• จีนแสดง "กังวลอย่างยิ่ง" ต่อสถานการณ์ชายแดนไทย-กัมพูชา เรียกร้องเจรจาสันติวิธี
    https://www.thai-tai.tv/news/20504/
    .
    #ชายแดนไทยกัมพูชา #จีนกังวล #เจรจาสันติวิธี #สามเหลี่ยมมรกต #ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ #F16 #ปะ

    จีนแสดง "กังวลอย่างยิ่ง" ต่อสถานการณ์ชายแดนไทย-กัมพูชา เรียกร้องเจรจาสันติวิธี https://www.thai-tai.tv/news/20504/ . #ชายแดนไทยกัมพูชา #จีนกังวล #เจรจาสันติวิธี #สามเหลี่ยมมรกต #ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ #F16 #ปะ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 33 มุมมอง 0 รีวิว
  • **อ่าวไทย** มีทั้งผลกระทบทางบวกและลบต่อ**ประเทศจีน** โดยขึ้นอยู่กับมุมมองทางเศรษฐกิจ การเมือง และยุทธศาสตร์ ดังนี้:

    ---

    ### **ผลกระทบทางบวก (ประโยชน์ต่อจีน):**
    1. **เส้นทางขนส่งทางทะเลที่สำคัญ:**
    - อ่าวไทยเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางเดินเรือระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกและอินเดีย ซึ่งจีนพึ่งพาเพื่อการค้าและนำเข้าน้ำมันดิบจากตะวันออกกลาง/แอฟริกา (กว่า 80% ของน้ำมันดิบของจีนขนส่งทางทะเลผ่านช่องแคบมะละกา)
    - โครงการพัฒนาคลองกระ (Kra Canal) ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต (แม้ยังไม่มีความชัดเจน) อาจช่วยลดระยะทางขนส่งและลด "กับดักช่องแคบมะละกา" ซึ่งเป็นจุดอ่อนยุทธศาสตร์ของจีนได้

    2. **ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ:**
    - จีนลงทุนมหาศาลในประเทศรอบอ่าวไทย (ไทย, กัมพูชา, เวียดนาม) ผ่านโครงการ Belt and Road Initiative (BRI) เช่น ท่าเรือน้ำลึกศรีราชา (ไทย) เขตเศรษฐกิจพิเศษเสียมราฐ (กัมพูชา)
    - อ่าวไทยเป็นแหล่งประมงและพลังงาน (ก๊าซธรรมชาติ) ที่สำคัญ ซึ่งจีนมีส่วนร่วมในการสำรวจและพัฒนา

    3. **ความมั่นคงในภูมิภาค:**
    - จีนร่วมมือกับกองทัพเรือไทย/กัมพูชา ผ่านการฝึกรบร่วมและการสนับสนุนด้านเทคนิค เพื่อรักษาเสถียรภาพในอ่าวไทย ซึ่งส่งผลดีต่อความปลอดภัยของเส้นทางเดินเรือ

    ---

    ### **ผลกระทบทางลบ (ความท้าทายต่อจีน):**
    1. **ข้อพิพาทในทะเลจีนใต้:**
    - แม้อ่าวไทยไม่ใช่พื้นที่พิพาทโดยตรง แต่ความตึงเครียดในทะเลจีนใต้ (โดยเฉพาะกับเวียดนาม) ส่งผลต่อความสัมพันธ์ในภูมิภาค ซึ่งอาจกระทบต่อเสถียรภาพของอ่าวไทย

    2. **อิทธิพลของสหรัฐฯ:**
    - ไทยเป็นพันธมิตรทางทหารกับสหรัฐฯ การมีฐานทัพเรืออู่ตะเภาและการฝึกคอบร้าโกลด์ (Cobra Gold) อาจทำให้จีนกังวลเรื่องการขยายอิทธิพลของสหรัฐฯ ในอ่าวไทย

    3. **ภัยคุกคามทางทะเล:**
    - การโจรกรรมทางทะเล การค้ามนุษย์ และการลักลอบทำประมงผิดกฎหมายในอ่าวไทยอาจกระทบต่อเรือสินค้าของจีน

    4. **ปัญหาสิ่งแวดล้อม:**
    - มลภาวะและการกัดเซาะชายฝั่งในอ่าวไทยอาจส่งผลต่อระบบนิเวศที่จีนมีส่วนได้ส่วนเสีย เนื่องจากจีนลงทุนในโครงการโครงสร้างพื้นฐานชายฝั่ง

    ---

    ### **สรุป:**
    อ่าวไทยมี**ผลดีต่อจีน**ในด้านเศรษฐกิจและการขนส่งทางทะเล แต่ก็มี**ความเสี่ยง**ด้านความมั่นคงและภูมิรัฐศาสตร์ โดยจีนพยายามสร้างสมดุลผ่าน:
    - การลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน
    - ความร่วมมือทางทหารกับประเทศอ่าวไทย
    - การส่งเสริม BRI เพื่อขยายอิทธิพลทางเศรษฐกิจ

    ทั้งนี้ ผลกระทบที่แท้จริงขึ้นอยู่กับ**นโยบายของจีน** และ**สถานการณ์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้** โดยเฉพาะความสัมพันธ์กับไทย เวียดนาม และกัมพูชา
    **อ่าวไทย** มีทั้งผลกระทบทางบวกและลบต่อ**ประเทศจีน** โดยขึ้นอยู่กับมุมมองทางเศรษฐกิจ การเมือง และยุทธศาสตร์ ดังนี้: --- ### **ผลกระทบทางบวก (ประโยชน์ต่อจีน):** 1. **เส้นทางขนส่งทางทะเลที่สำคัญ:** - อ่าวไทยเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางเดินเรือระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกและอินเดีย ซึ่งจีนพึ่งพาเพื่อการค้าและนำเข้าน้ำมันดิบจากตะวันออกกลาง/แอฟริกา (กว่า 80% ของน้ำมันดิบของจีนขนส่งทางทะเลผ่านช่องแคบมะละกา) - โครงการพัฒนาคลองกระ (Kra Canal) ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต (แม้ยังไม่มีความชัดเจน) อาจช่วยลดระยะทางขนส่งและลด "กับดักช่องแคบมะละกา" ซึ่งเป็นจุดอ่อนยุทธศาสตร์ของจีนได้ 2. **ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ:** - จีนลงทุนมหาศาลในประเทศรอบอ่าวไทย (ไทย, กัมพูชา, เวียดนาม) ผ่านโครงการ Belt and Road Initiative (BRI) เช่น ท่าเรือน้ำลึกศรีราชา (ไทย) เขตเศรษฐกิจพิเศษเสียมราฐ (กัมพูชา) - อ่าวไทยเป็นแหล่งประมงและพลังงาน (ก๊าซธรรมชาติ) ที่สำคัญ ซึ่งจีนมีส่วนร่วมในการสำรวจและพัฒนา 3. **ความมั่นคงในภูมิภาค:** - จีนร่วมมือกับกองทัพเรือไทย/กัมพูชา ผ่านการฝึกรบร่วมและการสนับสนุนด้านเทคนิค เพื่อรักษาเสถียรภาพในอ่าวไทย ซึ่งส่งผลดีต่อความปลอดภัยของเส้นทางเดินเรือ --- ### **ผลกระทบทางลบ (ความท้าทายต่อจีน):** 1. **ข้อพิพาทในทะเลจีนใต้:** - แม้อ่าวไทยไม่ใช่พื้นที่พิพาทโดยตรง แต่ความตึงเครียดในทะเลจีนใต้ (โดยเฉพาะกับเวียดนาม) ส่งผลต่อความสัมพันธ์ในภูมิภาค ซึ่งอาจกระทบต่อเสถียรภาพของอ่าวไทย 2. **อิทธิพลของสหรัฐฯ:** - ไทยเป็นพันธมิตรทางทหารกับสหรัฐฯ การมีฐานทัพเรืออู่ตะเภาและการฝึกคอบร้าโกลด์ (Cobra Gold) อาจทำให้จีนกังวลเรื่องการขยายอิทธิพลของสหรัฐฯ ในอ่าวไทย 3. **ภัยคุกคามทางทะเล:** - การโจรกรรมทางทะเล การค้ามนุษย์ และการลักลอบทำประมงผิดกฎหมายในอ่าวไทยอาจกระทบต่อเรือสินค้าของจีน 4. **ปัญหาสิ่งแวดล้อม:** - มลภาวะและการกัดเซาะชายฝั่งในอ่าวไทยอาจส่งผลต่อระบบนิเวศที่จีนมีส่วนได้ส่วนเสีย เนื่องจากจีนลงทุนในโครงการโครงสร้างพื้นฐานชายฝั่ง --- ### **สรุป:** อ่าวไทยมี**ผลดีต่อจีน**ในด้านเศรษฐกิจและการขนส่งทางทะเล แต่ก็มี**ความเสี่ยง**ด้านความมั่นคงและภูมิรัฐศาสตร์ โดยจีนพยายามสร้างสมดุลผ่าน: - ✅ การลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน - ✅ ความร่วมมือทางทหารกับประเทศอ่าวไทย - ✅ การส่งเสริม BRI เพื่อขยายอิทธิพลทางเศรษฐกิจ ทั้งนี้ ผลกระทบที่แท้จริงขึ้นอยู่กับ**นโยบายของจีน** และ**สถานการณ์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้** โดยเฉพาะความสัมพันธ์กับไทย เวียดนาม และกัมพูชา
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 381 มุมมอง 0 รีวิว
  • การที่อิสราเอลไม่เคารพกฎหมายระหว่างประเทศทำให้เกิดความตึงเครียดในตะวันออกกลาง จีนกังวลว่าสถานการณ์อาจลุกลามเกินการควบคุม - หวัง อี้ รัฐมนตรีต่างประเทศจีน

    ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าเครื่องบินขนส่งทางทหารขนาดใหญ่ของจีนที่ปิดเครื่องส่งสัญญาณได้ขนส่งอะไรไปยังอิหร่านในช่วงไม่กี่วันที่ผ่านมา

    ความเห็นฉบับเต็มจากคณะผู้แทนถาวรของอิหร่านประจำสหประชาชาติ

    ไม่มีเจ้าหน้าที่อิหร่านคนใดเคยคุกเข่าอยู่ที่ประตูทำเนียบขาว

    สิ่งเดียวที่น่ารังเกียจยิ่งกว่าคำโกหกของโดนัลด์ ทรัมป์ก็คือการขู่อย่างขี้ขลาดที่จะกำจัดผู้นำสูงสุดของอิหร่าน

    อิหร่านไม่เจรจาภายใต้แรงกดดัน!
    ไม่ยอมรับสันติภาพภายใต้แรงกดดัน!
    และแน่นอนว่าจะไม่ทำเช่นนั้นหากอดีตผู้ก่อสงครามยังคงยึดมั่นกับอิทธิพลที่เหลืออยู่ของตนอย่างสิ้นหวัง

    อิหร่านจะตอบโต้ภัยคุกคามใดๆ ด้วยการใช้การขู่ตอบโต้ และดำเนินการใดๆ ด้วยมาตรการที่สะท้อนกลับ
    การที่อิสราเอลไม่เคารพกฎหมายระหว่างประเทศทำให้เกิดความตึงเครียดในตะวันออกกลาง จีนกังวลว่าสถานการณ์อาจลุกลามเกินการควบคุม - หวัง อี้ รัฐมนตรีต่างประเทศจีน ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าเครื่องบินขนส่งทางทหารขนาดใหญ่ของจีนที่ปิดเครื่องส่งสัญญาณได้ขนส่งอะไรไปยังอิหร่านในช่วงไม่กี่วันที่ผ่านมา ความเห็นฉบับเต็มจากคณะผู้แทนถาวรของอิหร่านประจำสหประชาชาติ ไม่มีเจ้าหน้าที่อิหร่านคนใดเคยคุกเข่าอยู่ที่ประตูทำเนียบขาว สิ่งเดียวที่น่ารังเกียจยิ่งกว่าคำโกหกของโดนัลด์ ทรัมป์ก็คือการขู่อย่างขี้ขลาดที่จะกำจัดผู้นำสูงสุดของอิหร่าน อิหร่านไม่เจรจาภายใต้แรงกดดัน! ไม่ยอมรับสันติภาพภายใต้แรงกดดัน! และแน่นอนว่าจะไม่ทำเช่นนั้นหากอดีตผู้ก่อสงครามยังคงยึดมั่นกับอิทธิพลที่เหลืออยู่ของตนอย่างสิ้นหวัง อิหร่านจะตอบโต้ภัยคุกคามใดๆ ด้วยการใช้การขู่ตอบโต้ และดำเนินการใดๆ ด้วยมาตรการที่สะท้อนกลับ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 115 มุมมอง 0 รีวิว
  • บริษัทเทคโนโลยียักษ์ใหญ่ของจีนเช่น Alibaba และ Tencent เพิ่มการซื้อ GPU Nvidia H20 ขึ้นถึง 6 เท่าในไตรมาสแรกของปี 2025 เพื่อรับมือกับ กฎ AI ของสหรัฐฯ ที่จะเริ่มบังคับใช้ในเดือนพฤษภาคม Nvidia รายงานว่ายอดขายในจีนและฮ่องกงสูงถึง 17,110 ล้านดอลลาร์ในปีงบประมาณ 2025 ขณะที่ H3C หนึ่งในผู้ผลิตเซิร์ฟเวอร์ของจีนเตือนว่าตลาดอาจเผชิญกับการขาดแคลน GPU มีข้อสงสัยว่า บริษัทในสิงคโปร์อาจมีบทบาทในการส่งสินค้าต่อไปยังจีนเพื่อหลีกเลี่ยงข้อจำกัด

    จีนเร่งซื้อ GPU ก่อนที่กฎ AI ของสหรัฐฯ จะเริ่มบังคับใช้
    - กฎใหม่ของรัฐบาลสหรัฐฯ ห้ามบริษัทจีนซื้อ GPU ระดับสูงจากอเมริกา
    - ทำให้บริษัทจีน เร่งตุนสินค้าเป็นจำนวนมหาศาลในไตรมาสแรกของปี 2025

    ยอดขาย Nvidia ในจีนเพิ่มขึ้นอย่างมหาศาล
    - Nvidia รายงานว่ายอดขายในจีนและฮ่องกงอยู่ที่ 17,110 ล้านดอลลาร์ในปีงบประมาณ 2025
    - เทียบกับไตรมาสเดียวกันของปี 2024 การซื้อ GPU เพิ่มขึ้นถึง 6 เท่า

    H3C หนึ่งในผู้ผลิตเซิร์ฟเวอร์ชั้นนำของจีนกังวลเกี่ยวกับการขาดแคลน GPU
    - ระบุว่า ไม่สามารถหาซื้อ Nvidia H20 ได้เพียงพอสำหรับความต้องการของตลาด

    บริษัทสิงคโปร์อาจมีบทบาทสำคัญในการส่งสินค้าให้จีน
    - ยอดขาย GPU Nvidia ไปยังบริษัทในสิงคโปร์ เพิ่มขึ้นถึง 10 เท่าในปีงบประมาณ 2025
    - มีข้อสงสัยว่า บางส่วนของสินค้าอาจถูกส่งต่อไปยังจีนอย่างลับ ๆ

    https://www.tomshardware.com/tech-industry/artificial-intelligence/chinese-tech-giants-boosted-nvidia-gpu-purchases-by-4x-to-6x-during-q1
    บริษัทเทคโนโลยียักษ์ใหญ่ของจีนเช่น Alibaba และ Tencent เพิ่มการซื้อ GPU Nvidia H20 ขึ้นถึง 6 เท่าในไตรมาสแรกของปี 2025 เพื่อรับมือกับ กฎ AI ของสหรัฐฯ ที่จะเริ่มบังคับใช้ในเดือนพฤษภาคม Nvidia รายงานว่ายอดขายในจีนและฮ่องกงสูงถึง 17,110 ล้านดอลลาร์ในปีงบประมาณ 2025 ขณะที่ H3C หนึ่งในผู้ผลิตเซิร์ฟเวอร์ของจีนเตือนว่าตลาดอาจเผชิญกับการขาดแคลน GPU มีข้อสงสัยว่า บริษัทในสิงคโปร์อาจมีบทบาทในการส่งสินค้าต่อไปยังจีนเพื่อหลีกเลี่ยงข้อจำกัด ✅ จีนเร่งซื้อ GPU ก่อนที่กฎ AI ของสหรัฐฯ จะเริ่มบังคับใช้ - กฎใหม่ของรัฐบาลสหรัฐฯ ห้ามบริษัทจีนซื้อ GPU ระดับสูงจากอเมริกา - ทำให้บริษัทจีน เร่งตุนสินค้าเป็นจำนวนมหาศาลในไตรมาสแรกของปี 2025 ✅ ยอดขาย Nvidia ในจีนเพิ่มขึ้นอย่างมหาศาล - Nvidia รายงานว่ายอดขายในจีนและฮ่องกงอยู่ที่ 17,110 ล้านดอลลาร์ในปีงบประมาณ 2025 - เทียบกับไตรมาสเดียวกันของปี 2024 การซื้อ GPU เพิ่มขึ้นถึง 6 เท่า ✅ H3C หนึ่งในผู้ผลิตเซิร์ฟเวอร์ชั้นนำของจีนกังวลเกี่ยวกับการขาดแคลน GPU - ระบุว่า ไม่สามารถหาซื้อ Nvidia H20 ได้เพียงพอสำหรับความต้องการของตลาด ✅ บริษัทสิงคโปร์อาจมีบทบาทสำคัญในการส่งสินค้าให้จีน - ยอดขาย GPU Nvidia ไปยังบริษัทในสิงคโปร์ เพิ่มขึ้นถึง 10 เท่าในปีงบประมาณ 2025 - มีข้อสงสัยว่า บางส่วนของสินค้าอาจถูกส่งต่อไปยังจีนอย่างลับ ๆ https://www.tomshardware.com/tech-industry/artificial-intelligence/chinese-tech-giants-boosted-nvidia-gpu-purchases-by-4x-to-6x-during-q1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 289 มุมมอง 0 รีวิว
  • อ่านเอาเรื่อง Ep.77 : ท่อก๊าซไซบีเรีย และมองโกเลียตกกระป๋อง

    ความในตอนนี้เป็นส่วนที่ผมค้นคว้าเพิ่มเติมจากที่ผมได้ชมคลิปยูทูบรายการของคุณสนธิเรื่อง “มองโกเลียเสียค่าโง่“ ครับ

    ในเรื่อง ”มองโกเลียเสียค่าโง่“ นั้น ผมขอสรุปจากที่คุณสนธิเล่าไว้ว่า มองโกเลียซึ่งเป็นประเทศที่ตั้งอยู่ตรงกลางระหว่างรัสเซียกับจีนนั้น เขามีแร่ธาตุอยู่ใต้ดินมากมาย ซึ่งหนึ่งในนั้นคือ ”ทองแดง - copper" ครับ

    ทีนี้ก็มีบริษัทเหมืองแร่ยักษ์ใหญ่ของอังกฤษ-ออสเตรเลียชื่อว่า “ริโอ ทินโท“ มองเห็นว่าใต้แผ่นดินของมองโกเลียนั้น มีทองแดง, เงิน และทองคำอยู่มหาศาล จึงเข้ามาลงทุนขุดเหมืองที่นี่ในปี 2010

    ตอนแรกๆกิจการก็ไปได้ดีและเริ่มสร้างรายได้ เพราะในปี 2013 บริษัทนี้สามารถส่งทองแดงไปขายให้จีนที่อยู่ใกล้ๆได้และจีนก็ต้องการทองแดงอยู่แล้วด้วย

    แต่พอถึงปี 2018 รัฐบาลมองโกเลียซึ่งถือหุ้นในเหมืองนี้ด้วย 51% ก็สั่งให้บริษัทริโอทินโทนั้นสร้างโรงผลิตไฟฟ้าขึ้นมาใช้ในเหมืองเอง ห้ามซื้อไฟฟ้าจากฝั่งจีน ทั้งๆที่เสาส่งไฟฟ้าของจีนอยู่ห่างจากเหมืองเพียง 100 กม.เท่านั้น

    แน่นอนว่าการที่ต้องสร้างโรงไฟฟ้าเองจะทำให้ต้นทุนธุรกิจเพิ่มขึ้น แต่บริษัทริโอทินโทก็ยอม เพราะเห็นแก่อนาคตทางธุรกิจของตัวเอง

    แต่พอถึงช่วงปี 2023-2024 นายกรัฐมนตรีมองโกเลีย คือ นายโอยุน เออร์ดีน เริ่มได้รับคำเชิญจากรัฐบาลสหรัฐ และได้ไปพบกับนางแอนโทนี บลิงเคน (รมว.ต่างประเทศ) และนางกมลา แฮริส (รอง ปธน.สหรัฐ) หลายครั้ง

    เราไม่รู้หรอกครับว่าเขาคุยอะไรกัน แต่สิ่งที่เกิดขึ้นคือ นายโอยุนกลับบ้านมาประกาศว่า มองโกเลียจะหาเพื่อนบ้านใหม่ (Third neighbor) นอกเหนือไปจากจีนและรัสเซีย อันหมายถึงสหรัฐอเมริกานั่นเอง

    ว่าแล้วนายโอยุนก็นำมองโกเลียไปเข้าร่วมวงกับอเมริกาในการแบนจีนกับเขาด้วย โดยสั่งห้ามไม่ให้บริษัทเหมืองแร่ริโอทินโทขายทองแดงให้กับจีน

    ทีนี้ปัญหาใหญ่ก็เกิดขึ้น เพราะริโอทินโทก็บอกว่า “อ้าว…แล้วจะให้ตูขายให้ใครล่ะ? เราขุดทองแดงได้ใกล้ๆกับจีน จีนก็ซื้อเยอะ แถมมองโกเลียก็ไม่มีทางออกทะเล จะให้เราขนทองแดงออกไปขายนอกประเทศยังไงโดยไม่ผ่านจีน?”

    การณ์ในตอนนี้ก็คือ บริษัทริโอทินโทกำลังทบทวนอยู่ว่าจะเอาไงดี ดีไม่ดีอาจจะเลิกทำเหมืองที่นี่แล้วหานักลงทุนรายอื่นๆมาซื้อกิจการแทน

    คุณสนธิเล่าไว้แต่เพียงเท่านี้ครับ ซึ่งผมสนใจเรื่องนี้ต่อ จึงไปค้นคว้าหาข้อมูลมาเล่าเพิ่มเติมในย่อหน้าต่อไปนี้ครับ
    .
    .
    .
    เราทราบกันดีว่า จีนนั้นเป็นประเทศที่ต้องการพลังงานมากๆ และรัสเซียก็มีก๊าซธรรมชาติสำรองใต้แผ่นดินมากมายมหาศาล โดยเฉพาะที่ใต้แผ่นดินไซบีเรียนั้นมีก๊าซอยู่ถึง 40% ของทั้งประเทศรัสเซียเลย

    ในปี 2015 ปธน.สี จิ้นผิง กับ ปธน.ปูติน จับมือและตกลงกันว่าจะสร้างท่อส่งก๊าซจากไซบีเรียวิ่งเข้ามายังจีนครับ

    ตั้งชื่อท่อก๊าซนี้ว่า “พาวเวอร์ ออฟ ไซบีเรีย“ หรือ ”ไซบีเรีย 1” โดยท่อก๊าซนี้จะสามารถส่งก๊าซให้จีนได้สูงสุด 38,000 ล้านลูกบาศก์เมตร (อ่านว่า สามหมื่นแปดพันล้าน)

    แต่เมื่อกาลเวลาผ่านไป ภาคอุตสาหกรรมของจีนเติบโตเร็วมาก ก๊าซจากท่อก๊าซไซบีเรีย 1 นั้นไม่เพียงพอเสียแล้ว เพราะเพียงในปี 2024 นี้จีนก็ต้องการก๊าซทะลุไปถึง 4 แสนล้านลบ.ม.แล้วครับ

    ในปี 2021 สองผู้นำนี้จึงมาตกลงกันอีกรอบพร้อมกับเชิญผู้นำมองโกเลียมาร่วมด้วย โดยจะสร้างท่อส่งก๊าซเพิ่มอีก 1 ท่อ ให้ชื่อว่า “ไซบีเรีย 2” ครับ

    ท่อไซบีเรีย 2 นี้มีความยาวถึง 2600 กิโลเมตร วิ่งผ่าน 3 ประเทศคือ รัสเซีย 100 กม. - มองโกเลีย 900 กม. - จีน 1600 กม.ครับ

    คุณผู้อ่านเห็นชื่อมองโกเลียก็รู้สึกตะหงิดๆใจแล้วใช่ไหมครับ
    .
    .
    .
    ตามกำหนดเดิมนั้นท่อไซบีเรีย 2 นี้จะเริ่มสร้างในปี 2024 นี้แหละครับและจะสร้างเสร็จในปี 2030 โน่น แต่เมื่อปรากฏว่าเมื่อไม่นานมานี้ท่านสี จิ้นผิงได้ไปหารือกับปูติน และระบุชัดเจนว่า

    “จีนไม่ต้องการให้ท่อก๊าซไซบีเรีย 2 วิ่งผ่านมองโกเลียอีกต่อไป”

    คาดว่าจีนกังวลอยู่ 2 ประการ

    หนึ่ง… การที่ท่อก๊าซวิ่งผ่านมองโกเลีย มองโกเลียสามารถกำหนดเก็บค่าผ่านทางได้ตามแต่ที่รัฐบาลมองโกลจะเรียก

    สอง… เมื่อมองโกเลียแสดงออกแล้วว่าเป็นฝ่ายตรงข้ามกับจีน ท่อไซบีเรีย 2 ซึ่งถือเป็นความมั่นคงทางพลังงานของจีนจึงตกอยู่ในอันตราย

    การก่อสร้างท่อไซบีเรีย 2 จึงถูกเปลี่ยนเส้นทางใหม่ ให้ไปวิ่งผ่านประเทศคาซัคสถานแทน ซึ่งเอาจริงๆแล้วทำให้การก่อสร้างง่ายกว่าผ่านมองโกเลีย

    ทีนี้ถ้าถามว่า “มองโกเลียเสียอะไรไปไหม?”

    คำตอบคือ “เสียรายได้เข้าประเทศไปแน่ๆแล้วปีละอย่างน้อย 30 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ ยังไม่รวมค่าผ่านทางท่อก๊าซที่จะเสียเพิ่มให้อีก“

    และยังไม่รวมถึงความสัมพันธ์กับจีนที่พังทลายไป ทั้งๆที่ตัวเองต้องพึ่งพาจีนอยู่อีกมากมาย

    ส่วนส้มนั้นก็ไปหล่นใส่มือของคาซัคสถานที่อยู่ดีๆก็ได้เงินเข้าประเทศ

    สำหรับท่านที่ไม่ทราบ ก็ควรได้รู้ว่ามองโกเลียนั้นเป็นประเทศ Land locked country ครับ คือ ไม่มีทางออกทะเล โดนรัสเซียประกบอยู่บนหัว และจีนประกบอยู่ทางใต้

    ทุกวันนี้การค้าการส่งออกนำเข้าสินค้าของมองโกเลียก็อาศัยพึ่งพาถนนและท่าเรือของจีนที่เทียนจินทั้งหมด ท่าเรือนี้เป็นทางออกทะเลเดียวที่มองโกเลียมี เพราะรัสเซียไม่ให้มองโกเลียใช้ท่าเรือแล้ว

    ผู้นำมองโกลนั้น คงไม่เคยได้ยินสุภาษิตฝรั่งที่ว่า Don't bite the hands that feed you หรือ กินบนเรือน ขี้รดหลังคา

    นี่คือความโง่ของผู้นำมองโกลครับ แทนที่จะผูกมิตรกับเพื่อนบ้านที่ต้องอยู่กันไปชั่วฟ้าดินสลาย กลับไปเชื่อฟังชาติห่างไกลที่เพียงหวังจะหลอกใช้เท่านั้น

    นัทแนะ
    อ่านเอาเรื่อง Ep.77 : ท่อก๊าซไซบีเรีย และมองโกเลียตกกระป๋อง ความในตอนนี้เป็นส่วนที่ผมค้นคว้าเพิ่มเติมจากที่ผมได้ชมคลิปยูทูบรายการของคุณสนธิเรื่อง “มองโกเลียเสียค่าโง่“ ครับ ในเรื่อง ”มองโกเลียเสียค่าโง่“ นั้น ผมขอสรุปจากที่คุณสนธิเล่าไว้ว่า มองโกเลียซึ่งเป็นประเทศที่ตั้งอยู่ตรงกลางระหว่างรัสเซียกับจีนนั้น เขามีแร่ธาตุอยู่ใต้ดินมากมาย ซึ่งหนึ่งในนั้นคือ ”ทองแดง - copper" ครับ ทีนี้ก็มีบริษัทเหมืองแร่ยักษ์ใหญ่ของอังกฤษ-ออสเตรเลียชื่อว่า “ริโอ ทินโท“ มองเห็นว่าใต้แผ่นดินของมองโกเลียนั้น มีทองแดง, เงิน และทองคำอยู่มหาศาล จึงเข้ามาลงทุนขุดเหมืองที่นี่ในปี 2010 ตอนแรกๆกิจการก็ไปได้ดีและเริ่มสร้างรายได้ เพราะในปี 2013 บริษัทนี้สามารถส่งทองแดงไปขายให้จีนที่อยู่ใกล้ๆได้และจีนก็ต้องการทองแดงอยู่แล้วด้วย แต่พอถึงปี 2018 รัฐบาลมองโกเลียซึ่งถือหุ้นในเหมืองนี้ด้วย 51% ก็สั่งให้บริษัทริโอทินโทนั้นสร้างโรงผลิตไฟฟ้าขึ้นมาใช้ในเหมืองเอง ห้ามซื้อไฟฟ้าจากฝั่งจีน ทั้งๆที่เสาส่งไฟฟ้าของจีนอยู่ห่างจากเหมืองเพียง 100 กม.เท่านั้น แน่นอนว่าการที่ต้องสร้างโรงไฟฟ้าเองจะทำให้ต้นทุนธุรกิจเพิ่มขึ้น แต่บริษัทริโอทินโทก็ยอม เพราะเห็นแก่อนาคตทางธุรกิจของตัวเอง แต่พอถึงช่วงปี 2023-2024 นายกรัฐมนตรีมองโกเลีย คือ นายโอยุน เออร์ดีน เริ่มได้รับคำเชิญจากรัฐบาลสหรัฐ และได้ไปพบกับนางแอนโทนี บลิงเคน (รมว.ต่างประเทศ) และนางกมลา แฮริส (รอง ปธน.สหรัฐ) หลายครั้ง เราไม่รู้หรอกครับว่าเขาคุยอะไรกัน แต่สิ่งที่เกิดขึ้นคือ นายโอยุนกลับบ้านมาประกาศว่า มองโกเลียจะหาเพื่อนบ้านใหม่ (Third neighbor) นอกเหนือไปจากจีนและรัสเซีย อันหมายถึงสหรัฐอเมริกานั่นเอง ว่าแล้วนายโอยุนก็นำมองโกเลียไปเข้าร่วมวงกับอเมริกาในการแบนจีนกับเขาด้วย โดยสั่งห้ามไม่ให้บริษัทเหมืองแร่ริโอทินโทขายทองแดงให้กับจีน ทีนี้ปัญหาใหญ่ก็เกิดขึ้น เพราะริโอทินโทก็บอกว่า “อ้าว…แล้วจะให้ตูขายให้ใครล่ะ? เราขุดทองแดงได้ใกล้ๆกับจีน จีนก็ซื้อเยอะ แถมมองโกเลียก็ไม่มีทางออกทะเล จะให้เราขนทองแดงออกไปขายนอกประเทศยังไงโดยไม่ผ่านจีน?” การณ์ในตอนนี้ก็คือ บริษัทริโอทินโทกำลังทบทวนอยู่ว่าจะเอาไงดี ดีไม่ดีอาจจะเลิกทำเหมืองที่นี่แล้วหานักลงทุนรายอื่นๆมาซื้อกิจการแทน คุณสนธิเล่าไว้แต่เพียงเท่านี้ครับ ซึ่งผมสนใจเรื่องนี้ต่อ จึงไปค้นคว้าหาข้อมูลมาเล่าเพิ่มเติมในย่อหน้าต่อไปนี้ครับ . . . เราทราบกันดีว่า จีนนั้นเป็นประเทศที่ต้องการพลังงานมากๆ และรัสเซียก็มีก๊าซธรรมชาติสำรองใต้แผ่นดินมากมายมหาศาล โดยเฉพาะที่ใต้แผ่นดินไซบีเรียนั้นมีก๊าซอยู่ถึง 40% ของทั้งประเทศรัสเซียเลย ในปี 2015 ปธน.สี จิ้นผิง กับ ปธน.ปูติน จับมือและตกลงกันว่าจะสร้างท่อส่งก๊าซจากไซบีเรียวิ่งเข้ามายังจีนครับ ตั้งชื่อท่อก๊าซนี้ว่า “พาวเวอร์ ออฟ ไซบีเรีย“ หรือ ”ไซบีเรีย 1” โดยท่อก๊าซนี้จะสามารถส่งก๊าซให้จีนได้สูงสุด 38,000 ล้านลูกบาศก์เมตร (อ่านว่า สามหมื่นแปดพันล้าน) แต่เมื่อกาลเวลาผ่านไป ภาคอุตสาหกรรมของจีนเติบโตเร็วมาก ก๊าซจากท่อก๊าซไซบีเรีย 1 นั้นไม่เพียงพอเสียแล้ว เพราะเพียงในปี 2024 นี้จีนก็ต้องการก๊าซทะลุไปถึง 4 แสนล้านลบ.ม.แล้วครับ ในปี 2021 สองผู้นำนี้จึงมาตกลงกันอีกรอบพร้อมกับเชิญผู้นำมองโกเลียมาร่วมด้วย โดยจะสร้างท่อส่งก๊าซเพิ่มอีก 1 ท่อ ให้ชื่อว่า “ไซบีเรีย 2” ครับ ท่อไซบีเรีย 2 นี้มีความยาวถึง 2600 กิโลเมตร วิ่งผ่าน 3 ประเทศคือ รัสเซีย 100 กม. - มองโกเลีย 900 กม. - จีน 1600 กม.ครับ คุณผู้อ่านเห็นชื่อมองโกเลียก็รู้สึกตะหงิดๆใจแล้วใช่ไหมครับ . . . ตามกำหนดเดิมนั้นท่อไซบีเรีย 2 นี้จะเริ่มสร้างในปี 2024 นี้แหละครับและจะสร้างเสร็จในปี 2030 โน่น แต่เมื่อปรากฏว่าเมื่อไม่นานมานี้ท่านสี จิ้นผิงได้ไปหารือกับปูติน และระบุชัดเจนว่า “จีนไม่ต้องการให้ท่อก๊าซไซบีเรีย 2 วิ่งผ่านมองโกเลียอีกต่อไป” คาดว่าจีนกังวลอยู่ 2 ประการ หนึ่ง… การที่ท่อก๊าซวิ่งผ่านมองโกเลีย มองโกเลียสามารถกำหนดเก็บค่าผ่านทางได้ตามแต่ที่รัฐบาลมองโกลจะเรียก สอง… เมื่อมองโกเลียแสดงออกแล้วว่าเป็นฝ่ายตรงข้ามกับจีน ท่อไซบีเรีย 2 ซึ่งถือเป็นความมั่นคงทางพลังงานของจีนจึงตกอยู่ในอันตราย การก่อสร้างท่อไซบีเรีย 2 จึงถูกเปลี่ยนเส้นทางใหม่ ให้ไปวิ่งผ่านประเทศคาซัคสถานแทน ซึ่งเอาจริงๆแล้วทำให้การก่อสร้างง่ายกว่าผ่านมองโกเลีย ทีนี้ถ้าถามว่า “มองโกเลียเสียอะไรไปไหม?” คำตอบคือ “เสียรายได้เข้าประเทศไปแน่ๆแล้วปีละอย่างน้อย 30 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ ยังไม่รวมค่าผ่านทางท่อก๊าซที่จะเสียเพิ่มให้อีก“ และยังไม่รวมถึงความสัมพันธ์กับจีนที่พังทลายไป ทั้งๆที่ตัวเองต้องพึ่งพาจีนอยู่อีกมากมาย ส่วนส้มนั้นก็ไปหล่นใส่มือของคาซัคสถานที่อยู่ดีๆก็ได้เงินเข้าประเทศ สำหรับท่านที่ไม่ทราบ ก็ควรได้รู้ว่ามองโกเลียนั้นเป็นประเทศ Land locked country ครับ คือ ไม่มีทางออกทะเล โดนรัสเซียประกบอยู่บนหัว และจีนประกบอยู่ทางใต้ ทุกวันนี้การค้าการส่งออกนำเข้าสินค้าของมองโกเลียก็อาศัยพึ่งพาถนนและท่าเรือของจีนที่เทียนจินทั้งหมด ท่าเรือนี้เป็นทางออกทะเลเดียวที่มองโกเลียมี เพราะรัสเซียไม่ให้มองโกเลียใช้ท่าเรือแล้ว ผู้นำมองโกลนั้น คงไม่เคยได้ยินสุภาษิตฝรั่งที่ว่า Don't bite the hands that feed you หรือ กินบนเรือน ขี้รดหลังคา นี่คือความโง่ของผู้นำมองโกลครับ แทนที่จะผูกมิตรกับเพื่อนบ้านที่ต้องอยู่กันไปชั่วฟ้าดินสลาย กลับไปเชื่อฟังชาติห่างไกลที่เพียงหวังจะหลอกใช้เท่านั้น นัทแนะ
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 442 มุมมอง 0 รีวิว