนสถานการณ์เริ่มต้นใหม่หลายรอบ หมุนวน
    โครงสร้างทางธรณีวิทยาของเมียนมาร์ค่อนข้างซับซ้อน ภูมิสัณฐานและธรณีโครงสร้างได้เป็น 4 ส่วนใหญ่ๆ คือพื้นที่ราบสูงตะวันออก (Sino Burman Ranges) พื้นที่ลุ่มต่ำตอนกลาง (Inner Burman Tertiary Zone) ดินแดนเทือกเขาตะวันตก (Indo Burman Ranges) และ ที่ราบฝั่งยะไข่ - คะฉิ่น Rakhine (Arakan) Coastal Plain
    ชั้นหินที่มีอายุอ่อนที่สุดจะอยู่ใน พื้นที่ลุ่มต่ำตอนกลาง ไล่ถัดไปทางด้านตะวันตกของประเทศ จะเป็นชั้นหินที่มีอายุแก่ขึ้นเรื่อยๆ ไปจนถึงที่ราบแถบยะไข่ ด้านตะวันออกของประเทศ ส่วนของ Sino Burman เป็นชั้นหินที่มีอายุแก่ที่สุด มีรอยเลื่อนรัฐฉาน แนวรอยต่อเชื่อมรอยเลื่อนสะกาย
    อุตสาหกรรมเหมืองแร่ในเมียนมาร์ มีบทบาทสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะในช่วงหลังรัฐประหารปี 2021 ซึ่งมีการขยายตัวของการทำเหมืองแร่หายาก (Rare Earth Elements: REEs) อย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตาม การเติบโตนี้มาพร้อมกับผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ซับซ้อน มีมูลค่าสูงถึง 1.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในปี 2023
    นับว่าแร่หายากกลุ่มหนัก heavy rare earth elements: HREE คิดเป็นสัดส่วนหลักของมูลค่าการส่งออกของเมียนมาร์ โดยส่วนใหญ่ส่งไปจีนเพื่อผลิตแม่เหล็กถาวรสำหรับรถไฟฟ้าและกังหันลมการส่งออก อัตราเติบโตเพิ่มขึ้นกว่า 2 เท่าในปี 2023 เมื่อเทียบกับปี 2021 จาก 19,500 ตัน เป็น 41,700 ตัน
    แน่นอนแร่หายากกลุ่ม China Rare Earths Group (REGCC) เป็นผู้ลงทุนหลัก ควบคุมทั้งเทคโนโลยี การประมวลผล และห่วงโซ่อุปทาน ภายใต้การดูแลพื้นที่ของกองทัพเมียนมาร์ (SAC) และมิลิเชียพันธมิตรควบคุมพื้นที่พิเศษ Kachin 1 และกองกำลัง Kachin Independence Army (KIA) ควบคุมพื้นที่ Momauk และแนวชายแดน
    แร่หายากเป็นแหล่งเงินสำคัญสำหรับทั้งรัฐบาลทหารและกลุ่มกบฎ แต่ 70% ของประชากรในพื้นที่ยังพึ่งพาการเกษตรที่ได้รับความเสียหาย ขณะที่ค่าแรงงานในเหมืองสูงถึง 600 ดอลลาร์สหรัฐ/เดือน (สูงกว่าเฉลี่ยประเทศ 2 เท่า) แต่มีความเสี่ยงด้านสุขภาพ โรคปอด ปัญหาหายใจลำบาก โรคผิวหนัง และไตวายจากสารเคมี เช่น แอมโมเนียมซัลเฟตและออกซาลิกแอซิด
    ไม่รวมถึงมลพิษน้ำ 96% ของครัวเรือนในเขต Chipwi ไม่มีน้ำดื่มสะอาดเนื่องจากสารเคมีปนเปื้อน ดวงตาสวรรค์ได้ส่องพื้นที่การขยายตัวของเหมืองกว่า 40% ใน Kachin Special Region 1 และ Momauk ระหว่างปี 2021-2023 ที่สลายระบบนิเวศในพื้นที่ยากจะทวงคืนสภาพเดิมกลับมาในอนาคต
    อีกแร่ธาตุหนึ่งคือเหล็กที่เมียนมาร์ เป็นเบอร์หนึ่งของโลก ที่แหล่ง Pong Pet ซึ่งอยู่ห่างจาก Taunggyi ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เป็นระยะทาง 10 กิโลเมตร ปรากฏเป็นแหล่งเฮมาไทต์ (Hematite) และยังพบแหล่งแร่เหล็ก 393 แหล่ง ปริมาณสารองทรัพยากรแร่ประมาณ 495 ล้านตัน และพบแหล่งแร่เหล็กที่มีศักยภาพ 14 แหล่ง ในรัฐ Kachin, Mandalay, Bago, Tanintharyi และรัฐShan ได้แก่ แหล่งแร่เหล็กสำคัญพบที่รัฐ Tanintharyi บริเวณตอนเหนือของรัฐ Shan
    โดยในรัฐคะฉิ่น คือศูนย์รวมแร่ธาตุความมั่งคั่งสมบูรณ์อุตสาหกรรมเหมืองแร่ นอกจากหยกแล้วยังมีแหล่งแร่เหล็กในรัฐ Kachin มีปริมาณสารองประมาณ 223 ล้านตันที่ 50.56%Fe องค์ประกอบหลักของแร่ คือ Goethite/Limonite 75%, Hematite 15% และ Magnetite 2%
    แน่นอนเมียนมาร์เป็นผู้ผลิตหยกรายใหญ่ที่สุดในโลก และเป็นหนึ่งในประเทศเดียวที่ผลิตหยกเจไดต์คุณภาพสูง อุตสาหกรรมหยกมีมูลค่าประมาณ 3 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งมากกว่าครึ่งหนึ่งของ GDP ของประเทศ โดยเมืองผะกัน (Hpakan) เป็นที่ตั้งของเหมืองหยกที่ใหญ่ที่สุดในโลก เมืองที่มีข่าวของเหมืองถล่ม ดินโคลนโถมทับหมู่บ้านถี่มากและต้นปี 2568 ก็ได้เกิดเหตุการณ์โศกนาฎกรรมที่ซ้ำซาก สูญเสียชีวิตของผู้คนไปอย่างมาก
    Global Witness ประเมินไว้ว่ารายได้จากหยกได้เข้าพกเข้าห่อของผู้นำของเมียนมาไปแล้วราว 120,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ตลอดระยะเวลาสิบปีที่ผ่านมา
    หากประมวลประเทศที่มีบริษัทลงทุนในเหมืองแร่ในภาพรวมในเมียนมาร์ ได้แก่
    1.) จีน: เป็นนักลงทุนรายใหญ่ที่สุดในอุตสาหกรรมเหมืองแร่เมียนมาร์ โดยเฉพาะในเหมืองทองแดง (เช่น โครงการ Letpadaung, S&K, Tagaung Taung) และแร่หายาก มีทั้งบริษัทขนาดใหญ่ของรัฐ เช่น China Nonferrous Metal Mining (CNMC), Wanbao Mining Co., Ltd. รวมถึงนักลงทุนรายย่อยจากมณฑลยูนนานและเสฉวน
    2.) ไทย: มีบริษัท Myanmar-Pongpipat Co., Ltd. ร่วมลงทุนในเหมืองดีบุกและโลหะอื่น
    3.) เวียดนาม: บริษัท Simco Songda มีการลงทุนในเหมืองแร่ร่วมกับเมียนมาร์
    4.) ออสเตรเลีย: บริษัท PanAust ได้รับอนุญาตให้ศึกษาความเป็นไปได้ในพื้นที่เหมือง Wuntho
    5.) ญี่ปุ่น: มีบริษัทญี่ปุ่นบางแห่งยื่นขออนุญาตลงทุนในเหมืองแร่เมียนมาร์
    6.) สิงคโปร์: แม้จะเน้นลงทุนในภาคอสังหาริมทรัพย์และพลังงาน แต่ก็มีการลงทุนในเหมืองแร่บางส่วน
    7.) มาเลเซีย, เกาหลีใต้, เนเธอร์แลนด์, สหราชอาณาจักร: มีการลงทุนในเมียนมาร์ในหลายภาคส่วน รวมถึงเหมืองแร่ในบางโครงการ
    ในส่วนแร่ทองคำ Blood Gold บริบทไม่แตกต่างจากพื้นที่คะฉิ่น แต่รายงานจาก EarthRights International (2567) ระบุว่าในรัฐกะฉิ่นมีการขุดทองคำเพิ่มขึ้นอย่างมาก โดยมีจุดขุดนับร้อยแห่ง ส่วนใหญ่เป็นการขุดขนาดเล็กและใช้เครื่องจักรหนัก
    ผู้สัมปทาน ก่อนการรัฐประหาร (2564): เหมืองทองคำขนาดใหญ่บางแห่ง เช่น ในเขตเบ็งเมาก์ (Bemauk), กานิ (Kani), และเคาก์ปาดอง (Kyaukpadaung) ดำเนินการโดยบริษัทร่วมทุนระหว่างกองทัพเมียนมาร์และบริษัทต่างชาติ เช่น บริษัทจากจีนและไทย อย่างไรก็ตาม ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัทเฉพาะเจาะจงในปัจจุบันหายาก
    พื้นที่การขุดทองคำในรัฐกะฉิ่นส่วนใหญ่ควบคุมโดย Kachin Independence Army (KIA) และกลุ่มชาติพันธุ์อื่น ๆ ซึ่งเก็บค่าธรรมเนียมจากบริษัทหรือนักขุดท้องถิ่น บริษัทจีน มีรายงานว่าได้รับสัมปทานในพื้นที่ เช่น บริเวณแม่น้ำโขงและแม่น้ำกก โดยได้รับการอนุมัติจาก United Wa State Army (UWSA) บริษัทท้องถิ่นและกองทัพเมียนมาร์: Myanmar Economic Holdings Limited (MEHL) และ Myanmar Economic Corporation (MEC) ยังคงมีส่วนในเหมืองบางแห่ง
    ตั้งแต่ปี 2563 เป็นต้นมา ไม่มีการออกใบอนุญาตขุดอย่างเป็นทางการในหลายพื้นที่ เช่น Hpakant แต่การขุดยังดำเนินต่อไปโดยผิดกฎหมาย
    ปัจจุบันหลังจาก การรัฐประหารในปี 2564 ทำให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจและกฎหมาย ส่งผลให้การขุดทองคำเพิ่มขึ้นอย่างไม่มีการควบคุม โดยเฉพาะในรัฐกะฉิ่นและสะกาย เพิ่มขึ้น 10 เท่าหลังการรัฐประหาร ซึ่งเป็นแหล่งทองคำสำคัญ เรียกว่าเกิดการขุดแบบทำลายล้าง ใช้เครื่องจักรกลหนักและการขุดในแม่น้ำในพื้นที่ และลุกลามขยายยังพื้นที่ลุ่มแม่น้ำโขง แม่น้ำกก และแม่น้ำสายใกล้ชายแดนไทย
    แน่นอนความระส่ำระสายในพื้นที่คือการกอบโกยความมั่งคั่งในพื้นที่ที่ไม่ได้มองไกลถึงอนาคตว่าผลกระทบของผู้คน ประชาชนจะเป็นอย่างไร ระยะเวลาการฟื้นตัวความอ่อนเปียกของรัฐชาติที่ถูกสูบทรัพยากรที่มีความมั่งคั่งออกไปอย่างไร้ข้อจำกัด โดยมีอำนาจภายในควบคุม กองทัพเมียนมาร์ ควบคุมเหมืองขนาดใหญ่บางแห่งเพื่อหารายได้ กลุ่มชาติพันธุ์ เช่น KIA เก็บส่วนแบ่งจากเหมืองในพื้นที่ของตน บริษัทต่างชาติ โดยเฉพาะจากจีน มีบทบาทในพื้นที่รัฐที่อุดมด้วยแร่ธาตุโดยเฉพาะฉาน และพื้นที่ลุ่มแม่น้ำโขงที่สัญญาณได้ส่งผลแล้วกรณีที่แม่สาย ลุ่มแม่น้ำกก เชียงราย ที่ต้องเกาะติดอย่างใกล้ชิด


    อ้างอิง :
    • โครงการ การส่งเสริมการจัดหาวัตถุดิบและการลงทุนด้านเหมืองแร่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    https://www.bbc.com/thai/international-53264790
    • EarthRights International, Global Witness
    Blood Gold เจาะขุมทรัพย์ใต้ภิภพเมียนมาร์ความมั่งคั่งที่มืดมนอนธการ . ใต้ภิภพเมียนมาร์ นับเป็นรัฐที่มีทรัพยากรมูลค่าสูงฝังอยู่มหาศาล ที่สามารถแปลงเป็นสินทรัพย์ในการพัฒนาประเทศได้อันดับต้น ๆ ของอาเซียน ทว่า รัฐสภาพแห่งนี้เหมือนถูกครอบงำ และตกอยู่ภายใต้ความลำบาก ความขัดแย้งไม่ลงรอย ในประวัติศาสตร์การเมืองที่ส่งผลต่อเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศโดยตรง รอยเลื่อนสะกาย (Sagaing Fault) “ยักษ์หลับแห่งเมียนมา” ที่ใหญ่และสำคัญที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ตื่นขึ้น 28 มีนาคม 2568 ที่ ขนาด 8.2 แมกนิจูด ได้ส่งพลังพาดผ่านเมืองหลวงสำคัญของพม่า ตั้งแต่มัณฑะเลย์ เนปิดอว์ ย่างกุ้ง ดูเหมือนว่าเมืองแห่งอารยธรรมและศูนย์กลางอำนาจ ตั้งอยู่บนหลังมังกรที่หลับ ขยับทีก็ทำให้เมืองศูนย์กลางสำคัญได้ได้ผลกระทบสูงการฟื้นตัวครั้งแล้วครั้งเล่าเหมือนสถานการณ์เริ่มต้นใหม่หลายรอบ หมุนวน โครงสร้างทางธรณีวิทยาของเมียนมาร์ค่อนข้างซับซ้อน ภูมิสัณฐานและธรณีโครงสร้างได้เป็น 4 ส่วนใหญ่ๆ คือพื้นที่ราบสูงตะวันออก (Sino Burman Ranges) พื้นที่ลุ่มต่ำตอนกลาง (Inner Burman Tertiary Zone) ดินแดนเทือกเขาตะวันตก (Indo Burman Ranges) และ ที่ราบฝั่งยะไข่ - คะฉิ่น Rakhine (Arakan) Coastal Plain ชั้นหินที่มีอายุอ่อนที่สุดจะอยู่ใน พื้นที่ลุ่มต่ำตอนกลาง ไล่ถัดไปทางด้านตะวันตกของประเทศ จะเป็นชั้นหินที่มีอายุแก่ขึ้นเรื่อยๆ ไปจนถึงที่ราบแถบยะไข่ ด้านตะวันออกของประเทศ ส่วนของ Sino Burman เป็นชั้นหินที่มีอายุแก่ที่สุด มีรอยเลื่อนรัฐฉาน แนวรอยต่อเชื่อมรอยเลื่อนสะกาย อุตสาหกรรมเหมืองแร่ในเมียนมาร์ มีบทบาทสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะในช่วงหลังรัฐประหารปี 2021 ซึ่งมีการขยายตัวของการทำเหมืองแร่หายาก (Rare Earth Elements: REEs) อย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตาม การเติบโตนี้มาพร้อมกับผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ซับซ้อน มีมูลค่าสูงถึง 1.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในปี 2023 นับว่าแร่หายากกลุ่มหนัก heavy rare earth elements: HREE คิดเป็นสัดส่วนหลักของมูลค่าการส่งออกของเมียนมาร์ โดยส่วนใหญ่ส่งไปจีนเพื่อผลิตแม่เหล็กถาวรสำหรับรถไฟฟ้าและกังหันลมการส่งออก อัตราเติบโตเพิ่มขึ้นกว่า 2 เท่าในปี 2023 เมื่อเทียบกับปี 2021 จาก 19,500 ตัน เป็น 41,700 ตัน แน่นอนแร่หายากกลุ่ม China Rare Earths Group (REGCC) เป็นผู้ลงทุนหลัก ควบคุมทั้งเทคโนโลยี การประมวลผล และห่วงโซ่อุปทาน ภายใต้การดูแลพื้นที่ของกองทัพเมียนมาร์ (SAC) และมิลิเชียพันธมิตรควบคุมพื้นที่พิเศษ Kachin 1 และกองกำลัง Kachin Independence Army (KIA) ควบคุมพื้นที่ Momauk และแนวชายแดน แร่หายากเป็นแหล่งเงินสำคัญสำหรับทั้งรัฐบาลทหารและกลุ่มกบฎ แต่ 70% ของประชากรในพื้นที่ยังพึ่งพาการเกษตรที่ได้รับความเสียหาย ขณะที่ค่าแรงงานในเหมืองสูงถึง 600 ดอลลาร์สหรัฐ/เดือน (สูงกว่าเฉลี่ยประเทศ 2 เท่า) แต่มีความเสี่ยงด้านสุขภาพ โรคปอด ปัญหาหายใจลำบาก โรคผิวหนัง และไตวายจากสารเคมี เช่น แอมโมเนียมซัลเฟตและออกซาลิกแอซิด ไม่รวมถึงมลพิษน้ำ 96% ของครัวเรือนในเขต Chipwi ไม่มีน้ำดื่มสะอาดเนื่องจากสารเคมีปนเปื้อน ดวงตาสวรรค์ได้ส่องพื้นที่การขยายตัวของเหมืองกว่า 40% ใน Kachin Special Region 1 และ Momauk ระหว่างปี 2021-2023 ที่สลายระบบนิเวศในพื้นที่ยากจะทวงคืนสภาพเดิมกลับมาในอนาคต อีกแร่ธาตุหนึ่งคือเหล็กที่เมียนมาร์ เป็นเบอร์หนึ่งของโลก ที่แหล่ง Pong Pet ซึ่งอยู่ห่างจาก Taunggyi ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เป็นระยะทาง 10 กิโลเมตร ปรากฏเป็นแหล่งเฮมาไทต์ (Hematite) และยังพบแหล่งแร่เหล็ก 393 แหล่ง ปริมาณสารองทรัพยากรแร่ประมาณ 495 ล้านตัน และพบแหล่งแร่เหล็กที่มีศักยภาพ 14 แหล่ง ในรัฐ Kachin, Mandalay, Bago, Tanintharyi และรัฐShan ได้แก่ แหล่งแร่เหล็กสำคัญพบที่รัฐ Tanintharyi บริเวณตอนเหนือของรัฐ Shan โดยในรัฐคะฉิ่น คือศูนย์รวมแร่ธาตุความมั่งคั่งสมบูรณ์อุตสาหกรรมเหมืองแร่ นอกจากหยกแล้วยังมีแหล่งแร่เหล็กในรัฐ Kachin มีปริมาณสารองประมาณ 223 ล้านตันที่ 50.56%Fe องค์ประกอบหลักของแร่ คือ Goethite/Limonite 75%, Hematite 15% และ Magnetite 2% แน่นอนเมียนมาร์เป็นผู้ผลิตหยกรายใหญ่ที่สุดในโลก และเป็นหนึ่งในประเทศเดียวที่ผลิตหยกเจไดต์คุณภาพสูง อุตสาหกรรมหยกมีมูลค่าประมาณ 3 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งมากกว่าครึ่งหนึ่งของ GDP ของประเทศ โดยเมืองผะกัน (Hpakan) เป็นที่ตั้งของเหมืองหยกที่ใหญ่ที่สุดในโลก เมืองที่มีข่าวของเหมืองถล่ม ดินโคลนโถมทับหมู่บ้านถี่มากและต้นปี 2568 ก็ได้เกิดเหตุการณ์โศกนาฎกรรมที่ซ้ำซาก สูญเสียชีวิตของผู้คนไปอย่างมาก Global Witness ประเมินไว้ว่ารายได้จากหยกได้เข้าพกเข้าห่อของผู้นำของเมียนมาไปแล้วราว 120,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ตลอดระยะเวลาสิบปีที่ผ่านมา หากประมวลประเทศที่มีบริษัทลงทุนในเหมืองแร่ในภาพรวมในเมียนมาร์ ได้แก่ 1.) จีน: เป็นนักลงทุนรายใหญ่ที่สุดในอุตสาหกรรมเหมืองแร่เมียนมาร์ โดยเฉพาะในเหมืองทองแดง (เช่น โครงการ Letpadaung, S&K, Tagaung Taung) และแร่หายาก มีทั้งบริษัทขนาดใหญ่ของรัฐ เช่น China Nonferrous Metal Mining (CNMC), Wanbao Mining Co., Ltd. รวมถึงนักลงทุนรายย่อยจากมณฑลยูนนานและเสฉวน 2.) ไทย: มีบริษัท Myanmar-Pongpipat Co., Ltd. ร่วมลงทุนในเหมืองดีบุกและโลหะอื่น 3.) เวียดนาม: บริษัท Simco Songda มีการลงทุนในเหมืองแร่ร่วมกับเมียนมาร์ 4.) ออสเตรเลีย: บริษัท PanAust ได้รับอนุญาตให้ศึกษาความเป็นไปได้ในพื้นที่เหมือง Wuntho 5.) ญี่ปุ่น: มีบริษัทญี่ปุ่นบางแห่งยื่นขออนุญาตลงทุนในเหมืองแร่เมียนมาร์ 6.) สิงคโปร์: แม้จะเน้นลงทุนในภาคอสังหาริมทรัพย์และพลังงาน แต่ก็มีการลงทุนในเหมืองแร่บางส่วน 7.) มาเลเซีย, เกาหลีใต้, เนเธอร์แลนด์, สหราชอาณาจักร: มีการลงทุนในเมียนมาร์ในหลายภาคส่วน รวมถึงเหมืองแร่ในบางโครงการ ในส่วนแร่ทองคำ Blood Gold บริบทไม่แตกต่างจากพื้นที่คะฉิ่น แต่รายงานจาก EarthRights International (2567) ระบุว่าในรัฐกะฉิ่นมีการขุดทองคำเพิ่มขึ้นอย่างมาก โดยมีจุดขุดนับร้อยแห่ง ส่วนใหญ่เป็นการขุดขนาดเล็กและใช้เครื่องจักรหนัก ผู้สัมปทาน ก่อนการรัฐประหาร (2564): เหมืองทองคำขนาดใหญ่บางแห่ง เช่น ในเขตเบ็งเมาก์ (Bemauk), กานิ (Kani), และเคาก์ปาดอง (Kyaukpadaung) ดำเนินการโดยบริษัทร่วมทุนระหว่างกองทัพเมียนมาร์และบริษัทต่างชาติ เช่น บริษัทจากจีนและไทย อย่างไรก็ตาม ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัทเฉพาะเจาะจงในปัจจุบันหายาก พื้นที่การขุดทองคำในรัฐกะฉิ่นส่วนใหญ่ควบคุมโดย Kachin Independence Army (KIA) และกลุ่มชาติพันธุ์อื่น ๆ ซึ่งเก็บค่าธรรมเนียมจากบริษัทหรือนักขุดท้องถิ่น บริษัทจีน มีรายงานว่าได้รับสัมปทานในพื้นที่ เช่น บริเวณแม่น้ำโขงและแม่น้ำกก โดยได้รับการอนุมัติจาก United Wa State Army (UWSA) บริษัทท้องถิ่นและกองทัพเมียนมาร์: Myanmar Economic Holdings Limited (MEHL) และ Myanmar Economic Corporation (MEC) ยังคงมีส่วนในเหมืองบางแห่ง ตั้งแต่ปี 2563 เป็นต้นมา ไม่มีการออกใบอนุญาตขุดอย่างเป็นทางการในหลายพื้นที่ เช่น Hpakant แต่การขุดยังดำเนินต่อไปโดยผิดกฎหมาย ปัจจุบันหลังจาก การรัฐประหารในปี 2564 ทำให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจและกฎหมาย ส่งผลให้การขุดทองคำเพิ่มขึ้นอย่างไม่มีการควบคุม โดยเฉพาะในรัฐกะฉิ่นและสะกาย เพิ่มขึ้น 10 เท่าหลังการรัฐประหาร ซึ่งเป็นแหล่งทองคำสำคัญ เรียกว่าเกิดการขุดแบบทำลายล้าง ใช้เครื่องจักรกลหนักและการขุดในแม่น้ำในพื้นที่ และลุกลามขยายยังพื้นที่ลุ่มแม่น้ำโขง แม่น้ำกก และแม่น้ำสายใกล้ชายแดนไทย แน่นอนความระส่ำระสายในพื้นที่คือการกอบโกยความมั่งคั่งในพื้นที่ที่ไม่ได้มองไกลถึงอนาคตว่าผลกระทบของผู้คน ประชาชนจะเป็นอย่างไร ระยะเวลาการฟื้นตัวความอ่อนเปียกของรัฐชาติที่ถูกสูบทรัพยากรที่มีความมั่งคั่งออกไปอย่างไร้ข้อจำกัด โดยมีอำนาจภายในควบคุม กองทัพเมียนมาร์ ควบคุมเหมืองขนาดใหญ่บางแห่งเพื่อหารายได้ กลุ่มชาติพันธุ์ เช่น KIA เก็บส่วนแบ่งจากเหมืองในพื้นที่ของตน บริษัทต่างชาติ โดยเฉพาะจากจีน มีบทบาทในพื้นที่รัฐที่อุดมด้วยแร่ธาตุโดยเฉพาะฉาน และพื้นที่ลุ่มแม่น้ำโขงที่สัญญาณได้ส่งผลแล้วกรณีที่แม่สาย ลุ่มแม่น้ำกก เชียงราย ที่ต้องเกาะติดอย่างใกล้ชิด อ้างอิง : • โครงการ การส่งเสริมการจัดหาวัตถุดิบและการลงทุนด้านเหมืองแร่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • https://www.bbc.com/thai/international-53264790 • EarthRights International, Global Witness
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 261 มุมมอง 0 รีวิว
  • Microsoft ได้ลงนามในข้อตกลง การกำจัดคาร์บอน ครั้งใหญ่ โดยจะซื้อ เครดิตการกำจัดคาร์บอน 3.685 ล้านตัน จากบริษัท CO280 ภายในระยะเวลา 12 ปี ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเป้าหมายในการทำให้บริษัทมี คาร์บอนเป็นลบภายในปี 2030

    ✅ Microsoft ลงนามข้อตกลงกำจัดคาร์บอน 3.685 ล้านตัน
    - โครงการจะเริ่มต้นในปี 2028 และดำเนินการเป็นเวลา 12 ปี
    - คาร์บอนจะถูกดักจับจาก โรงงานผลิตเยื่อกระดาษและกระดาษ บริเวณ Gulf Coast
    - คาร์บอนที่ถูกดักจับจะถูก เก็บรักษาอย่างถาวรในชั้นหินเกลือใต้ดิน

    ✅ เทคโนโลยีที่ใช้ในการกำจัดคาร์บอน
    - ใช้ เทคโนโลยีดักจับคาร์บอนแบบอะมีน (Amine-based capture technology)
    - ระบบนี้ช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากอุตสาหกรรมกระดาษ

    ✅ เป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อมของ Microsoft
    - Microsoft ตั้งเป้าหมายเป็น คาร์บอนเป็นลบภายในปี 2030
    - บริษัทต้องการกำจัด การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมดตั้งแต่ก่อตั้งในปี 1975

    ✅ โครงการกำจัดคาร์บอนอื่นๆ ของ Microsoft
    - ซื้อเครดิต 1.5 ล้านตัน ผ่านโครงการปลูกป่าในอินเดีย
    - ซื้อเครดิต 1.6 ล้านตัน ในปานามาภายใน 30 ปี
    - ลงทุนในโครงการ Chestnut Carbon ที่นิวยอร์กเพื่อกำจัดคาร์บอน 7 ล้านตัน ภายใน 25 ปี

    ⚠️ ข้อควรระวังและประเด็นที่ต้องติดตาม
    ℹ️ ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมเทคโนโลยี
    - ความต้องการพลังงานของ ศูนย์ข้อมูล AI ทำให้การปล่อยก๊าซเรือนกระจกของ Microsoft เพิ่มขึ้น
    - ในปี 2023 Microsoft ปล่อยก๊าซเรือนกระจก 17.2 ล้านตัน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้า

    ℹ️ ความท้าทายในการกำจัดคาร์บอน
    - แม้จะมีโครงการกำจัดคาร์บอน แต่ยังไม่แน่ชัดว่า Microsoft จะสามารถบรรลุเป้าหมาย คาร์บอนเป็นลบภายในปี 2030 ได้หรือไม่
    - เทคโนโลยีดักจับคาร์บอนยังต้องการการพัฒนาเพิ่มเติมเพื่อให้มีประสิทธิภาพสูงสุด

    ℹ️ แนวโน้มของอุตสาหกรรมกำจัดคาร์บอน
    - บริษัทเทคโนโลยีอื่นๆ เช่น Amazon และ Google กำลังลงทุนในโครงการกำจัดคาร์บอนเช่นกัน
    - อาจมีการพัฒนา เทคโนโลยีใหม่ เพื่อช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากศูนย์ข้อมูล

    https://www.techradar.com/pro/microsoft-signs-a-major-new-carbon-removal-deal-that-might-be-powered-by-paper
    Microsoft ได้ลงนามในข้อตกลง การกำจัดคาร์บอน ครั้งใหญ่ โดยจะซื้อ เครดิตการกำจัดคาร์บอน 3.685 ล้านตัน จากบริษัท CO280 ภายในระยะเวลา 12 ปี ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเป้าหมายในการทำให้บริษัทมี คาร์บอนเป็นลบภายในปี 2030 ✅ Microsoft ลงนามข้อตกลงกำจัดคาร์บอน 3.685 ล้านตัน - โครงการจะเริ่มต้นในปี 2028 และดำเนินการเป็นเวลา 12 ปี - คาร์บอนจะถูกดักจับจาก โรงงานผลิตเยื่อกระดาษและกระดาษ บริเวณ Gulf Coast - คาร์บอนที่ถูกดักจับจะถูก เก็บรักษาอย่างถาวรในชั้นหินเกลือใต้ดิน ✅ เทคโนโลยีที่ใช้ในการกำจัดคาร์บอน - ใช้ เทคโนโลยีดักจับคาร์บอนแบบอะมีน (Amine-based capture technology) - ระบบนี้ช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากอุตสาหกรรมกระดาษ ✅ เป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อมของ Microsoft - Microsoft ตั้งเป้าหมายเป็น คาร์บอนเป็นลบภายในปี 2030 - บริษัทต้องการกำจัด การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมดตั้งแต่ก่อตั้งในปี 1975 ✅ โครงการกำจัดคาร์บอนอื่นๆ ของ Microsoft - ซื้อเครดิต 1.5 ล้านตัน ผ่านโครงการปลูกป่าในอินเดีย - ซื้อเครดิต 1.6 ล้านตัน ในปานามาภายใน 30 ปี - ลงทุนในโครงการ Chestnut Carbon ที่นิวยอร์กเพื่อกำจัดคาร์บอน 7 ล้านตัน ภายใน 25 ปี ⚠️ ข้อควรระวังและประเด็นที่ต้องติดตาม ℹ️ ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมเทคโนโลยี - ความต้องการพลังงานของ ศูนย์ข้อมูล AI ทำให้การปล่อยก๊าซเรือนกระจกของ Microsoft เพิ่มขึ้น - ในปี 2023 Microsoft ปล่อยก๊าซเรือนกระจก 17.2 ล้านตัน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้า ℹ️ ความท้าทายในการกำจัดคาร์บอน - แม้จะมีโครงการกำจัดคาร์บอน แต่ยังไม่แน่ชัดว่า Microsoft จะสามารถบรรลุเป้าหมาย คาร์บอนเป็นลบภายในปี 2030 ได้หรือไม่ - เทคโนโลยีดักจับคาร์บอนยังต้องการการพัฒนาเพิ่มเติมเพื่อให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ℹ️ แนวโน้มของอุตสาหกรรมกำจัดคาร์บอน - บริษัทเทคโนโลยีอื่นๆ เช่น Amazon และ Google กำลังลงทุนในโครงการกำจัดคาร์บอนเช่นกัน - อาจมีการพัฒนา เทคโนโลยีใหม่ เพื่อช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากศูนย์ข้อมูล https://www.techradar.com/pro/microsoft-signs-a-major-new-carbon-removal-deal-that-might-be-powered-by-paper
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 89 มุมมอง 0 รีวิว
  • AMD กำลังเตรียมเปิดตัว Radeon RX 9060 XT ซึ่งเป็นกราฟิกการ์ดรุ่นใหม่ที่ใช้สถาปัตยกรรม RDNA 4 โดยมีข่าวลือว่าการ์ดรุ่นนี้สามารถ เพิ่มความเร็วสัญญาณนาฬิกาได้สูงสุดถึง 3.3 GHz และอาจเปิดตัวในงาน Computex 2025

    ✅ สเปคและประสิทธิภาพของ RX 9060 XT
    - ใช้ชิป Navi 44 XT ซึ่งเป็นรุ่นลดสเปคจาก Navi 48
    - มี 2048 Stream Processors ซึ่งเป็นครึ่งหนึ่งของ Navi 48
    - ความเร็วสัญญาณนาฬิกา Game Clock อยู่ที่ 2620 MHz และ Boost Clock สูงสุด 3230 MHz
    - รุ่นที่โอเวอร์คล็อกอาจสามารถเพิ่มความเร็วได้ถึง 3.3 GHz

    ✅ การเปรียบเทียบกับคู่แข่ง
    - คาดว่า RX 9060 XT จะถูกออกแบบมาเพื่อแข่งขันกับ NVIDIA GeForce RTX 5060 Ti
    - อาจมีประสิทธิภาพใกล้เคียงกับ RTX 4070 Non-SUPER ในบางสถานการณ์

    ✅ ข้อกำหนดด้านพลังงาน
    - ต้องใช้ Power Supply ขั้นต่ำ 500W และอาจต้องใช้ 550W สำหรับรุ่นที่โอเวอร์คล็อก
    - ใช้ 8-pin power connectors เป็นมาตรฐาน

    ⚠️ ข้อควรระวังและประเด็นที่ต้องติดตาม
    ℹ️ ผลกระทบต่อการตลาดของ AMD
    - หากราคาสูงเกินไป อาจทำให้ RX 9060 XT สูญเสียความได้เปรียบด้านความคุ้มค่า
    - ต้องจับตาว่า AMD จะตั้งราคาที่แข่งขันได้หรือไม่

    ℹ️ ความท้าทายด้านการผลิต
    - การใช้ชิป Navi 44 XT อาจหมายถึงการนำชิปที่มีข้อบกพร่องจาก RX 9070 มาใช้ใหม่
    - ต้องดูว่า AMD จะสามารถรักษาคุณภาพและประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ได้ดีแค่ไหน

    ℹ️ แนวโน้มของตลาด GPU ในปี 2025
    - NVIDIA และ AMD ต่างกำลังแข่งขันกันในตลาดกราฟิกการ์ดระดับกลาง
    - อาจมีการเปิดตัวเทคโนโลยีใหม่ เช่น FSR 4 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเล่นเกม

    https://www.techpowerup.com/335455/amd-radeon-rx-9060-xt-reportedly-capable-of-boosting-up-to-3-3-ghz-new-leak-suggests-navi-44-xt-gpu
    AMD กำลังเตรียมเปิดตัว Radeon RX 9060 XT ซึ่งเป็นกราฟิกการ์ดรุ่นใหม่ที่ใช้สถาปัตยกรรม RDNA 4 โดยมีข่าวลือว่าการ์ดรุ่นนี้สามารถ เพิ่มความเร็วสัญญาณนาฬิกาได้สูงสุดถึง 3.3 GHz และอาจเปิดตัวในงาน Computex 2025 ✅ สเปคและประสิทธิภาพของ RX 9060 XT - ใช้ชิป Navi 44 XT ซึ่งเป็นรุ่นลดสเปคจาก Navi 48 - มี 2048 Stream Processors ซึ่งเป็นครึ่งหนึ่งของ Navi 48 - ความเร็วสัญญาณนาฬิกา Game Clock อยู่ที่ 2620 MHz และ Boost Clock สูงสุด 3230 MHz - รุ่นที่โอเวอร์คล็อกอาจสามารถเพิ่มความเร็วได้ถึง 3.3 GHz ✅ การเปรียบเทียบกับคู่แข่ง - คาดว่า RX 9060 XT จะถูกออกแบบมาเพื่อแข่งขันกับ NVIDIA GeForce RTX 5060 Ti - อาจมีประสิทธิภาพใกล้เคียงกับ RTX 4070 Non-SUPER ในบางสถานการณ์ ✅ ข้อกำหนดด้านพลังงาน - ต้องใช้ Power Supply ขั้นต่ำ 500W และอาจต้องใช้ 550W สำหรับรุ่นที่โอเวอร์คล็อก - ใช้ 8-pin power connectors เป็นมาตรฐาน ⚠️ ข้อควรระวังและประเด็นที่ต้องติดตาม ℹ️ ผลกระทบต่อการตลาดของ AMD - หากราคาสูงเกินไป อาจทำให้ RX 9060 XT สูญเสียความได้เปรียบด้านความคุ้มค่า - ต้องจับตาว่า AMD จะตั้งราคาที่แข่งขันได้หรือไม่ ℹ️ ความท้าทายด้านการผลิต - การใช้ชิป Navi 44 XT อาจหมายถึงการนำชิปที่มีข้อบกพร่องจาก RX 9070 มาใช้ใหม่ - ต้องดูว่า AMD จะสามารถรักษาคุณภาพและประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ได้ดีแค่ไหน ℹ️ แนวโน้มของตลาด GPU ในปี 2025 - NVIDIA และ AMD ต่างกำลังแข่งขันกันในตลาดกราฟิกการ์ดระดับกลาง - อาจมีการเปิดตัวเทคโนโลยีใหม่ เช่น FSR 4 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเล่นเกม https://www.techpowerup.com/335455/amd-radeon-rx-9060-xt-reportedly-capable-of-boosting-up-to-3-3-ghz-new-leak-suggests-navi-44-xt-gpu
    WWW.TECHPOWERUP.COM
    AMD Radeon RX 9060 XT Reportedly Capable of Boosting Up To 3.3 GHz, New Leak Suggests "Navi 44 XT" GPU
    AMD has not publicly announced its Radeon RX 9060 XT 16 GB and 8 GB graphics cards, but board partners have inadvertently "revealed" the existence of forthcoming custom designs. Team Red's RDNA 4 kick-off events did tease a second quarter launch of a Radeon RX 9060 Series cards, but have remained co...
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 104 มุมมอง 0 รีวิว
  • AMD ได้เปิดตัว EPYC 'Venice' ซึ่งเป็น ชิป 2nm ตัวแรกของอุตสาหกรรม HPC โดยใช้กระบวนการผลิต TSMC N2 นอกจากนี้ AMD ยังประกาศว่าชิป EPYC รุ่นปัจจุบันบางส่วนจะถูกผลิตในสหรัฐฯ ที่โรงงาน TSMC Fab 21 ในรัฐแอริโซนา

    ✅ EPYC 'Venice': ชิป 2nm ตัวแรกของอุตสาหกรรม HPC
    - ใช้สถาปัตยกรรม Zen 6 และคาดว่าจะเปิดตัวในปี 2026
    - เป็นชิป HPC ตัวแรกที่ใช้ TSMC N2 ซึ่งเป็นกระบวนการผลิต 2nm-class
    - ผ่านการทดสอบเบื้องต้นแล้ว และสามารถเปิดใช้งานได้สำเร็จ

    ✅ เทคโนโลยี TSMC N2 และข้อดีของกระบวนการผลิต
    - ใช้ Gate-All-Around (GAA) nanosheet transistors ซึ่งช่วยลดการใช้พลังงานลง 24-35% หรือเพิ่มประสิทธิภาพขึ้น 15%
    - มีความหนาแน่นของทรานซิสเตอร์เพิ่มขึ้น 1.15 เท่า เมื่อเทียบกับ N3 (3nm-class)

    ✅ การผลิตชิป EPYC ในสหรัฐฯ
    - AMD ประกาศว่าชิป EPYC รุ่นที่ 5 จะถูกผลิตที่ TSMC Fab 21 ในรัฐแอริโซนา
    - เป็นการกระจายการผลิตเพื่อเพิ่มความมั่นคงของห่วงโซ่อุปทาน

    ⚠️ ข้อควรระวังและประเด็นที่ต้องติดตาม
    ℹ️ ผลกระทบต่อการแข่งขันในตลาด HPC
    - Intel กำลังพัฒนา Xeon 'Clearwater Forest' บนกระบวนการ Intel 18A ซึ่งเป็นคู่แข่งโดยตรงของ EPYC 'Venice'
    - ต้องติดตามว่า AMD จะสามารถรักษาความเป็นผู้นำในตลาด HPC ได้หรือไม่

    ℹ️ ความท้าทายของกระบวนการผลิต 2nm
    - แม้ TSMC N2 จะมีข้อดีด้านประสิทธิภาพ แต่การผลิตชิปที่ขนาดเล็กลงอาจมีความท้าทายด้าน yield และต้นทุน
    - ต้องจับตาว่า AMD จะสามารถผลิตชิปในปริมาณมากได้ตามแผนหรือไม่

    ℹ️ แนวโน้มของอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์
    - การแข่งขันระหว่าง Intel, AMD และ TSMC อาจส่งผลต่อการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ
    - อาจมีการเปลี่ยนแปลงในห่วงโซ่อุปทาน หากสหรัฐฯ ผลักดันให้มีการผลิตชิปภายในประเทศมากขึ้น

    https://www.tomshardware.com/pc-components/cpus/amds-first-2nm-chip-is-out-of-the-fab-epyc-venice-fabbed-on-tsmc-n2-node
    AMD ได้เปิดตัว EPYC 'Venice' ซึ่งเป็น ชิป 2nm ตัวแรกของอุตสาหกรรม HPC โดยใช้กระบวนการผลิต TSMC N2 นอกจากนี้ AMD ยังประกาศว่าชิป EPYC รุ่นปัจจุบันบางส่วนจะถูกผลิตในสหรัฐฯ ที่โรงงาน TSMC Fab 21 ในรัฐแอริโซนา ✅ EPYC 'Venice': ชิป 2nm ตัวแรกของอุตสาหกรรม HPC - ใช้สถาปัตยกรรม Zen 6 และคาดว่าจะเปิดตัวในปี 2026 - เป็นชิป HPC ตัวแรกที่ใช้ TSMC N2 ซึ่งเป็นกระบวนการผลิต 2nm-class - ผ่านการทดสอบเบื้องต้นแล้ว และสามารถเปิดใช้งานได้สำเร็จ ✅ เทคโนโลยี TSMC N2 และข้อดีของกระบวนการผลิต - ใช้ Gate-All-Around (GAA) nanosheet transistors ซึ่งช่วยลดการใช้พลังงานลง 24-35% หรือเพิ่มประสิทธิภาพขึ้น 15% - มีความหนาแน่นของทรานซิสเตอร์เพิ่มขึ้น 1.15 เท่า เมื่อเทียบกับ N3 (3nm-class) ✅ การผลิตชิป EPYC ในสหรัฐฯ - AMD ประกาศว่าชิป EPYC รุ่นที่ 5 จะถูกผลิตที่ TSMC Fab 21 ในรัฐแอริโซนา - เป็นการกระจายการผลิตเพื่อเพิ่มความมั่นคงของห่วงโซ่อุปทาน ⚠️ ข้อควรระวังและประเด็นที่ต้องติดตาม ℹ️ ผลกระทบต่อการแข่งขันในตลาด HPC - Intel กำลังพัฒนา Xeon 'Clearwater Forest' บนกระบวนการ Intel 18A ซึ่งเป็นคู่แข่งโดยตรงของ EPYC 'Venice' - ต้องติดตามว่า AMD จะสามารถรักษาความเป็นผู้นำในตลาด HPC ได้หรือไม่ ℹ️ ความท้าทายของกระบวนการผลิต 2nm - แม้ TSMC N2 จะมีข้อดีด้านประสิทธิภาพ แต่การผลิตชิปที่ขนาดเล็กลงอาจมีความท้าทายด้าน yield และต้นทุน - ต้องจับตาว่า AMD จะสามารถผลิตชิปในปริมาณมากได้ตามแผนหรือไม่ ℹ️ แนวโน้มของอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์ - การแข่งขันระหว่าง Intel, AMD และ TSMC อาจส่งผลต่อการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ - อาจมีการเปลี่ยนแปลงในห่วงโซ่อุปทาน หากสหรัฐฯ ผลักดันให้มีการผลิตชิปภายในประเทศมากขึ้น https://www.tomshardware.com/pc-components/cpus/amds-first-2nm-chip-is-out-of-the-fab-epyc-venice-fabbed-on-tsmc-n2-node
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 89 มุมมอง 0 รีวิว
  • นักวิจัยจาก Argonne National Laboratory ได้พัฒนา PRO-AID ซึ่งเป็นระบบ AI ที่ช่วยตรวจสอบและบริหารจัดการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ เทคโนโลยีนี้สามารถช่วยให้โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ทำงานได้อย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพมากขึ้น

    ✅ PRO-AID: ระบบ AI สำหรับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
    - ใช้ AI ในการตรวจสอบสถานะของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แบบเรียลไทม์
    - สามารถวิเคราะห์ข้อมูลและแจ้งเตือนปัญหาที่อาจเกิดขึ้น
    - ช่วยให้โรงไฟฟ้าสามารถปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานได้

    ✅ การนำ AI มาใช้ในอุตสาหกรรมนิวเคลียร์
    - PRO-AID สามารถช่วยออกแบบและปรับปรุงโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ทั้งใหม่และเก่า
    - ใช้ AI ในการวิเคราะห์ข้อมูลทางคณิตศาสตร์เพื่อให้เห็นภาพรวมของการทำงานของโรงไฟฟ้า

    ✅ ผลกระทบต่อบุคลากรในอุตสาหกรรม
    - ระบบสามารถช่วยลดภาระงานของพนักงาน โดยเฉพาะในตำแหน่งที่ต้องตรวจสอบข้อมูลจำนวนมาก
    - อาจช่วยลดความจำเป็นในการจ้างงานใหม่เมื่อพนักงานเกษียณ

    ⚠️ ข้อควรระวังและประเด็นที่ต้องติดตาม
    ℹ️ ความเสี่ยงของการใช้ AI ในโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
    - แม้ AI จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ แต่ต้องมีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลอย่างเข้มงวด
    - อาจเกิดข้อผิดพลาดหากระบบ AI ไม่ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม

    ℹ️ ผลกระทบต่อแรงงานในอุตสาหกรรม
    - การนำ AI มาใช้แทนพนักงานบางตำแหน่ง อาจส่งผลต่อการจ้างงานในอนาคต
    - ต้องมีการวางแผนเพื่อให้พนักงานสามารถปรับตัวเข้ากับเทคโนโลยีใหม่

    ℹ️ แนวโน้มการพัฒนา AI ในอุตสาหกรรมพลังงาน
    - อาจมีการนำ AI มาใช้ในโรงไฟฟ้าประเภทอื่น เช่น โรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน
    - เทคโนโลยี AI อาจช่วยให้การบริหารจัดการพลังงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น

    https://www.tomshardware.com/tech-industry/artificial-intelligence/government-funded-ai-tool-developed-to-help-monitor-and-manage-nuclear-reactors
    นักวิจัยจาก Argonne National Laboratory ได้พัฒนา PRO-AID ซึ่งเป็นระบบ AI ที่ช่วยตรวจสอบและบริหารจัดการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ เทคโนโลยีนี้สามารถช่วยให้โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ทำงานได้อย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ✅ PRO-AID: ระบบ AI สำหรับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ - ใช้ AI ในการตรวจสอบสถานะของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แบบเรียลไทม์ - สามารถวิเคราะห์ข้อมูลและแจ้งเตือนปัญหาที่อาจเกิดขึ้น - ช่วยให้โรงไฟฟ้าสามารถปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานได้ ✅ การนำ AI มาใช้ในอุตสาหกรรมนิวเคลียร์ - PRO-AID สามารถช่วยออกแบบและปรับปรุงโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ทั้งใหม่และเก่า - ใช้ AI ในการวิเคราะห์ข้อมูลทางคณิตศาสตร์เพื่อให้เห็นภาพรวมของการทำงานของโรงไฟฟ้า ✅ ผลกระทบต่อบุคลากรในอุตสาหกรรม - ระบบสามารถช่วยลดภาระงานของพนักงาน โดยเฉพาะในตำแหน่งที่ต้องตรวจสอบข้อมูลจำนวนมาก - อาจช่วยลดความจำเป็นในการจ้างงานใหม่เมื่อพนักงานเกษียณ ⚠️ ข้อควรระวังและประเด็นที่ต้องติดตาม ℹ️ ความเสี่ยงของการใช้ AI ในโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ - แม้ AI จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ แต่ต้องมีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลอย่างเข้มงวด - อาจเกิดข้อผิดพลาดหากระบบ AI ไม่ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม ℹ️ ผลกระทบต่อแรงงานในอุตสาหกรรม - การนำ AI มาใช้แทนพนักงานบางตำแหน่ง อาจส่งผลต่อการจ้างงานในอนาคต - ต้องมีการวางแผนเพื่อให้พนักงานสามารถปรับตัวเข้ากับเทคโนโลยีใหม่ ℹ️ แนวโน้มการพัฒนา AI ในอุตสาหกรรมพลังงาน - อาจมีการนำ AI มาใช้ในโรงไฟฟ้าประเภทอื่น เช่น โรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน - เทคโนโลยี AI อาจช่วยให้การบริหารจัดการพลังงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น https://www.tomshardware.com/tech-industry/artificial-intelligence/government-funded-ai-tool-developed-to-help-monitor-and-manage-nuclear-reactors
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 80 มุมมอง 0 รีวิว
  • รัฐบาลเยอรมนีกำลังวางแผนจัดตั้ง "ซูเปอร์กระทรวงไฮเทค" เพื่อส่งเสริมการวิจัยและเทคโนโลยีขั้นสูง พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ นักวิจัยจากสหรัฐฯ ที่ได้รับผลกระทบจากนโยบายงบประมาณของรัฐบาลทรัมป์เข้ามาทำงานในยุโรป

    ✅ การจัดตั้งกระทรวงไฮเทคใหม่
    - กระทรวงใหม่นี้จะดูแลด้าน ปัญญาประดิษฐ์ (AI), ควอนตัมคอมพิวติ้ง, เทคโนโลยีชีวภาพ, การพัฒนาชิป และพลังงานฟิวชัน
    - มีแผนแยกงานวิจัยออกจากกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อให้การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพมากขึ้น
    - เป้าหมายสำคัญคือการสร้าง เครื่องปฏิกรณ์ฟิวชันที่ใช้งานได้จริง ซึ่งจะเป็นก้าวสำคัญของพลังงานสะอาด

    ✅ การเพิ่มงบประมาณสนับสนุนการวิจัย
    - รัฐบาลเยอรมนีให้คำมั่นว่าจะเพิ่มงบประมาณสนับสนุนองค์กรวิจัย ปีละ 3% จนถึงปี 2030
    - นโยบายนี้มีเป้าหมายเพื่อทำให้เยอรมนีเป็นศูนย์กลางนวัตกรรมระดับโลก

    ✅ โครงการ "1000 Minds" ดึงดูดนักวิจัยจากสหรัฐฯ
    - เยอรมนีเตรียมเปิดโครงการ "1000 Minds" เพื่อดึงดูดนักวิทยาศาสตร์และนักวิจัยจากทั่วโลก โดยเฉพาะจากสหรัฐฯ
    - นักวิจัยในสหรัฐฯ กำลังเผชิญกับ การตัดงบประมาณครั้งใหญ่ ซึ่งส่งผลกระทบต่อการทำงานของนักวิทยาศาสตร์ในหลายสาขา
    - มีรายงานว่าบางหน่วยงาน เช่น NOAA (National Oceanic and Atmospheric Administration) ต้องลดงบประมาณจนถึงขั้นให้ นักวิจัยทำงานด้านอื่น เช่น ทำความสะอาดห้องน้ำ

    ⚠️ ข้อควรระวังและประเด็นที่ต้องติดตาม
    ℹ️ ผลกระทบต่อสหรัฐฯ และการแข่งขันด้านเทคโนโลยี
    - การดึงนักวิจัยจากสหรัฐฯ อาจทำให้เกิด การสูญเสียบุคลากรสำคัญ ในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีของอเมริกา
    - อาจส่งผลต่อการแข่งขันด้าน AI และเทคโนโลยีขั้นสูง ระหว่างยุโรปและสหรัฐฯ

    ℹ️ ความท้าทายในการสร้างเครื่องปฏิกรณ์ฟิวชัน
    - แม้จะมีเป้าหมายสร้างเครื่องปฏิกรณ์ฟิวชันที่ใช้งานได้จริง แต่เทคโนโลยีนี้ยังอยู่ในขั้นทดลอง และต้องใช้เงินลงทุนมหาศาล
    - การพัฒนาอาจใช้เวลาหลายสิบปี ก่อนที่จะสามารถนำมาใช้ในระดับอุตสาหกรรมได้

    ℹ️ แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรมวิจัยโลก
    - หากเยอรมนีประสบความสำเร็จ อาจทำให้ยุโรปกลายเป็น ศูนย์กลางวิจัยระดับโลก แทนที่สหรัฐฯ
    - ประเทศอื่นๆ อาจต้องปรับนโยบายเพื่อแข่งขันกับเยอรมนีในการดึงดูดนักวิจัยและนักวิทยาศาสตร์

    https://www.techspot.com/news/107547-germany-new-government-planning-super-high-tech-ministry.html
    รัฐบาลเยอรมนีกำลังวางแผนจัดตั้ง "ซูเปอร์กระทรวงไฮเทค" เพื่อส่งเสริมการวิจัยและเทคโนโลยีขั้นสูง พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ นักวิจัยจากสหรัฐฯ ที่ได้รับผลกระทบจากนโยบายงบประมาณของรัฐบาลทรัมป์เข้ามาทำงานในยุโรป ✅ การจัดตั้งกระทรวงไฮเทคใหม่ - กระทรวงใหม่นี้จะดูแลด้าน ปัญญาประดิษฐ์ (AI), ควอนตัมคอมพิวติ้ง, เทคโนโลยีชีวภาพ, การพัฒนาชิป และพลังงานฟิวชัน - มีแผนแยกงานวิจัยออกจากกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อให้การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพมากขึ้น - เป้าหมายสำคัญคือการสร้าง เครื่องปฏิกรณ์ฟิวชันที่ใช้งานได้จริง ซึ่งจะเป็นก้าวสำคัญของพลังงานสะอาด ✅ การเพิ่มงบประมาณสนับสนุนการวิจัย - รัฐบาลเยอรมนีให้คำมั่นว่าจะเพิ่มงบประมาณสนับสนุนองค์กรวิจัย ปีละ 3% จนถึงปี 2030 - นโยบายนี้มีเป้าหมายเพื่อทำให้เยอรมนีเป็นศูนย์กลางนวัตกรรมระดับโลก ✅ โครงการ "1000 Minds" ดึงดูดนักวิจัยจากสหรัฐฯ - เยอรมนีเตรียมเปิดโครงการ "1000 Minds" เพื่อดึงดูดนักวิทยาศาสตร์และนักวิจัยจากทั่วโลก โดยเฉพาะจากสหรัฐฯ - นักวิจัยในสหรัฐฯ กำลังเผชิญกับ การตัดงบประมาณครั้งใหญ่ ซึ่งส่งผลกระทบต่อการทำงานของนักวิทยาศาสตร์ในหลายสาขา - มีรายงานว่าบางหน่วยงาน เช่น NOAA (National Oceanic and Atmospheric Administration) ต้องลดงบประมาณจนถึงขั้นให้ นักวิจัยทำงานด้านอื่น เช่น ทำความสะอาดห้องน้ำ ⚠️ ข้อควรระวังและประเด็นที่ต้องติดตาม ℹ️ ผลกระทบต่อสหรัฐฯ และการแข่งขันด้านเทคโนโลยี - การดึงนักวิจัยจากสหรัฐฯ อาจทำให้เกิด การสูญเสียบุคลากรสำคัญ ในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีของอเมริกา - อาจส่งผลต่อการแข่งขันด้าน AI และเทคโนโลยีขั้นสูง ระหว่างยุโรปและสหรัฐฯ ℹ️ ความท้าทายในการสร้างเครื่องปฏิกรณ์ฟิวชัน - แม้จะมีเป้าหมายสร้างเครื่องปฏิกรณ์ฟิวชันที่ใช้งานได้จริง แต่เทคโนโลยีนี้ยังอยู่ในขั้นทดลอง และต้องใช้เงินลงทุนมหาศาล - การพัฒนาอาจใช้เวลาหลายสิบปี ก่อนที่จะสามารถนำมาใช้ในระดับอุตสาหกรรมได้ ℹ️ แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรมวิจัยโลก - หากเยอรมนีประสบความสำเร็จ อาจทำให้ยุโรปกลายเป็น ศูนย์กลางวิจัยระดับโลก แทนที่สหรัฐฯ - ประเทศอื่นๆ อาจต้องปรับนโยบายเพื่อแข่งขันกับเยอรมนีในการดึงดูดนักวิจัยและนักวิทยาศาสตร์ https://www.techspot.com/news/107547-germany-new-government-planning-super-high-tech-ministry.html
    WWW.TECHSPOT.COM
    New German "super-ministry" hopes to lure US researchers with cutting-edge science agenda
    Germany's three largest political parties have agreed to form a new government, uniting the center-right Christian Democrats and Christian Social Union with the center-left Social Democrats. While...
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 108 มุมมอง 0 รีวิว
  • ข่าวนี้เล่าถึงความก้าวหน้าของ Quantum Computing ที่ Google กำลังพัฒนาเพื่อสร้างประโยชน์ในด้านสุขภาพ พลังงาน และเทคโนโลยีแบตเตอรี่

    เนื่องในวัน World Quantum Day Google ได้เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับสามประโยชน์หลักที่ Quantum Computing จะช่วยให้เกิดขึ้นในอนาคต ได้แก่ การค้นพบยาใหม่, การพัฒนาแบตเตอรี่ที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น, และ การออกแบบเครื่องปฏิกรณ์ฟิวชัน

    ✅ Quantum Computing กับการค้นพบยาใหม่
    - ช่วยจำลองโครงสร้างโมเลกุลของยาได้แม่นยำขึ้น
    - Google ร่วมมือกับ Boehringer Ingelheim เพื่อศึกษาการจำลองเอนไซม์ Cytochrome P450

    ✅ Quantum Computing กับแบตเตอรี่
    - ช่วยออกแบบวัสดุใหม่สำหรับแบตเตอรี่ที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
    - Google ร่วมมือกับ BASF เพื่อศึกษาการจำลอง Lithium Nickel Oxide (LNO)

    ✅ Quantum Computing กับพลังงานฟิวชัน
    - ช่วยออกแบบเครื่องปฏิกรณ์ฟิวชันที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
    - Google ร่วมมือกับ Sandia National Laboratories เพื่อพัฒนาอัลกอริธึมสำหรับจำลองกระบวนการฟิวชัน

    ℹ️ ข้อจำกัดของ Quantum Computing
    - เทคโนโลยีนี้ยังอยู่ในช่วงเริ่มต้นและต้องใช้เวลาหลายปีในการพัฒนา
    - การสร้าง Quantum Computer ที่มีความเสถียรและใช้งานได้จริงยังเป็นความท้าทาย

    ℹ️ ผลกระทบต่ออุตสาหกรรม
    - Quantum Computing อาจเปลี่ยนแปลงอุตสาหกรรมยา พลังงาน และเทคโนโลยีแบตเตอรี่
    - บริษัทที่ไม่สามารถปรับตัวได้อาจเสียเปรียบในการแข่งขัน

    https://www.neowin.net/news/googles-quantum-computing-efforts-to-give-you-better-health-and-unlimited-electricity/
    ข่าวนี้เล่าถึงความก้าวหน้าของ Quantum Computing ที่ Google กำลังพัฒนาเพื่อสร้างประโยชน์ในด้านสุขภาพ พลังงาน และเทคโนโลยีแบตเตอรี่ เนื่องในวัน World Quantum Day Google ได้เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับสามประโยชน์หลักที่ Quantum Computing จะช่วยให้เกิดขึ้นในอนาคต ได้แก่ การค้นพบยาใหม่, การพัฒนาแบตเตอรี่ที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น, และ การออกแบบเครื่องปฏิกรณ์ฟิวชัน ✅ Quantum Computing กับการค้นพบยาใหม่ - ช่วยจำลองโครงสร้างโมเลกุลของยาได้แม่นยำขึ้น - Google ร่วมมือกับ Boehringer Ingelheim เพื่อศึกษาการจำลองเอนไซม์ Cytochrome P450 ✅ Quantum Computing กับแบตเตอรี่ - ช่วยออกแบบวัสดุใหม่สำหรับแบตเตอรี่ที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น - Google ร่วมมือกับ BASF เพื่อศึกษาการจำลอง Lithium Nickel Oxide (LNO) ✅ Quantum Computing กับพลังงานฟิวชัน - ช่วยออกแบบเครื่องปฏิกรณ์ฟิวชันที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น - Google ร่วมมือกับ Sandia National Laboratories เพื่อพัฒนาอัลกอริธึมสำหรับจำลองกระบวนการฟิวชัน ℹ️ ข้อจำกัดของ Quantum Computing - เทคโนโลยีนี้ยังอยู่ในช่วงเริ่มต้นและต้องใช้เวลาหลายปีในการพัฒนา - การสร้าง Quantum Computer ที่มีความเสถียรและใช้งานได้จริงยังเป็นความท้าทาย ℹ️ ผลกระทบต่ออุตสาหกรรม - Quantum Computing อาจเปลี่ยนแปลงอุตสาหกรรมยา พลังงาน และเทคโนโลยีแบตเตอรี่ - บริษัทที่ไม่สามารถปรับตัวได้อาจเสียเปรียบในการแข่งขัน https://www.neowin.net/news/googles-quantum-computing-efforts-to-give-you-better-health-and-unlimited-electricity/
    WWW.NEOWIN.NET
    Google's quantum computing efforts to give you better health and unlimited electricity
    For World Quantum Day, Google has outlined some of the big potential benefits quantum computers could deliver from the 2030s. Here are Google's picks.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 67 มุมมอง 0 รีวิว
  • พีระพันธุ์ สั่งพลังงานกระบี่ลุยตรวจปั๊มสร้างความมั่นใจด้านความปลอดภัยให้ประชาชนหลังเกิดเหตุแผ่นดินไหวที่กระบี่
    https://www.thai-tai.tv/news/18170/
    พีระพันธุ์ สั่งพลังงานกระบี่ลุยตรวจปั๊มสร้างความมั่นใจด้านความปลอดภัยให้ประชาชนหลังเกิดเหตุแผ่นดินไหวที่กระบี่ https://www.thai-tai.tv/news/18170/
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 55 มุมมอง 0 รีวิว
  • บริษัทในสหภาพยุโรปเริ่มเรียกร้องให้มีการกลับมาใช้ก๊าซจากรัสเซียอีกครั้ง

    ส่วนหนึ่งเป็นเพราะทรัมป์ที่ทำให้พลังงานของยุโรปเริ่มสั่นคลอน
    บริษัทในสหภาพยุโรปเริ่มเรียกร้องให้มีการกลับมาใช้ก๊าซจากรัสเซียอีกครั้ง ส่วนหนึ่งเป็นเพราะทรัมป์ที่ทำให้พลังงานของยุโรปเริ่มสั่นคลอน
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 115 มุมมอง 0 รีวิว
  • พีระพันธุ์→ พลังงานกับคาสิโน→ “การเล่นเกมซ้อนเกม”
    #อัษฎางค์ยมนาค

    “เรื่องการเมืองมันซับซ้อนเกินกว่าจะตัดสินเพียงสิ่งที่เห็นหรือได้ยิน” และกรณีของ คุณพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค ก็สะท้อนความซับซ้อนเชิงกลยุทธ์ของการเมืองไทยในปัจจุบันได้อย่างชัดเจน

    วิเคราะห์ในเชิงการเมือง-ยุทธศาสตร์

    1. ความซับซ้อนของ "พีระพันธุ์": นักการเมืองสายเทคนิค-กฎหมายในโลกของเกมอำนาจ

    คุณพีระพันธุ์ เป็นนักการเมืองที่มีภาพลักษณ์ "สายระบบราชการ" มากกว่านักพูด นักปลุกใจ หรือป๊อปปูลาร์ในโซเชียล เขาไม่ใช่นักการเมืองที่เน้นลงพื้นที่ แต่ถูกวางตัวให้ “แบกรับภารกิจเชิงนโยบาย” ที่ซับซ้อน เช่น พลังงาน กฎหมาย คาสิโน หรือแม้แต่โครงสร้างรัฐ

    จุดแข็ง: เข้าใจระบบ, ต่อรองกับเทคนิคของรัฐได้ดี
    จุดอ่อน: ขาดฐานมวลชนที่เหนียวแน่นทางอารมณ์ → ทำให้ถูกกดดันง่ายจาก "อินฟลูฯ" และโซเชียลมีเดีย

    2. ข้อกล่าวหา “สนับสนุนคาสิโน” และ “ถอด DNA ลุงตู่” คือสงครามทางสัญลักษณ์

    สิ่งที่เกิดขึ้นตอนนี้ไม่ใช่แค่เรื่องคาสิโนหรือการตอบคำถามนักข่าว แต่คือ “สงครามตีตราทางการเมือง” ที่มีเป้าหมายหลักคือทำลายความชอบธรรม

    กลุ่มที่ว่า “หยุดเรียกเขาว่าเป็น DNA ลุงตู่” พยายามบอกว่าเขาทรยศต่อฐานอนุรักษ์นิยม

    กลุ่มที่โยงเขากับ “คาสิโน” ก็พยายามสร้างภาพว่าเขาสนับสนุนสิ่งผิดศีลธรรม

    ซึ่งทั้งสองประเด็นนี้ มีน้ำหนักทางจิตวิทยามวลชนสูงมากในหมู่ฐานเสียงฝ่ายอนุรักษ์นิยม

    3. ประเด็นที่ซ่อนอยู่: ศึกใหญ่คือ "พลังงาน" ไม่ใช่คาสิโน

    คุณพีระพันธุ์ถูกตั้งเป้าโจมตีไม่ใช่เพราะคาสิโนเพียงอย่างเดียว แต่เพราะ เขาเริ่มลงมือในนโยบายพลังงาน ซึ่งเกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ขนาดใหญ่มากของหลายกลุ่มทุน

    “พลังงานคืออาณาจักรของอำนาจที่ซ่อนอยู่”

    และการที่คุณพีระพันธุ์กำลังรื้อโครงสร้างบางอย่าง → ย่อมทำให้เขาถูกโจมตีแบบ "ตีวงล้อม"

    วิเคราะห์ในเชิงจิตวิทยาการเมือง

    1. การถอดความนัยของคำว่า “DNA ลุงตู่”

    การใช้คำว่า “DNA ลุงตู่” สื่อถึงการสืบทอดจิตวิญญาณหรือแนวทางทางการเมือง แต่เมื่อกลุ่มอินฟลูฯ ออกมาพูดว่าเขา “ไม่ใช่” → ก็เท่ากับตัดเขาออกจากเครือข่ายทางอำนาจเดิมทันที เป็นการ “ถอนรากอุดมการณ์” ซึ่งส่งผลแรงในระดับฐานเสียง

    2. อินฟลูเอนเซอร์กับการควบคุมทิศทางของฝูงชน

    กรณีของ"อินฟลูฯ" โจมตีผ่านโซเชียลมีเดีย แสดงให้เห็นว่า “อิทธิพลของเสียงในโซเชียล” วันนี้มีอำนาจไม่แพ้การอภิปรายในสภา เพราะ เขาสามารถตีกรอบให้คนมองพีระพันธุ์ในทิศทางใดก็ได้ โดยไม่ต้องรอข้อเท็จจริง

    สรุป:
    เกมหลัก→ โยงคุณพีระพันธุ์เข้ากับคาสิโน เพื่อทำลายภาพลักษณ์อนุรักษ์นิยม
    เกมลับ→ เขากำลังแตะโครงสร้างพลังงาน ซึ่งคือผลประโยชน์มหาศาล
    เทคนิคที่ใช้→ ตีวงล้อมผ่านสื่อ → ดึงฐานเสียงอนุรักษ์นิยมออกห่าง
    ความเสี่ยง→ หากขาดการสื่อสารที่ชัดเจน อาจกลายเป็น “คนกลางที่โดนล้อมจากทุกด้าน”

    ข้อเสนอแนะของผม:
    → อย่าตัดสินนักการเมืองจากคลิปเดียวหรือข้อความเดียว → การเมืองเป็นกลยุทธ์ และคำบางคำมีหน้าที่เบี่ยงเบนเกม ไม่ใช่แสดงเจตนาจริง

    → กลุ่มผู้สนับสนุนคุณพีระพันธุ์ควรสื่อสารเชิงรุกมากขึ้น โดยเฉพาะในเรื่องพลังงานและเป้าหมายทางนโยบายที่แท้จริง

    → ฐานเสียงฝ่ายขวา/อนุรักษ์นิยมควรใช้หลักคิดมากกว่าความรู้สึก ในการประเมินผู้นำ เพราะอารมณ์สามารถถูกสร้างได้ แต่ผลประโยชน์ของชาติคือของจริง

    ฝากคำถามไว้ให้ขบคิด:
    → คุณคิดว่า “การเล่นเกมซ้อนเกม” แบบนี้ สุดท้ายจะทำให้คุณพีระพันธุ์กลายเป็นเบี้ยที่ถูกเขี่ย หรือเป็นหมากลับที่น่ากลัวสำหรับทุกฝ่ายครับ?
    พีระพันธุ์→ พลังงานกับคาสิโน→ “การเล่นเกมซ้อนเกม” #อัษฎางค์ยมนาค “เรื่องการเมืองมันซับซ้อนเกินกว่าจะตัดสินเพียงสิ่งที่เห็นหรือได้ยิน” และกรณีของ คุณพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค ก็สะท้อนความซับซ้อนเชิงกลยุทธ์ของการเมืองไทยในปัจจุบันได้อย่างชัดเจน วิเคราะห์ในเชิงการเมือง-ยุทธศาสตร์ 1. ความซับซ้อนของ "พีระพันธุ์": นักการเมืองสายเทคนิค-กฎหมายในโลกของเกมอำนาจ คุณพีระพันธุ์ เป็นนักการเมืองที่มีภาพลักษณ์ "สายระบบราชการ" มากกว่านักพูด นักปลุกใจ หรือป๊อปปูลาร์ในโซเชียล เขาไม่ใช่นักการเมืองที่เน้นลงพื้นที่ แต่ถูกวางตัวให้ “แบกรับภารกิจเชิงนโยบาย” ที่ซับซ้อน เช่น พลังงาน กฎหมาย คาสิโน หรือแม้แต่โครงสร้างรัฐ จุดแข็ง: เข้าใจระบบ, ต่อรองกับเทคนิคของรัฐได้ดี จุดอ่อน: ขาดฐานมวลชนที่เหนียวแน่นทางอารมณ์ → ทำให้ถูกกดดันง่ายจาก "อินฟลูฯ" และโซเชียลมีเดีย 2. ข้อกล่าวหา “สนับสนุนคาสิโน” และ “ถอด DNA ลุงตู่” คือสงครามทางสัญลักษณ์ สิ่งที่เกิดขึ้นตอนนี้ไม่ใช่แค่เรื่องคาสิโนหรือการตอบคำถามนักข่าว แต่คือ “สงครามตีตราทางการเมือง” ที่มีเป้าหมายหลักคือทำลายความชอบธรรม กลุ่มที่ว่า “หยุดเรียกเขาว่าเป็น DNA ลุงตู่” พยายามบอกว่าเขาทรยศต่อฐานอนุรักษ์นิยม กลุ่มที่โยงเขากับ “คาสิโน” ก็พยายามสร้างภาพว่าเขาสนับสนุนสิ่งผิดศีลธรรม ซึ่งทั้งสองประเด็นนี้ มีน้ำหนักทางจิตวิทยามวลชนสูงมากในหมู่ฐานเสียงฝ่ายอนุรักษ์นิยม 3. ประเด็นที่ซ่อนอยู่: ศึกใหญ่คือ "พลังงาน" ไม่ใช่คาสิโน คุณพีระพันธุ์ถูกตั้งเป้าโจมตีไม่ใช่เพราะคาสิโนเพียงอย่างเดียว แต่เพราะ เขาเริ่มลงมือในนโยบายพลังงาน ซึ่งเกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ขนาดใหญ่มากของหลายกลุ่มทุน “พลังงานคืออาณาจักรของอำนาจที่ซ่อนอยู่” และการที่คุณพีระพันธุ์กำลังรื้อโครงสร้างบางอย่าง → ย่อมทำให้เขาถูกโจมตีแบบ "ตีวงล้อม" วิเคราะห์ในเชิงจิตวิทยาการเมือง 1. การถอดความนัยของคำว่า “DNA ลุงตู่” การใช้คำว่า “DNA ลุงตู่” สื่อถึงการสืบทอดจิตวิญญาณหรือแนวทางทางการเมือง แต่เมื่อกลุ่มอินฟลูฯ ออกมาพูดว่าเขา “ไม่ใช่” → ก็เท่ากับตัดเขาออกจากเครือข่ายทางอำนาจเดิมทันที เป็นการ “ถอนรากอุดมการณ์” ซึ่งส่งผลแรงในระดับฐานเสียง 2. อินฟลูเอนเซอร์กับการควบคุมทิศทางของฝูงชน กรณีของ"อินฟลูฯ" โจมตีผ่านโซเชียลมีเดีย แสดงให้เห็นว่า “อิทธิพลของเสียงในโซเชียล” วันนี้มีอำนาจไม่แพ้การอภิปรายในสภา เพราะ เขาสามารถตีกรอบให้คนมองพีระพันธุ์ในทิศทางใดก็ได้ โดยไม่ต้องรอข้อเท็จจริง สรุป: เกมหลัก→ โยงคุณพีระพันธุ์เข้ากับคาสิโน เพื่อทำลายภาพลักษณ์อนุรักษ์นิยม เกมลับ→ เขากำลังแตะโครงสร้างพลังงาน ซึ่งคือผลประโยชน์มหาศาล เทคนิคที่ใช้→ ตีวงล้อมผ่านสื่อ → ดึงฐานเสียงอนุรักษ์นิยมออกห่าง ความเสี่ยง→ หากขาดการสื่อสารที่ชัดเจน อาจกลายเป็น “คนกลางที่โดนล้อมจากทุกด้าน” ข้อเสนอแนะของผม: → อย่าตัดสินนักการเมืองจากคลิปเดียวหรือข้อความเดียว → การเมืองเป็นกลยุทธ์ และคำบางคำมีหน้าที่เบี่ยงเบนเกม ไม่ใช่แสดงเจตนาจริง → กลุ่มผู้สนับสนุนคุณพีระพันธุ์ควรสื่อสารเชิงรุกมากขึ้น โดยเฉพาะในเรื่องพลังงานและเป้าหมายทางนโยบายที่แท้จริง → ฐานเสียงฝ่ายขวา/อนุรักษ์นิยมควรใช้หลักคิดมากกว่าความรู้สึก ในการประเมินผู้นำ เพราะอารมณ์สามารถถูกสร้างได้ แต่ผลประโยชน์ของชาติคือของจริง ฝากคำถามไว้ให้ขบคิด: → คุณคิดว่า “การเล่นเกมซ้อนเกม” แบบนี้ สุดท้ายจะทำให้คุณพีระพันธุ์กลายเป็นเบี้ยที่ถูกเขี่ย หรือเป็นหมากลับที่น่ากลัวสำหรับทุกฝ่ายครับ?
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 144 มุมมอง 0 รีวิว
  • ข่าวนี้เล่าถึงการพัฒนา Broadband Optical SSD ซึ่งเป็นเทคโนโลยีใหม่ที่พัฒนาโดยบริษัทญี่ปุ่นชั้นนำ ได้แก่ Kioxia, AIO Core และ Kyocera โดย SSD รุ่นใหม่นี้ใช้การเชื่อมต่อแบบออปติคัลแทนการเชื่อมต่อแบบไฟฟ้า

    Broadband Optical SSD ถูกออกแบบมาเพื่อรองรับการใช้งานในศูนย์ข้อมูลขนาดใหญ่ที่ต้องการการจัดการข้อมูลปริมาณมหาศาล เช่น การประมวลผล AI และการจัดเก็บข้อมูลในระดับเพตะไบต์ การใช้การเชื่อมต่อแบบออปติคัลช่วยลดข้อจำกัดทางกายภาพของการเชื่อมต่อแบบไฟฟ้า และยังช่วยลดการใช้พลังงานได้ถึง 40% เมื่อเทียบกับระบบปัจจุบัน

    โครงการนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาเทคโนโลยีศูนย์ข้อมูลสีเขียวของญี่ปุ่น (Next Generation Green Data Center Technology Development) ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากองค์กร NEDO โดยมีเป้าหมายเพื่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลที่มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

    ✅ การพัฒนา Broadband Optical SSD
    - พัฒนาโดย Kioxia, AIO Core และ Kyocera
    - ใช้การเชื่อมต่อแบบออปติคัลแทนการเชื่อมต่อแบบไฟฟ้า

    ✅ ประโยชน์ของเทคโนโลยีนี้
    - รองรับการใช้งานในศูนย์ข้อมูลขนาดใหญ่
    - ลดการใช้พลังงานได้ถึง 40%

    ✅ โครงการพัฒนาเทคโนโลยีศูนย์ข้อมูลสีเขียว
    - เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Next Generation Green Data Center Technology Development
    - ได้รับการสนับสนุนจากองค์กร NEDO

    ℹ️ ข้อจำกัดของเทคโนโลยี
    - การพัฒนาเทคโนโลยีนี้ยังอยู่ในขั้นตอนต้นแบบ
    - อาจต้องใช้เวลาและทรัพยากรเพิ่มเติมในการทดสอบและปรับปรุง

    ℹ️ ผลกระทบต่ออุตสาหกรรม
    - การเปลี่ยนแปลงนี้อาจเพิ่มแรงกดดันให้บริษัทอื่นๆ ต้องปรับตัว
    - การแข่งขันในวงการเซมิคอนดักเตอร์อาจเข้มข้นขึ้น

    https://www.techradar.com/pro/its-broadband-jim-but-not-as-we-know-it-japanese-tech-giants-are-developing-a-broadband-optical-ssd-for-data-centers
    ข่าวนี้เล่าถึงการพัฒนา Broadband Optical SSD ซึ่งเป็นเทคโนโลยีใหม่ที่พัฒนาโดยบริษัทญี่ปุ่นชั้นนำ ได้แก่ Kioxia, AIO Core และ Kyocera โดย SSD รุ่นใหม่นี้ใช้การเชื่อมต่อแบบออปติคัลแทนการเชื่อมต่อแบบไฟฟ้า Broadband Optical SSD ถูกออกแบบมาเพื่อรองรับการใช้งานในศูนย์ข้อมูลขนาดใหญ่ที่ต้องการการจัดการข้อมูลปริมาณมหาศาล เช่น การประมวลผล AI และการจัดเก็บข้อมูลในระดับเพตะไบต์ การใช้การเชื่อมต่อแบบออปติคัลช่วยลดข้อจำกัดทางกายภาพของการเชื่อมต่อแบบไฟฟ้า และยังช่วยลดการใช้พลังงานได้ถึง 40% เมื่อเทียบกับระบบปัจจุบัน โครงการนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาเทคโนโลยีศูนย์ข้อมูลสีเขียวของญี่ปุ่น (Next Generation Green Data Center Technology Development) ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากองค์กร NEDO โดยมีเป้าหมายเพื่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลที่มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ✅ การพัฒนา Broadband Optical SSD - พัฒนาโดย Kioxia, AIO Core และ Kyocera - ใช้การเชื่อมต่อแบบออปติคัลแทนการเชื่อมต่อแบบไฟฟ้า ✅ ประโยชน์ของเทคโนโลยีนี้ - รองรับการใช้งานในศูนย์ข้อมูลขนาดใหญ่ - ลดการใช้พลังงานได้ถึง 40% ✅ โครงการพัฒนาเทคโนโลยีศูนย์ข้อมูลสีเขียว - เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Next Generation Green Data Center Technology Development - ได้รับการสนับสนุนจากองค์กร NEDO ℹ️ ข้อจำกัดของเทคโนโลยี - การพัฒนาเทคโนโลยีนี้ยังอยู่ในขั้นตอนต้นแบบ - อาจต้องใช้เวลาและทรัพยากรเพิ่มเติมในการทดสอบและปรับปรุง ℹ️ ผลกระทบต่ออุตสาหกรรม - การเปลี่ยนแปลงนี้อาจเพิ่มแรงกดดันให้บริษัทอื่นๆ ต้องปรับตัว - การแข่งขันในวงการเซมิคอนดักเตอร์อาจเข้มข้นขึ้น https://www.techradar.com/pro/its-broadband-jim-but-not-as-we-know-it-japanese-tech-giants-are-developing-a-broadband-optical-ssd-for-data-centers
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 96 มุมมอง 0 รีวิว
  • ข่าวนี้เล่าถึงการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ในอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์ โดย Pat Gelsinger อดีต CEO ของ Intel ได้เข้าร่วมกับบริษัท xLight ในฐานะประธานกรรมการบริหาร เพื่อพัฒนาแหล่งกำเนิดแสงแบบ Free Electron Laser (FEL) สำหรับระบบลิโทกราฟี Extreme Ultraviolet (EUV) ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตชิป

    xLight กำลังพัฒนาแหล่งกำเนิดแสง FEL ที่ใช้เทคโนโลยีเครื่องเร่งอนุภาค (Particle Accelerator) เพื่อสร้างแสงที่มีความยาวคลื่นสั้นมาก (13.5 นาโนเมตร) ซึ่งเหมาะสำหรับการผลิตชิปที่มีความละเอียดสูงถึง 8 นาโนเมตร เทคโนโลยีนี้มีศักยภาพในการลดต้นทุนการผลิตต่อแผ่นเวเฟอร์ลงถึง 50% และลดค่าใช้จ่ายทั้งด้านทุนและการดำเนินงานถึงสามเท่า

    นอกจากนี้ xLight ยังตั้งเป้าที่จะทำให้แหล่งกำเนิดแสง FEL นี้สามารถใช้งานร่วมกับเครื่องลิโทกราฟีของ ASML ได้ภายในปี 2028 โดยเทคโนโลยีนี้ยังมีศักยภาพในการนำไปใช้ในด้านอื่นๆ เช่น การตรวจวัดพลังงานสูง การควบคุมเศษซากในอวกาศ และการวิจัยทางการแพทย์

    ✅ การพัฒนาแหล่งกำเนิดแสง FEL
    - ใช้เทคโนโลยีเครื่องเร่งอนุภาคเพื่อสร้างแสงที่มีความยาวคลื่น 13.5 นาโนเมตร
    - เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตชิปที่มีความละเอียดสูงถึง 8 นาโนเมตร

    ✅ เป้าหมายของ xLight
    - ลดต้นทุนการผลิตต่อแผ่นเวเฟอร์ลงถึง 50%
    - ลดค่าใช้จ่ายทั้งด้านทุนและการดำเนินงานถึงสามเท่า

    ✅ การใช้งานในอนาคต
    - ใช้งานร่วมกับเครื่องลิโทกราฟีของ ASML ภายในปี 2028
    - มีศักยภาพในการนำไปใช้ในด้านพลังงาน อวกาศ และการแพทย์

    ℹ️ ข้อจำกัดของเทคโนโลยี FEL
    - ขนาดของเครื่องเร่งอนุภาคอาจไม่เหมาะสมกับโรงงานผลิตชิปในปัจจุบัน
    - การพัฒนาเทคโนโลยีนี้อาจต้องใช้เวลาและทรัพยากรเพิ่มเติม

    ℹ️ ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์
    - การแข่งขันในอุตสาหกรรมอาจเพิ่มขึ้นจากการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่
    - ความสำเร็จของ xLight อาจเปลี่ยนแปลงโครงสร้างต้นทุนในอุตสาหกรรม

    https://www.tomshardware.com/tech-industry/pat-gelsinger-turns-to-particle-accelerators-for-a-new-way-to-make-chips-joins-xlight
    ข่าวนี้เล่าถึงการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ในอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์ โดย Pat Gelsinger อดีต CEO ของ Intel ได้เข้าร่วมกับบริษัท xLight ในฐานะประธานกรรมการบริหาร เพื่อพัฒนาแหล่งกำเนิดแสงแบบ Free Electron Laser (FEL) สำหรับระบบลิโทกราฟี Extreme Ultraviolet (EUV) ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตชิป xLight กำลังพัฒนาแหล่งกำเนิดแสง FEL ที่ใช้เทคโนโลยีเครื่องเร่งอนุภาค (Particle Accelerator) เพื่อสร้างแสงที่มีความยาวคลื่นสั้นมาก (13.5 นาโนเมตร) ซึ่งเหมาะสำหรับการผลิตชิปที่มีความละเอียดสูงถึง 8 นาโนเมตร เทคโนโลยีนี้มีศักยภาพในการลดต้นทุนการผลิตต่อแผ่นเวเฟอร์ลงถึง 50% และลดค่าใช้จ่ายทั้งด้านทุนและการดำเนินงานถึงสามเท่า นอกจากนี้ xLight ยังตั้งเป้าที่จะทำให้แหล่งกำเนิดแสง FEL นี้สามารถใช้งานร่วมกับเครื่องลิโทกราฟีของ ASML ได้ภายในปี 2028 โดยเทคโนโลยีนี้ยังมีศักยภาพในการนำไปใช้ในด้านอื่นๆ เช่น การตรวจวัดพลังงานสูง การควบคุมเศษซากในอวกาศ และการวิจัยทางการแพทย์ ✅ การพัฒนาแหล่งกำเนิดแสง FEL - ใช้เทคโนโลยีเครื่องเร่งอนุภาคเพื่อสร้างแสงที่มีความยาวคลื่น 13.5 นาโนเมตร - เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตชิปที่มีความละเอียดสูงถึง 8 นาโนเมตร ✅ เป้าหมายของ xLight - ลดต้นทุนการผลิตต่อแผ่นเวเฟอร์ลงถึง 50% - ลดค่าใช้จ่ายทั้งด้านทุนและการดำเนินงานถึงสามเท่า ✅ การใช้งานในอนาคต - ใช้งานร่วมกับเครื่องลิโทกราฟีของ ASML ภายในปี 2028 - มีศักยภาพในการนำไปใช้ในด้านพลังงาน อวกาศ และการแพทย์ ℹ️ ข้อจำกัดของเทคโนโลยี FEL - ขนาดของเครื่องเร่งอนุภาคอาจไม่เหมาะสมกับโรงงานผลิตชิปในปัจจุบัน - การพัฒนาเทคโนโลยีนี้อาจต้องใช้เวลาและทรัพยากรเพิ่มเติม ℹ️ ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์ - การแข่งขันในอุตสาหกรรมอาจเพิ่มขึ้นจากการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ - ความสำเร็จของ xLight อาจเปลี่ยนแปลงโครงสร้างต้นทุนในอุตสาหกรรม https://www.tomshardware.com/tech-industry/pat-gelsinger-turns-to-particle-accelerators-for-a-new-way-to-make-chips-joins-xlight
    WWW.TOMSHARDWARE.COM
    Pat Gelsinger turns to particle accelerators for a new way to make chips, joins xLight
    xLight aims to deliver a powerful alternative LPP source for ASML EUV tools by 2028.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 70 มุมมอง 0 รีวิว
  • ข่าวนี้เล่าถึงความต้องการที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของชิป AI ซึ่งส่งผลกระทบต่อการใช้พลังงานทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศที่ยังพึ่งพาเชื้อเพลิงฟอสซิล

    Greenpeace รายงานว่าการผลิตชิป AI ใช้พลังงานไฟฟ้าถึง 984 กิกะวัตต์ชั่วโมงในปี 2024 ซึ่งเพิ่มขึ้นกว่า 350% จากปี 2023 และการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากการผลิตไฟฟ้าเพิ่มขึ้นถึง 453,600 เมตริกตันในปีเดียวกัน การผลิตชิป AI มีความต้องการพลังงานสูง โดยโรงงานผลิตขนาดใหญ่สามารถใช้ไฟฟ้าได้ถึง 100 เมกะวัตต์ชั่วโมงต่อชั่วโมง

    นอกจากนี้ Greenpeace ยังเตือนว่าความต้องการไฟฟ้าสำหรับการผลิตชิป AI อาจเพิ่มขึ้นถึง 37,238 กิกะวัตต์ชั่วโมงภายในปี 2030 ซึ่งมากกว่าการใช้ไฟฟ้าทั้งหมดของประเทศไอร์แลนด์ในปัจจุบัน

    ✅ ผลกระทบจากการผลิตชิป AI
    - การผลิตชิป AI ใช้พลังงานไฟฟ้าถึง 984 กิกะวัตต์ชั่วโมงในปี 2024
    - การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้นถึง 453,600 เมตริกตันในปีเดียวกัน

    ✅ ความต้องการพลังงานในอนาคต
    - ความต้องการไฟฟ้าสำหรับการผลิตชิป AI อาจเพิ่มขึ้นถึง 37,238 กิกะวัตต์ชั่วโมงภายในปี 2030
    - มากกว่าการใช้ไฟฟ้าทั้งหมดของประเทศไอร์แลนด์ในปัจจุบัน

    ✅ บทบาทของบริษัทเทคโนโลยี
    - บริษัทเช่น Nvidia, Microsoft, Meta และ Google ถูกเรียกร้องให้สนับสนุนการใช้พลังงานหมุนเวียน
    - TSMC กำลังเปลี่ยนไปใช้พลังงานหมุนเวียน แต่ยังมีความล่าช้า

    ℹ️ ความเสี่ยงต่อสิ่งแวดล้อม
    - การผลิตชิป AI มีความต้องการพลังงานสูงและเพิ่มการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
    - การพึ่งพาเชื้อเพลิงฟอสซิลในประเทศผู้ผลิตอาจเพิ่มผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

    ℹ️ คำแนะนำเพื่อความยั่งยืน
    - บริษัทเทคโนโลยีควรสนับสนุนการใช้พลังงานหมุนเวียนในห่วงโซ่อุปทาน
    - การพัฒนาเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพด้านพลังงานเป็นสิ่งสำคัญ

    https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/04/14/report-soaring-demand-for-ai-chips-fuels-power-usage
    ข่าวนี้เล่าถึงความต้องการที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของชิป AI ซึ่งส่งผลกระทบต่อการใช้พลังงานทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศที่ยังพึ่งพาเชื้อเพลิงฟอสซิล Greenpeace รายงานว่าการผลิตชิป AI ใช้พลังงานไฟฟ้าถึง 984 กิกะวัตต์ชั่วโมงในปี 2024 ซึ่งเพิ่มขึ้นกว่า 350% จากปี 2023 และการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากการผลิตไฟฟ้าเพิ่มขึ้นถึง 453,600 เมตริกตันในปีเดียวกัน การผลิตชิป AI มีความต้องการพลังงานสูง โดยโรงงานผลิตขนาดใหญ่สามารถใช้ไฟฟ้าได้ถึง 100 เมกะวัตต์ชั่วโมงต่อชั่วโมง นอกจากนี้ Greenpeace ยังเตือนว่าความต้องการไฟฟ้าสำหรับการผลิตชิป AI อาจเพิ่มขึ้นถึง 37,238 กิกะวัตต์ชั่วโมงภายในปี 2030 ซึ่งมากกว่าการใช้ไฟฟ้าทั้งหมดของประเทศไอร์แลนด์ในปัจจุบัน ✅ ผลกระทบจากการผลิตชิป AI - การผลิตชิป AI ใช้พลังงานไฟฟ้าถึง 984 กิกะวัตต์ชั่วโมงในปี 2024 - การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้นถึง 453,600 เมตริกตันในปีเดียวกัน ✅ ความต้องการพลังงานในอนาคต - ความต้องการไฟฟ้าสำหรับการผลิตชิป AI อาจเพิ่มขึ้นถึง 37,238 กิกะวัตต์ชั่วโมงภายในปี 2030 - มากกว่าการใช้ไฟฟ้าทั้งหมดของประเทศไอร์แลนด์ในปัจจุบัน ✅ บทบาทของบริษัทเทคโนโลยี - บริษัทเช่น Nvidia, Microsoft, Meta และ Google ถูกเรียกร้องให้สนับสนุนการใช้พลังงานหมุนเวียน - TSMC กำลังเปลี่ยนไปใช้พลังงานหมุนเวียน แต่ยังมีความล่าช้า ℹ️ ความเสี่ยงต่อสิ่งแวดล้อม - การผลิตชิป AI มีความต้องการพลังงานสูงและเพิ่มการปล่อยก๊าซเรือนกระจก - การพึ่งพาเชื้อเพลิงฟอสซิลในประเทศผู้ผลิตอาจเพิ่มผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ℹ️ คำแนะนำเพื่อความยั่งยืน - บริษัทเทคโนโลยีควรสนับสนุนการใช้พลังงานหมุนเวียนในห่วงโซ่อุปทาน - การพัฒนาเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพด้านพลังงานเป็นสิ่งสำคัญ https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/04/14/report-soaring-demand-for-ai-chips-fuels-power-usage
    WWW.THESTAR.COM.MY
    Report: Soaring demand for AI chips fuels power usage
    Growing demand for the semiconductor chips that power artificial intelligence is driving soaring electricity use, particularly in countries that rely on fossil fuels for power, environmental group Greenpeace warned.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 98 มุมมอง 0 รีวิว
  • ข่าวนี้เล่าถึงผลกระทบของปัญญาประดิษฐ์ (AI) ต่อการทำงานในองค์กร โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงวิธีการทำงานร่วมกันและการลดช่องว่างด้านประสบการณ์ระหว่างพนักงาน

    การศึกษาโดย Procter & Gamble ร่วมกับนักวิจัยจาก Harvard, Wharton และ Digital Data Design Institute พบว่า AI เช่น GPT-4 สามารถช่วยให้พนักงานที่มีประสบการณ์น้อยทำงานได้ในระดับเดียวกับพนักงานที่มีประสบการณ์มาก นอกจากนี้ AI ยังช่วยลดความเครียด เพิ่มความกระตือรือร้น และพลังงานในการทำงาน อย่างไรก็ตาม การนำ AI มาใช้ยังมีอุปสรรค เช่น ความไม่เท่าเทียมในการเข้าถึง AI และความกังวลด้านจริยธรรม โดยเฉพาะในกลุ่มผู้หญิงที่มีอัตราการใช้งาน AI ต่ำกว่าผู้ชาย

    บทความยังเน้นถึงบทบาทขององค์กรในการสร้างความเท่าเทียมในการเข้าถึง AI และการส่งเสริมการใช้งานในสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยและโปร่งใส เพื่อให้ AI เป็นเครื่องมือที่ช่วยเสริมทักษะและสร้างความร่วมมือในองค์กร

    ✅ ผลกระทบของ AI ต่อการทำงาน
    - AI ช่วยให้พนักงานที่มีประสบการณ์น้อยทำงานได้ในระดับเดียวกับพนักงานที่มีประสบการณ์มาก
    - ลดความเครียด เพิ่มความกระตือรือร้น และพลังงานในการทำงาน

    ✅ อุปสรรคในการนำ AI มาใช้
    - ความไม่เท่าเทียมในการเข้าถึง AI โดยเฉพาะในกลุ่มผู้หญิง
    - ความกังวลด้านจริยธรรมและการใช้งาน AI

    ✅ บทบาทขององค์กร
    - สร้างความเท่าเทียมในการเข้าถึง AI
    - ส่งเสริมการใช้งานในสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยและโปร่งใส

    ℹ️ ความเสี่ยงจากการใช้งาน AI
    - การใช้งาน AI ที่ไม่เหมาะสมอาจเพิ่มความไม่เท่าเทียมในองค์กร
    - ความกังวลด้านจริยธรรมอาจลดความไว้วางใจในเทคโนโลยี

    ℹ️ คำแนะนำสำหรับองค์กร
    - สร้างการฝึกอบรมและการสนับสนุนเพื่อเพิ่มความมั่นใจในการใช้งาน AI
    - ส่งเสริมการใช้งาน AI ในลักษณะที่โปร่งใสและมีความรับผิดชอบ

    https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/04/14/could-artificial-intelligence-be-your-best-teammate-at-work
    ข่าวนี้เล่าถึงผลกระทบของปัญญาประดิษฐ์ (AI) ต่อการทำงานในองค์กร โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงวิธีการทำงานร่วมกันและการลดช่องว่างด้านประสบการณ์ระหว่างพนักงาน การศึกษาโดย Procter & Gamble ร่วมกับนักวิจัยจาก Harvard, Wharton และ Digital Data Design Institute พบว่า AI เช่น GPT-4 สามารถช่วยให้พนักงานที่มีประสบการณ์น้อยทำงานได้ในระดับเดียวกับพนักงานที่มีประสบการณ์มาก นอกจากนี้ AI ยังช่วยลดความเครียด เพิ่มความกระตือรือร้น และพลังงานในการทำงาน อย่างไรก็ตาม การนำ AI มาใช้ยังมีอุปสรรค เช่น ความไม่เท่าเทียมในการเข้าถึง AI และความกังวลด้านจริยธรรม โดยเฉพาะในกลุ่มผู้หญิงที่มีอัตราการใช้งาน AI ต่ำกว่าผู้ชาย บทความยังเน้นถึงบทบาทขององค์กรในการสร้างความเท่าเทียมในการเข้าถึง AI และการส่งเสริมการใช้งานในสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยและโปร่งใส เพื่อให้ AI เป็นเครื่องมือที่ช่วยเสริมทักษะและสร้างความร่วมมือในองค์กร ✅ ผลกระทบของ AI ต่อการทำงาน - AI ช่วยให้พนักงานที่มีประสบการณ์น้อยทำงานได้ในระดับเดียวกับพนักงานที่มีประสบการณ์มาก - ลดความเครียด เพิ่มความกระตือรือร้น และพลังงานในการทำงาน ✅ อุปสรรคในการนำ AI มาใช้ - ความไม่เท่าเทียมในการเข้าถึง AI โดยเฉพาะในกลุ่มผู้หญิง - ความกังวลด้านจริยธรรมและการใช้งาน AI ✅ บทบาทขององค์กร - สร้างความเท่าเทียมในการเข้าถึง AI - ส่งเสริมการใช้งานในสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยและโปร่งใส ℹ️ ความเสี่ยงจากการใช้งาน AI - การใช้งาน AI ที่ไม่เหมาะสมอาจเพิ่มความไม่เท่าเทียมในองค์กร - ความกังวลด้านจริยธรรมอาจลดความไว้วางใจในเทคโนโลยี ℹ️ คำแนะนำสำหรับองค์กร - สร้างการฝึกอบรมและการสนับสนุนเพื่อเพิ่มความมั่นใจในการใช้งาน AI - ส่งเสริมการใช้งาน AI ในลักษณะที่โปร่งใสและมีความรับผิดชอบ https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/04/14/could-artificial-intelligence-be-your-best-teammate-at-work
    WWW.THESTAR.COM.MY
    Could artificial intelligence be your best teammate at work?
    More than two years after ChatGPT burst onto the scene, companies are still struggling to make the technological transition. However, a growing number of trials are showing that artificial intelligence is not just about automating tasks.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 77 มุมมอง 0 รีวิว
  • เครื่องกระตุ้นหัวใจนี้มีขนาดเล็กกว่าเมล็ดข้าว และสามารถฉีดเข้าสู่ร่างกายได้โดยไม่ต้องผ่าตัด ตัวเครื่องถูกออกแบบมาเพื่อการใช้งานชั่วคราว โดยเฉพาะในเด็กแรกเกิดที่มีปัญหาหัวใจพิการแต่กำเนิด อุปกรณ์นี้ทำงานร่วมกับอุปกรณ์สวมใส่แบบไร้สายที่ติดอยู่บนหน้าอกของผู้ป่วย ซึ่งจะตรวจจับการเต้นของหัวใจและส่งสัญญาณแสงเพื่อกระตุ้นเครื่องกระตุ้นหัวใจเมื่อพบการเต้นผิดปกติ

    จุดเด่นของเครื่องกระตุ้นหัวใจนี้คือความสามารถในการละลายตัวเองเมื่อหมดหน้าที่ โดยวัสดุที่ใช้ทั้งหมดเป็นวัสดุที่เข้ากันได้กับร่างกายมนุษย์ ทำให้ไม่ต้องมีการผ่าตัดเพื่อเอาออก

    การพัฒนานี้มีเป้าหมายเพื่อช่วยเหลือเด็กแรกเกิดที่ต้องการการกระตุ้นหัวใจชั่วคราวหลังการผ่าตัด ซึ่งในช่วงเวลาประมาณ 7 วัน หัวใจของเด็กส่วนใหญ่จะสามารถฟื้นตัวได้เอง

    ✅ การพัฒนาเครื่องกระตุ้นหัวใจขนาดเล็กที่สุดในโลก
    - เครื่องกระตุ้นหัวใจมีขนาดเล็กกว่าเมล็ดข้าวและสามารถฉีดเข้าสู่ร่างกายได้
    - ใช้พลังงานจากแสงและทำงานร่วมกับอุปกรณ์สวมใส่แบบไร้สาย

    ✅ จุดเด่นของเครื่องกระตุ้นหัวใจ
    - สามารถละลายตัวเองเมื่อหมดหน้าที่
    - วัสดุที่ใช้เป็นวัสดุที่เข้ากันได้กับร่างกายมนุษย์

    ✅ การใช้งานในเด็กแรกเกิด
    - ออกแบบมาเพื่อช่วยเหลือเด็กแรกเกิดที่มีปัญหาหัวใจพิการแต่กำเนิด
    - ช่วยกระตุ้นหัวใจในช่วงเวลาประมาณ 7 วันหลังการผ่าตัด

    ℹ️ ข้อจำกัดของเทคโนโลยี
    - การใช้งานต้องมีอุปกรณ์สวมใส่แบบไร้สายที่ติดอยู่บนหน้าอก
    - อาจต้องมีการปรับปรุงเพื่อรองรับการใช้งานในผู้ป่วยกลุ่มอื่น

    ℹ️ ผลกระทบต่อวงการแพทย์
    - เทคโนโลยีนี้อาจช่วยลดความเสี่ยงจากการผ่าตัดเอาเครื่องกระตุ้นหัวใจออก
    - การพัฒนาเพิ่มเติมอาจช่วยให้เทคโนโลยีนี้เข้าถึงผู้ป่วยได้มากขึ้น

    https://www.neowin.net/news/this-smaller-than-a-single-grain-of-rice-light-powered-pacemaker-is-the-worlds-smallest/
    เครื่องกระตุ้นหัวใจนี้มีขนาดเล็กกว่าเมล็ดข้าว และสามารถฉีดเข้าสู่ร่างกายได้โดยไม่ต้องผ่าตัด ตัวเครื่องถูกออกแบบมาเพื่อการใช้งานชั่วคราว โดยเฉพาะในเด็กแรกเกิดที่มีปัญหาหัวใจพิการแต่กำเนิด อุปกรณ์นี้ทำงานร่วมกับอุปกรณ์สวมใส่แบบไร้สายที่ติดอยู่บนหน้าอกของผู้ป่วย ซึ่งจะตรวจจับการเต้นของหัวใจและส่งสัญญาณแสงเพื่อกระตุ้นเครื่องกระตุ้นหัวใจเมื่อพบการเต้นผิดปกติ จุดเด่นของเครื่องกระตุ้นหัวใจนี้คือความสามารถในการละลายตัวเองเมื่อหมดหน้าที่ โดยวัสดุที่ใช้ทั้งหมดเป็นวัสดุที่เข้ากันได้กับร่างกายมนุษย์ ทำให้ไม่ต้องมีการผ่าตัดเพื่อเอาออก การพัฒนานี้มีเป้าหมายเพื่อช่วยเหลือเด็กแรกเกิดที่ต้องการการกระตุ้นหัวใจชั่วคราวหลังการผ่าตัด ซึ่งในช่วงเวลาประมาณ 7 วัน หัวใจของเด็กส่วนใหญ่จะสามารถฟื้นตัวได้เอง ✅ การพัฒนาเครื่องกระตุ้นหัวใจขนาดเล็กที่สุดในโลก - เครื่องกระตุ้นหัวใจมีขนาดเล็กกว่าเมล็ดข้าวและสามารถฉีดเข้าสู่ร่างกายได้ - ใช้พลังงานจากแสงและทำงานร่วมกับอุปกรณ์สวมใส่แบบไร้สาย ✅ จุดเด่นของเครื่องกระตุ้นหัวใจ - สามารถละลายตัวเองเมื่อหมดหน้าที่ - วัสดุที่ใช้เป็นวัสดุที่เข้ากันได้กับร่างกายมนุษย์ ✅ การใช้งานในเด็กแรกเกิด - ออกแบบมาเพื่อช่วยเหลือเด็กแรกเกิดที่มีปัญหาหัวใจพิการแต่กำเนิด - ช่วยกระตุ้นหัวใจในช่วงเวลาประมาณ 7 วันหลังการผ่าตัด ℹ️ ข้อจำกัดของเทคโนโลยี - การใช้งานต้องมีอุปกรณ์สวมใส่แบบไร้สายที่ติดอยู่บนหน้าอก - อาจต้องมีการปรับปรุงเพื่อรองรับการใช้งานในผู้ป่วยกลุ่มอื่น ℹ️ ผลกระทบต่อวงการแพทย์ - เทคโนโลยีนี้อาจช่วยลดความเสี่ยงจากการผ่าตัดเอาเครื่องกระตุ้นหัวใจออก - การพัฒนาเพิ่มเติมอาจช่วยให้เทคโนโลยีนี้เข้าถึงผู้ป่วยได้มากขึ้น https://www.neowin.net/news/this-smaller-than-a-single-grain-of-rice-light-powered-pacemaker-is-the-worlds-smallest/
    WWW.NEOWIN.NET
    This "smaller than a single grain of rice" light-powered pacemaker is the world's smallest
    The "world's smallest pacemaker" has been developed, and it is even "smaller than a single grain of rice". It needs light for activation.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 58 มุมมอง 0 รีวิว
  • เพจดังแสดงจุดยืน 'ค้านกาสิโน' เอาใจช่วย 'พีระพันธุ์' แก้พลังงาน ชี้มีการใช้สื่อฯ อินฟลูฯ โจมตีมาสักระยะแล้ว
    https://www.thai-tai.tv/news/18154/
    เพจดังแสดงจุดยืน 'ค้านกาสิโน' เอาใจช่วย 'พีระพันธุ์' แก้พลังงาน ชี้มีการใช้สื่อฯ อินฟลูฯ โจมตีมาสักระยะแล้ว https://www.thai-tai.tv/news/18154/
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 57 มุมมอง 0 รีวิว
  • ข่าวนี้เล่าถึงการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ที่น่าตื่นเต้นในวงการเซมิคอนดักเตอร์ โดยบริษัทเทคโนโลยีชั้นนำของญี่ปุ่น ได้แก่ Kioxia, AIO Core และ Kyocera ได้ร่วมมือกันพัฒนา Broadband Optical SSD ซึ่งเป็น SSD ที่ใช้การเชื่อมต่อแบบออปติคัลแทนการเชื่อมต่อแบบไฟฟ้า

    Broadband Optical SSD นี้ถูกออกแบบมาเพื่อรองรับการใช้งานในศูนย์ข้อมูลขนาดใหญ่ที่ต้องการการจัดการข้อมูลปริมาณมหาศาล เช่น การประมวลผล AI และการจัดเก็บข้อมูลในระดับเพตะไบต์ การใช้การเชื่อมต่อแบบออปติคัลช่วยลดข้อจำกัดทางกายภาพของการเชื่อมต่อแบบไฟฟ้า และยังช่วยลดการใช้พลังงานได้ถึง 40% เมื่อเทียบกับระบบปัจจุบัน

    โครงการนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาเทคโนโลยีศูนย์ข้อมูลสีเขียวของญี่ปุ่น (Next Generation Green Data Center Technology Development) ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากองค์กร NEDO โดยมีเป้าหมายเพื่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลที่มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

    ✅ การพัฒนา Broadband Optical SSD
    - พัฒนาโดย Kioxia, AIO Core และ Kyocera
    - ใช้การเชื่อมต่อแบบออปติคัลแทนการเชื่อมต่อแบบไฟฟ้า

    ✅ ประโยชน์ของเทคโนโลยีนี้
    - รองรับการใช้งานในศูนย์ข้อมูลขนาดใหญ่
    - ลดการใช้พลังงานได้ถึง 40%

    ✅ โครงการพัฒนาเทคโนโลยีศูนย์ข้อมูลสีเขียว
    - เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Next Generation Green Data Center Technology Development
    - ได้รับการสนับสนุนจากองค์กร NEDO

    ℹ️ ข้อจำกัดของเทคโนโลยี
    - การพัฒนาเทคโนโลยีนี้ยังอยู่ในขั้นตอนต้นแบบ
    - อาจต้องใช้เวลาและทรัพยากรเพิ่มเติมในการทดสอบและปรับปรุง

    ℹ️ ผลกระทบต่ออุตสาหกรรม
    - การเปลี่ยนแปลงนี้อาจเพิ่มแรงกดดันให้บริษัทอื่นๆ ต้องปรับตัว
    - การแข่งขันในวงการเซมิคอนดักเตอร์อาจเข้มข้นขึ้น

    https://www.techradar.com/pro/its-broadband-jim-but-not-as-we-know-it-japanese-tech-giants-are-developing-a-broadband-optical-ssd-for-data-centers
    ข่าวนี้เล่าถึงการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ที่น่าตื่นเต้นในวงการเซมิคอนดักเตอร์ โดยบริษัทเทคโนโลยีชั้นนำของญี่ปุ่น ได้แก่ Kioxia, AIO Core และ Kyocera ได้ร่วมมือกันพัฒนา Broadband Optical SSD ซึ่งเป็น SSD ที่ใช้การเชื่อมต่อแบบออปติคัลแทนการเชื่อมต่อแบบไฟฟ้า Broadband Optical SSD นี้ถูกออกแบบมาเพื่อรองรับการใช้งานในศูนย์ข้อมูลขนาดใหญ่ที่ต้องการการจัดการข้อมูลปริมาณมหาศาล เช่น การประมวลผล AI และการจัดเก็บข้อมูลในระดับเพตะไบต์ การใช้การเชื่อมต่อแบบออปติคัลช่วยลดข้อจำกัดทางกายภาพของการเชื่อมต่อแบบไฟฟ้า และยังช่วยลดการใช้พลังงานได้ถึง 40% เมื่อเทียบกับระบบปัจจุบัน โครงการนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาเทคโนโลยีศูนย์ข้อมูลสีเขียวของญี่ปุ่น (Next Generation Green Data Center Technology Development) ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากองค์กร NEDO โดยมีเป้าหมายเพื่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลที่มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ✅ การพัฒนา Broadband Optical SSD - พัฒนาโดย Kioxia, AIO Core และ Kyocera - ใช้การเชื่อมต่อแบบออปติคัลแทนการเชื่อมต่อแบบไฟฟ้า ✅ ประโยชน์ของเทคโนโลยีนี้ - รองรับการใช้งานในศูนย์ข้อมูลขนาดใหญ่ - ลดการใช้พลังงานได้ถึง 40% ✅ โครงการพัฒนาเทคโนโลยีศูนย์ข้อมูลสีเขียว - เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Next Generation Green Data Center Technology Development - ได้รับการสนับสนุนจากองค์กร NEDO ℹ️ ข้อจำกัดของเทคโนโลยี - การพัฒนาเทคโนโลยีนี้ยังอยู่ในขั้นตอนต้นแบบ - อาจต้องใช้เวลาและทรัพยากรเพิ่มเติมในการทดสอบและปรับปรุง ℹ️ ผลกระทบต่ออุตสาหกรรม - การเปลี่ยนแปลงนี้อาจเพิ่มแรงกดดันให้บริษัทอื่นๆ ต้องปรับตัว - การแข่งขันในวงการเซมิคอนดักเตอร์อาจเข้มข้นขึ้น https://www.techradar.com/pro/its-broadband-jim-but-not-as-we-know-it-japanese-tech-giants-are-developing-a-broadband-optical-ssd-for-data-centers
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 116 มุมมอง 0 รีวิว
  • เปิดตัวอย่างเป็นทางการหนังสือ Fail Fast, Succeed More ล้มให้เร็ว สำเร็จให้สุด

    “เคล็ดลับสู่ความสำเร็จแบบก้าวกระโดด ด้วยการเรียนรู้จากความล้มเหลว
    เพราะความล้มเหลวคือจิ๊กซอร์หนึ่งของความสำเร็จ”

    ดร.สุวัฒน์ ทองธนากุล บรรณาธิการ Green Innovation & SD Manager Online กรรมการสถาบันป๋วย อึ๊งภากรณ์ (ท่านที่ 2 จากซ้าย) อาจารย์ทวีภูมิ วิบรรณ์ ผู้ก่อตั้ง ProActive Forum (ท่านที่ 1 จากซ้าย) พ.ต.ท. ดร.คมกริช ศิลาทอง นักวิเทศสัมพันธ์ชำนาญการ สำนักประสานความร่วมมือระหว่างประเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน (ท่านที่ 1 จากขวา) ดร.ศรินนา แก้วสีเคน กรรมการเดชฤทธิ์ กรุ๊ป, 10X Consulting และผู้ก่อตั้งกิจการเพื่อสังคมสานฝันปันใจให้น้อง (ท่านที่ 2 จากขวา) คุณจารุวรรณ เวชตระกูล บรรณาธิการบริหาร สำนักพิมพ์วิช (ท่านที่ 3 จากขวา) คุณศิริรัตน์ ไชยาริพันธ์ ผู้จัดการฝ่ายจัดจำหน่าย บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน) (ท่านที่ 4 จากขวา) ร่วมเป็นเกียรติในงานเปิดตัวผลงานหนังสือล่าสุดของ ศาสตราจารย์พิศิษฐ์ ดร.วสิษฐ์พรหมบุตร (ท่านที่ 3 จากซ้าย) ที่ปรึกษา โค้ช วิทยากร และนักวิชาการผู้เชี่ยวชาญด้านกลยุทธ์การพัฒนาการจัดการองค์กร จากแบรนด์ 10X Consulting (www.10-xconsulting.com) ซึ่งมีผลงานการให้คำปรึกษาแนะนำเพื่อพัฒนาศักยภาพทั้งในระดับบุคคล ทีม และองค์กรชั้นนำกว่า 500 องค์กร ใน 21 อุตสาหกรรม ครอบคลุมกลุ่มบริษัท บริษัทมหาชน บริษัทจำกัดในอุตสาหกรรมผลิต พลังงาน การสื่อสาร - โทรคมนาคม เทคโนโลยีดิจิทัล ค้าปลีก อสังหาริมทรัพย์ การบริการ/มหาวิทยาลัย/สถาบันการศึกษา/ รัฐวิสาหกิจ 10 อันดับแรกที่ส่งรายได้สูงสุด/หน่วยงานภาครัฐระดับกระทรวง และส่วนราชการในสังกัดทั้งส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น/สถาบันอิสระ/องค์กรไม่แสวงหากำไร/โครงการพระราชดำริ และเป็นที่ปรึกษา พี่เลี้ยง และโค้ชส่วนตัวแก่ผู้บริหาร และผู้นำมากกว่า 10,000 คน

    ในยุคที่สังคมเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และผู้คนก็กระหายความสำเร็จ และมุ่งหวังความเจริญเติบโต การเรียนรู้จากการล้ม และการฝึกกระบวนการในการสร้างความสำเร็จจึงเป็นเรื่องจำเป็นและทั้งหมดนี้ต้องเป็นไปอย่างรวดเร็ว รอช้าไม่ได้

    ปัจจุบันนี้ องค์กร หน่วยงาน ทีมต่างๆ ไม่เว้นแม้กระทั่งตัวบุคคล ล้วนเผชิญกับความท้าทายมากมาย ทั้งการแข่งขันที่ดุเดือด เทคโนโลยีที่พัฒนาอย่างรวดเร็ว และพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา การยึดติดกับวิธีการเดิมๆ หรือกลัวความล้มเหลว อาจทำให้ตัวคุณ ทีม หน่วยงาน และองค์กรตกขบวนได้

    หนังสือ "Fall Fast, Succeed More ล้มให้เร็ว สำเร็จให้สุด" ได้รับแรงบันดาลใจจากการได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับ ผู้นำทีม ผู้จัดการหน่วยงาน ผู้บริหารองค์กร ผู้ประกอบการ เจ้าของธุรกิจ ผู้ก่อตั้งองค์กรทั้งในและต่างประเทศ รวมทั้งบุคคล ที่รัก และชื่นชอบการพัฒนาตนเอง นับหมื่นคนที่มอบโอกาสและความไว้วางใจให้มีส่วนร่วมสร้างสรรค์ผลงาน ทำให้เห็นถึงความสำคัญของการทดลองสิ่งใหม่ๆ การเรียนรู้จากความล้มเหลว และการปรับตัวอย่างรวดเร็ว ซึ่งทำให้เกิดการพัฒนาสร้างการเติบโตนับ 10 เท่า (10X) และการปรับปรุง - พัฒนาอย่างต่อเนื่อง

    หนังสือเล่มนี้เหมาะสำหรับผู้นำทีม ผู้จัดการ ผู้บริหาร เจ้าของธุรกิจ และผู้ก่อตั้ง ที่ต้องการพัฒนา ทีมงาน หน่วยงาน และองค์กร ควบคู่กับการพัฒนาตนเอง ให้เป็นผู้สร้างการเติบโตอย่างก้าวกระโดด โดยผู้อ่านจะได้เรียนรู้กลยุทธ์และเทคนิคในการ "ล้มให้เร็ว" และ "สำเร็จให้สุด" ภายในเล่ม ผู้อ่านจะได้พบกับ

    1. เครื่องมือและเทคนิค ที่จะช่วยให้คุณ "ล้ม" อุปสรรคต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นความกลัวความล้มเหลว การขาดความคิดสร้างสรรค์ หรือวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่เอื้อต่อต่อการเปลี่ยนแปลง
    2. กลยุทธ์ในการ "เร่ง" สู่ความสำเร็จในแบบ 10X ด้วยการปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาศักยภาพของบุคคล ทีม หน่วยงาน และองค์กร

    ด้วยเนื้อหาที่เข้มขันแต่เข้าใจง่าย ผู้อ่านจะได้เรียนรู้วิธีคิดและวิธีปฏิบัติแบบใหม่ๆ ที่จะช่วย "ปลดล็อก" ศักยภาพที่ซ่อนอยู่ภายในตัวคุณและองค์กร ไม่ว่าคุณจะกำลังเผชิญกับความท้าทายใดในชีวิต และธุรกิจการงาน

    หากคุณพร้อมที่จะก้าวข้ามขีดจำกัดเดิมๆ และพุ่งทะยานสู่ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่กว่าเดิม ด้วยการถอดแบบความสำเร็จแบบ "Fall Fast, Succeed More ล้มให้เร็ว สำเร็จให้สุด" ราคา 299 บาท มีจำหน่ายที่ร้านหนังสือชั้นนำทั่วประเทศตั้งแต่วันที่ 21 เมษายน นี้เป็นต้นไป หรือสั่งซื้อทางออนไลน์ได้ที่ www.wishbookmaker.com สั่งซื้อจำนวนมากติดต่อที่ 02 – 418 - 2885

    ชมบรรยากาศการเปิดตัวหนังสือได้ที่ #FailFastSucceedMore

    #ล้มให้เร็วสำเร็จให้สุด
    #เพราะความล้มเหลวคือจิ๊กซอร์หนึ่งของความสำเร็จ
    #เผยเทคนิคล้มอย่างไรให้สำเร็จได้อย่างสุดๆ
    เปิดตัวอย่างเป็นทางการหนังสือ Fail Fast, Succeed More ล้มให้เร็ว สำเร็จให้สุด “เคล็ดลับสู่ความสำเร็จแบบก้าวกระโดด ด้วยการเรียนรู้จากความล้มเหลว เพราะความล้มเหลวคือจิ๊กซอร์หนึ่งของความสำเร็จ” ดร.สุวัฒน์ ทองธนากุล บรรณาธิการ Green Innovation & SD Manager Online กรรมการสถาบันป๋วย อึ๊งภากรณ์ (ท่านที่ 2 จากซ้าย) อาจารย์ทวีภูมิ วิบรรณ์ ผู้ก่อตั้ง ProActive Forum (ท่านที่ 1 จากซ้าย) พ.ต.ท. ดร.คมกริช ศิลาทอง นักวิเทศสัมพันธ์ชำนาญการ สำนักประสานความร่วมมือระหว่างประเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน (ท่านที่ 1 จากขวา) ดร.ศรินนา แก้วสีเคน กรรมการเดชฤทธิ์ กรุ๊ป, 10X Consulting และผู้ก่อตั้งกิจการเพื่อสังคมสานฝันปันใจให้น้อง (ท่านที่ 2 จากขวา) คุณจารุวรรณ เวชตระกูล บรรณาธิการบริหาร สำนักพิมพ์วิช (ท่านที่ 3 จากขวา) คุณศิริรัตน์ ไชยาริพันธ์ ผู้จัดการฝ่ายจัดจำหน่าย บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน) (ท่านที่ 4 จากขวา) ร่วมเป็นเกียรติในงานเปิดตัวผลงานหนังสือล่าสุดของ ศาสตราจารย์พิศิษฐ์ ดร.วสิษฐ์พรหมบุตร (ท่านที่ 3 จากซ้าย) ที่ปรึกษา โค้ช วิทยากร และนักวิชาการผู้เชี่ยวชาญด้านกลยุทธ์การพัฒนาการจัดการองค์กร จากแบรนด์ 10X Consulting (www.10-xconsulting.com) ซึ่งมีผลงานการให้คำปรึกษาแนะนำเพื่อพัฒนาศักยภาพทั้งในระดับบุคคล ทีม และองค์กรชั้นนำกว่า 500 องค์กร ใน 21 อุตสาหกรรม ครอบคลุมกลุ่มบริษัท บริษัทมหาชน บริษัทจำกัดในอุตสาหกรรมผลิต พลังงาน การสื่อสาร - โทรคมนาคม เทคโนโลยีดิจิทัล ค้าปลีก อสังหาริมทรัพย์ การบริการ/มหาวิทยาลัย/สถาบันการศึกษา/ รัฐวิสาหกิจ 10 อันดับแรกที่ส่งรายได้สูงสุด/หน่วยงานภาครัฐระดับกระทรวง และส่วนราชการในสังกัดทั้งส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น/สถาบันอิสระ/องค์กรไม่แสวงหากำไร/โครงการพระราชดำริ และเป็นที่ปรึกษา พี่เลี้ยง และโค้ชส่วนตัวแก่ผู้บริหาร และผู้นำมากกว่า 10,000 คน ในยุคที่สังคมเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และผู้คนก็กระหายความสำเร็จ และมุ่งหวังความเจริญเติบโต การเรียนรู้จากการล้ม และการฝึกกระบวนการในการสร้างความสำเร็จจึงเป็นเรื่องจำเป็นและทั้งหมดนี้ต้องเป็นไปอย่างรวดเร็ว รอช้าไม่ได้ ปัจจุบันนี้ องค์กร หน่วยงาน ทีมต่างๆ ไม่เว้นแม้กระทั่งตัวบุคคล ล้วนเผชิญกับความท้าทายมากมาย ทั้งการแข่งขันที่ดุเดือด เทคโนโลยีที่พัฒนาอย่างรวดเร็ว และพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา การยึดติดกับวิธีการเดิมๆ หรือกลัวความล้มเหลว อาจทำให้ตัวคุณ ทีม หน่วยงาน และองค์กรตกขบวนได้ หนังสือ "Fall Fast, Succeed More ล้มให้เร็ว สำเร็จให้สุด" ได้รับแรงบันดาลใจจากการได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับ ผู้นำทีม ผู้จัดการหน่วยงาน ผู้บริหารองค์กร ผู้ประกอบการ เจ้าของธุรกิจ ผู้ก่อตั้งองค์กรทั้งในและต่างประเทศ รวมทั้งบุคคล ที่รัก และชื่นชอบการพัฒนาตนเอง นับหมื่นคนที่มอบโอกาสและความไว้วางใจให้มีส่วนร่วมสร้างสรรค์ผลงาน ทำให้เห็นถึงความสำคัญของการทดลองสิ่งใหม่ๆ การเรียนรู้จากความล้มเหลว และการปรับตัวอย่างรวดเร็ว ซึ่งทำให้เกิดการพัฒนาสร้างการเติบโตนับ 10 เท่า (10X) และการปรับปรุง - พัฒนาอย่างต่อเนื่อง หนังสือเล่มนี้เหมาะสำหรับผู้นำทีม ผู้จัดการ ผู้บริหาร เจ้าของธุรกิจ และผู้ก่อตั้ง ที่ต้องการพัฒนา ทีมงาน หน่วยงาน และองค์กร ควบคู่กับการพัฒนาตนเอง ให้เป็นผู้สร้างการเติบโตอย่างก้าวกระโดด โดยผู้อ่านจะได้เรียนรู้กลยุทธ์และเทคนิคในการ "ล้มให้เร็ว" และ "สำเร็จให้สุด" ภายในเล่ม ผู้อ่านจะได้พบกับ 1. เครื่องมือและเทคนิค ที่จะช่วยให้คุณ "ล้ม" อุปสรรคต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นความกลัวความล้มเหลว การขาดความคิดสร้างสรรค์ หรือวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่เอื้อต่อต่อการเปลี่ยนแปลง 2. กลยุทธ์ในการ "เร่ง" สู่ความสำเร็จในแบบ 10X ด้วยการปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาศักยภาพของบุคคล ทีม หน่วยงาน และองค์กร ด้วยเนื้อหาที่เข้มขันแต่เข้าใจง่าย ผู้อ่านจะได้เรียนรู้วิธีคิดและวิธีปฏิบัติแบบใหม่ๆ ที่จะช่วย "ปลดล็อก" ศักยภาพที่ซ่อนอยู่ภายในตัวคุณและองค์กร ไม่ว่าคุณจะกำลังเผชิญกับความท้าทายใดในชีวิต และธุรกิจการงาน หากคุณพร้อมที่จะก้าวข้ามขีดจำกัดเดิมๆ และพุ่งทะยานสู่ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่กว่าเดิม ด้วยการถอดแบบความสำเร็จแบบ "Fall Fast, Succeed More ล้มให้เร็ว สำเร็จให้สุด" ราคา 299 บาท มีจำหน่ายที่ร้านหนังสือชั้นนำทั่วประเทศตั้งแต่วันที่ 21 เมษายน นี้เป็นต้นไป หรือสั่งซื้อทางออนไลน์ได้ที่ www.wishbookmaker.com สั่งซื้อจำนวนมากติดต่อที่ 02 – 418 - 2885 ชมบรรยากาศการเปิดตัวหนังสือได้ที่ #FailFastSucceedMore #ล้มให้เร็วสำเร็จให้สุด #เพราะความล้มเหลวคือจิ๊กซอร์หนึ่งของความสำเร็จ #เผยเทคนิคล้มอย่างไรให้สำเร็จได้อย่างสุดๆ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 203 มุมมอง 0 รีวิว
  • ก่อนหยุดสงกรานต์นี้ ทางร้านได้ส่งช่างเข้าไปตรวจ - ซ่อมแซม
    #เครื่องอัดยาแคปซูล ที่ รพ.หัวเฉียว #แผนกแพทย์แผนจีน
    เป็นการตรวจงาน-ซ่อมแซม เครื่องจักร ช่วยทาง รพ.

    ย่งฮะเฮง เครื่องบด ย่อย หั่น สับ สไลซ์ คั้น อัด เลื่อย สำหรับ อาหาร ยา พลังงานหมุนเวียน

    สนใจสินค้าเครื่องไหน สามารถเข้ามาดูที่ร้านได้เลยนะคะ
    เวลาเปิดทำการ :
    จันทร์-ศุกร์ เวลา 8.00-17.00
    และวันเสาร์ เวลา 8.00-16.00
    แผนที่ https://maps.app.goo.gl/9oLTmzwbArzJy5wc7

    #เลือกคุณภาพ #เลือกBONNY ‼‼
    m.me/yonghahheng 👈🏻แชทเลย
    LINE Business ID : @yonghahheng (มี@ข้างหน้า)
    หรือ https://lin.ee/HV4lSKp
    02-215-3515-9 หรือ 081-3189098
    www.yoryonghahheng.com
    E-mail : sales@yoryonghahheng.com
    yonghahheng@gmail.com

    #กระทะสับ #สับผสม #ผสมทำลูกชิ้น #เครื่องทำลูกชิ้น #ปอกเปลือก #ปอกหอม #ปอกกระเทียม #เครื่องปอกเปลือก #เครื่องบด #บดหมู #เครื่องบดพริกแกง #เครื่องบดอาหาร #เครื่องบดโครงไก่ #เครื่องหั่นหมู #เครื่องหั่นพริกแห้ง #เครื่องหั่นพริก #หั่นพริกทอดกรอบ #แหนมหมู #หั่นปลาหมึกกรอบ #หั่นพริกทอดกรอบ #หั่นปลาดุก #สับผัก #หั่นใบไม้ #หั่นใบกะเพรา
    ก่อนหยุดสงกรานต์นี้ ทางร้านได้ส่งช่างเข้าไปตรวจ - ซ่อมแซม #เครื่องอัดยาแคปซูล ที่ รพ.หัวเฉียว #แผนกแพทย์แผนจีน เป็นการตรวจงาน-ซ่อมแซม เครื่องจักร ช่วยทาง รพ. ย่งฮะเฮง เครื่องบด ย่อย หั่น สับ สไลซ์ คั้น อัด เลื่อย สำหรับ อาหาร ยา พลังงานหมุนเวียน สนใจสินค้าเครื่องไหน สามารถเข้ามาดูที่ร้านได้เลยนะคะ เวลาเปิดทำการ : จันทร์-ศุกร์ เวลา 8.00-17.00 และวันเสาร์ เวลา 8.00-16.00 แผนที่ https://maps.app.goo.gl/9oLTmzwbArzJy5wc7 #เลือกคุณภาพ #เลือกBONNY ‼‼ m.me/yonghahheng 👈🏻แชทเลย LINE Business ID : @yonghahheng (มี@ข้างหน้า) หรือ https://lin.ee/HV4lSKp 02-215-3515-9 หรือ 081-3189098 www.yoryonghahheng.com E-mail : sales@yoryonghahheng.com yonghahheng@gmail.com #กระทะสับ #สับผสม #ผสมทำลูกชิ้น #เครื่องทำลูกชิ้น #ปอกเปลือก #ปอกหอม #ปอกกระเทียม #เครื่องปอกเปลือก #เครื่องบด #บดหมู #เครื่องบดพริกแกง #เครื่องบดอาหาร #เครื่องบดโครงไก่ #เครื่องหั่นหมู #เครื่องหั่นพริกแห้ง #เครื่องหั่นพริก #หั่นพริกทอดกรอบ #แหนมหมู #หั่นปลาหมึกกรอบ #หั่นพริกทอดกรอบ #หั่นปลาดุก #สับผัก #หั่นใบไม้ #หั่นใบกะเพรา
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 139 มุมมอง 0 รีวิว
  • ในเดือนธันวาคม 2024 เจ้าหน้าที่ระดับสูงของจีนได้ยอมรับอย่างไม่เป็นทางการว่าจีนมีส่วนเกี่ยวข้องกับการโจมตีไซเบอร์เหล่านี้ ซึ่งก่อนหน้านี้จีนเคยปฏิเสธข้อกล่าวหา การยอมรับนี้ถูกตีความโดยเจ้าหน้าที่สหรัฐฯ ว่าเป็นการส่งสัญญาณเตือนเกี่ยวกับการสนับสนุนของสหรัฐฯ ต่อไต้หวัน

    Volt Typhoon เป็นกลุ่มแฮกเกอร์ที่มีความสามารถในการเข้าถึงเครือข่ายของสหรัฐฯ เป็นเวลานาน โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมที่สำคัญ การโจมตีเหล่านี้สะท้อนถึงความตึงเครียดที่เพิ่มขึ้นระหว่างจีนและสหรัฐฯ ซึ่งอาจนำไปสู่การตอบโต้ทางไซเบอร์จากทั้งสองฝ่าย

    ✅ การยอมรับของจีนเกี่ยวกับ Volt Typhoon
    - เจ้าหน้าที่ระดับสูงของจีนยอมรับว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับการโจมตีไซเบอร์
    - การยอมรับนี้ถูกตีความว่าเป็นการส่งสัญญาณเตือนเกี่ยวกับไต้หวัน

    ✅ เป้าหมายของการโจมตี
    - Volt Typhoon มุ่งเป้าหมายไปยังโครงสร้างพื้นฐานสำคัญของสหรัฐฯ เช่น พลังงาน การสื่อสาร และการขนส่ง

    ✅ ความตึงเครียดระหว่างจีนและสหรัฐฯ
    - การโจมตีสะท้อนถึงความตึงเครียดที่เพิ่มขึ้นระหว่างสองประเทศ
    - อาจนำไปสู่การตอบโต้ทางไซเบอร์จากทั้งสองฝ่าย

    ℹ️ ความเสี่ยงต่อโครงสร้างพื้นฐาน
    - การโจมตีไซเบอร์อาจทำให้โครงสร้างพื้นฐานสำคัญของสหรัฐฯ เสี่ยงต่อการถูกทำลาย
    - การเข้าถึงเครือข่ายเป็นเวลานานอาจเพิ่มความเสียหายในระยะยาว

    ℹ️ ผลกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
    - ความตึงเครียดที่เพิ่มขึ้นอาจส่งผลต่อการเจรจาทางการค้าและความร่วมมือในอนาคต
    - การตอบโต้ทางไซเบอร์อาจเพิ่มความเสี่ยงต่อความปลอดภัยในระดับโลก

    https://www.techradar.com/pro/china-admits-behind-closed-doors-it-was-involved-in-volt-typhoon-attacks
    ในเดือนธันวาคม 2024 เจ้าหน้าที่ระดับสูงของจีนได้ยอมรับอย่างไม่เป็นทางการว่าจีนมีส่วนเกี่ยวข้องกับการโจมตีไซเบอร์เหล่านี้ ซึ่งก่อนหน้านี้จีนเคยปฏิเสธข้อกล่าวหา การยอมรับนี้ถูกตีความโดยเจ้าหน้าที่สหรัฐฯ ว่าเป็นการส่งสัญญาณเตือนเกี่ยวกับการสนับสนุนของสหรัฐฯ ต่อไต้หวัน Volt Typhoon เป็นกลุ่มแฮกเกอร์ที่มีความสามารถในการเข้าถึงเครือข่ายของสหรัฐฯ เป็นเวลานาน โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมที่สำคัญ การโจมตีเหล่านี้สะท้อนถึงความตึงเครียดที่เพิ่มขึ้นระหว่างจีนและสหรัฐฯ ซึ่งอาจนำไปสู่การตอบโต้ทางไซเบอร์จากทั้งสองฝ่าย ✅ การยอมรับของจีนเกี่ยวกับ Volt Typhoon - เจ้าหน้าที่ระดับสูงของจีนยอมรับว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับการโจมตีไซเบอร์ - การยอมรับนี้ถูกตีความว่าเป็นการส่งสัญญาณเตือนเกี่ยวกับไต้หวัน ✅ เป้าหมายของการโจมตี - Volt Typhoon มุ่งเป้าหมายไปยังโครงสร้างพื้นฐานสำคัญของสหรัฐฯ เช่น พลังงาน การสื่อสาร และการขนส่ง ✅ ความตึงเครียดระหว่างจีนและสหรัฐฯ - การโจมตีสะท้อนถึงความตึงเครียดที่เพิ่มขึ้นระหว่างสองประเทศ - อาจนำไปสู่การตอบโต้ทางไซเบอร์จากทั้งสองฝ่าย ℹ️ ความเสี่ยงต่อโครงสร้างพื้นฐาน - การโจมตีไซเบอร์อาจทำให้โครงสร้างพื้นฐานสำคัญของสหรัฐฯ เสี่ยงต่อการถูกทำลาย - การเข้าถึงเครือข่ายเป็นเวลานานอาจเพิ่มความเสียหายในระยะยาว ℹ️ ผลกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ - ความตึงเครียดที่เพิ่มขึ้นอาจส่งผลต่อการเจรจาทางการค้าและความร่วมมือในอนาคต - การตอบโต้ทางไซเบอร์อาจเพิ่มความเสี่ยงต่อความปลอดภัยในระดับโลก https://www.techradar.com/pro/china-admits-behind-closed-doors-it-was-involved-in-volt-typhoon-attacks
    WWW.TECHRADAR.COM
    China admits behind closed doors it was involved in Volt Typhoon attacks
    Chinese officials have privately claimed responsibility for the intrusions
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 111 มุมมอง 0 รีวิว
  • Elon Musk’s xAI กำลังเผชิญกับข้อวิจารณ์เกี่ยวกับการใช้เครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่ไม่ได้รับอนุญาตเพื่อให้พลังงานแก่ Colossus Supercomputer ซึ่งตั้งอยู่ใกล้เมืองเมมฟิส รัฐเทนเนสซี โดยเหตุการณ์นี้สร้างความกังวลด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพในพื้นที่

    ✅ การใช้เครื่องกำเนิดไฟฟ้า:
    - xAI ใช้เครื่องกำเนิดไฟฟ้าก๊าซมีเทนจำนวน 35 เครื่องเพื่อให้พลังงานแก่ Colossus Supercomputer ซึ่งมี GPU Nvidia H100 มากกว่า 100,000 ตัว
    - เครื่องกำเนิดไฟฟ้าเหล่านี้สามารถผลิตพลังงานได้ถึง 420 MW ซึ่งเพียงพอสำหรับการจ่ายไฟให้กับเมือง

    ✅ ปัญหาด้านการอนุญาต:
    - xAI ได้รับอนุญาตให้ใช้เครื่องกำเนิดไฟฟ้าเพียง 15 เครื่อง แต่มีการใช้งานมากกว่านั้นโดยไม่มีการอนุมัติ
    - บริษัทใช้ช่องโหว่ทางกฎหมายที่อนุญาตให้เครื่องกำเนิดไฟฟ้าทำงานได้โดยไม่ต้องมีใบอนุญาต หากไม่ได้ติดตั้งในที่เดียวเกิน 364 วัน

    ✅ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม:
    - เครื่องกำเนิดไฟฟ้าก๊าซมีเทนเป็นแหล่งมลพิษที่สำคัญและละเมิดกฎคุณภาพอากาศของรัฐบาลกลาง
    - กลุ่ม Southern Environmental Law Center เรียกร้องให้หน่วยงานด้านสุขภาพในพื้นที่หยุดการดำเนินงานและปรับบริษัท $25,000 ต่อวัน

    ✅ การตอบสนองของชุมชน:
    - ชาวบ้านและกลุ่มสิ่งแวดล้อมในพื้นที่แสดงความกังวลเกี่ยวกับผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม

    https://www.tomshardware.com/tech-industry/artificial-intelligence/elon-musks-xai-allegedly-powers-colossus-supercomputer-facility-using-illegal-generators
    Elon Musk’s xAI กำลังเผชิญกับข้อวิจารณ์เกี่ยวกับการใช้เครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่ไม่ได้รับอนุญาตเพื่อให้พลังงานแก่ Colossus Supercomputer ซึ่งตั้งอยู่ใกล้เมืองเมมฟิส รัฐเทนเนสซี โดยเหตุการณ์นี้สร้างความกังวลด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพในพื้นที่ ✅ การใช้เครื่องกำเนิดไฟฟ้า: - xAI ใช้เครื่องกำเนิดไฟฟ้าก๊าซมีเทนจำนวน 35 เครื่องเพื่อให้พลังงานแก่ Colossus Supercomputer ซึ่งมี GPU Nvidia H100 มากกว่า 100,000 ตัว - เครื่องกำเนิดไฟฟ้าเหล่านี้สามารถผลิตพลังงานได้ถึง 420 MW ซึ่งเพียงพอสำหรับการจ่ายไฟให้กับเมือง ✅ ปัญหาด้านการอนุญาต: - xAI ได้รับอนุญาตให้ใช้เครื่องกำเนิดไฟฟ้าเพียง 15 เครื่อง แต่มีการใช้งานมากกว่านั้นโดยไม่มีการอนุมัติ - บริษัทใช้ช่องโหว่ทางกฎหมายที่อนุญาตให้เครื่องกำเนิดไฟฟ้าทำงานได้โดยไม่ต้องมีใบอนุญาต หากไม่ได้ติดตั้งในที่เดียวเกิน 364 วัน ✅ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม: - เครื่องกำเนิดไฟฟ้าก๊าซมีเทนเป็นแหล่งมลพิษที่สำคัญและละเมิดกฎคุณภาพอากาศของรัฐบาลกลาง - กลุ่ม Southern Environmental Law Center เรียกร้องให้หน่วยงานด้านสุขภาพในพื้นที่หยุดการดำเนินงานและปรับบริษัท $25,000 ต่อวัน ✅ การตอบสนองของชุมชน: - ชาวบ้านและกลุ่มสิ่งแวดล้อมในพื้นที่แสดงความกังวลเกี่ยวกับผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม https://www.tomshardware.com/tech-industry/artificial-intelligence/elon-musks-xai-allegedly-powers-colossus-supercomputer-facility-using-illegal-generators
    WWW.TOMSHARDWARE.COM
    Elon Musk’s xAI allegedly uses illegal generators to power Colossus supercomputer facility
    A loophole enables the generators to be used for 364 days without a permit
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 142 มุมมอง 0 รีวิว
  • Maxwell Labs กำลังพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ที่ใช้เลเซอร์ในการระบายความร้อนจากชิปประมวลผล โดยเทคโนโลยีนี้มีศักยภาพในการเพิ่มประสิทธิภาพและลดการสูญเสียพลังงานในระบบคอมพิวเตอร์ขั้นสูง

    ✅ การใช้เลเซอร์ในการระบายความร้อน:
    - Maxwell Labs ใช้แผ่นเย็นที่ทำจาก Gallium Arsenide (GaAs) ซึ่งสามารถระบายความร้อนเมื่อได้รับแสงเลเซอร์ที่มีความยาวคลื่นเฉพาะ
    - เทคนิคนี้ช่วยระบายความร้อนเฉพาะจุดที่มีความร้อนสูงในชิปประมวลผล

    ✅ การเพิ่มประสิทธิภาพพลังงาน:
    - พลังงานความร้อนที่ถูกดึงออกจากชิปสามารถเปลี่ยนเป็นโฟตอนที่นำกลับมาใช้เป็นพลังงานไฟฟ้าได้
    - เทคโนโลยีนี้ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพพลังงานในระบบคอมพิวเตอร์

    ✅ ความท้าทายด้านต้นทุน:
    - การผลิต GaAs ที่มีความบริสุทธิ์สูงต้องใช้เทคนิคที่ซับซ้อนและมีต้นทุนสูง เช่น Molecular Beam Epitaxy (MBE)
    - แผ่น GaAs ขนาด 200 มม. มีราคาประมาณ $5,000 เทียบกับแผ่นซิลิคอนที่มีราคาเพียง $5

    ✅ สถานะปัจจุบันของโครงการ:
    - เทคโนโลยียังอยู่ในขั้นตอนการทดลองและการจำลอง โดยคาดว่าจะมีต้นแบบที่ใช้งานได้ในปี 2025

    ⚠️ ความท้าทายด้านการผลิต:
    - การผลิต GaAs ที่มีความบริสุทธิ์สูงอาจเป็นอุปสรรคต่อการนำเทคโนโลยีนี้ไปใช้ในเชิงพาณิชย์

    ⚠️ การพัฒนาเทคโนโลยี:
    - Maxwell Labs ควรเร่งการพัฒนาและทดสอบต้นแบบเพื่อพิสูจน์ความสามารถของเทคโนโลยีนี้

    ⚠️ การลดต้นทุน:
    - ควรมีการวิจัยเพิ่มเติมเพื่อหาวิธีลดต้นทุนการผลิต GaAs เพื่อให้เทคโนโลยีนี้สามารถเข้าถึงตลาดได้กว้างขึ้น

    https://www.tomshardware.com/tech-industry/cooling-chips-with-lasers-innovative-cooling-method-removes-heat-precisely-from-hot-spots-recycles-heat-into-energy
    Maxwell Labs กำลังพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ที่ใช้เลเซอร์ในการระบายความร้อนจากชิปประมวลผล โดยเทคโนโลยีนี้มีศักยภาพในการเพิ่มประสิทธิภาพและลดการสูญเสียพลังงานในระบบคอมพิวเตอร์ขั้นสูง ✅ การใช้เลเซอร์ในการระบายความร้อน: - Maxwell Labs ใช้แผ่นเย็นที่ทำจาก Gallium Arsenide (GaAs) ซึ่งสามารถระบายความร้อนเมื่อได้รับแสงเลเซอร์ที่มีความยาวคลื่นเฉพาะ - เทคนิคนี้ช่วยระบายความร้อนเฉพาะจุดที่มีความร้อนสูงในชิปประมวลผล ✅ การเพิ่มประสิทธิภาพพลังงาน: - พลังงานความร้อนที่ถูกดึงออกจากชิปสามารถเปลี่ยนเป็นโฟตอนที่นำกลับมาใช้เป็นพลังงานไฟฟ้าได้ - เทคโนโลยีนี้ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพพลังงานในระบบคอมพิวเตอร์ ✅ ความท้าทายด้านต้นทุน: - การผลิต GaAs ที่มีความบริสุทธิ์สูงต้องใช้เทคนิคที่ซับซ้อนและมีต้นทุนสูง เช่น Molecular Beam Epitaxy (MBE) - แผ่น GaAs ขนาด 200 มม. มีราคาประมาณ $5,000 เทียบกับแผ่นซิลิคอนที่มีราคาเพียง $5 ✅ สถานะปัจจุบันของโครงการ: - เทคโนโลยียังอยู่ในขั้นตอนการทดลองและการจำลอง โดยคาดว่าจะมีต้นแบบที่ใช้งานได้ในปี 2025 ⚠️ ความท้าทายด้านการผลิต: - การผลิต GaAs ที่มีความบริสุทธิ์สูงอาจเป็นอุปสรรคต่อการนำเทคโนโลยีนี้ไปใช้ในเชิงพาณิชย์ ⚠️ การพัฒนาเทคโนโลยี: - Maxwell Labs ควรเร่งการพัฒนาและทดสอบต้นแบบเพื่อพิสูจน์ความสามารถของเทคโนโลยีนี้ ⚠️ การลดต้นทุน: - ควรมีการวิจัยเพิ่มเติมเพื่อหาวิธีลดต้นทุนการผลิต GaAs เพื่อให้เทคโนโลยีนี้สามารถเข้าถึงตลาดได้กว้างขึ้น https://www.tomshardware.com/tech-industry/cooling-chips-with-lasers-innovative-cooling-method-removes-heat-precisely-from-hot-spots-recycles-heat-into-energy
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 82 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts