• “ดูแลผู้ป่วยติดเตียงอย่างไร ให้ได้บุญโดยไม่จมอยู่กับบาปทางใจ”
    ---

    1. การดูแลผู้ป่วยติดเตียง คือทานใหญ่ที่ได้บุญมาก

    โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ หรืออาการลูกผีลูกคน

    ใช้ทั้งกำลังกายและกำลังใจสูง ถือเป็น “กุศลกรรม” ใหญ่

    แม้มีอารมณ์เผลอเป็นโทสะหรือคิดลบบ้าง ก็ยังได้บุญมากกว่าได้บาป

    ---

    2. ฐานะของผู้ป่วยส่งผลต่อน้ำหนักบุญ

    ถ้าเป็น พ่อแม่ จะมีผลบุญมากเป็นพิเศษ เพราะเป็นผู้มีพระคุณ

    หากเป็นญาติทั่วไป หรือคนไม่มีบุญคุณโดยตรง บุญก็ยังมี แต่ไม่เท่ากัน

    ต่อให้พ่อแม่เคยทำไม่ดี ก็ยังเป็นฐานแห่งบุญบาปที่ยิ่งใหญ่ตามกฎธรรมชาติ

    ---

    3. ถ้าเคยเผลอคิดว่า "อยากให้ตายๆ ไปเสียที" ถือเป็นบาปไหม?

    ขึ้นอยู่กับเจตนา:

    ถ้าเป็น เมตตา อยากให้เขาพ้นทุกข์ = ไม่เป็นบาป

    ถ้าเป็น โทสะ เหนื่อย รำคาญ อยากให้พ้นจากภาระตัวเอง = เป็นบาปทางใจ แม้ภายนอกจะทำบุญอยู่ก็ตาม

    ---

    4. ทางออกที่ดีที่สุด คือ รักษาใจและสร้างบรรยากาศทางธรรม

    ชวนผู้ป่วยพูดคุยเรื่องดีๆ หรือสวดมนต์แม้เขาจะไม่ได้สติ

    เพราะแม้เขาจะไม่รู้ตัว แต่กระแสจิตที่สว่างของคุณยังส่งถึงเขาได้

    สิ่งนี้มีผลดีต่อทั้งผู้ป่วย และจิตใจของผู้ดูแลเอง

    ---

    5. แก่นแท้ของบุญนี้ ไม่ใช่แค่ดูแลกายเขา แต่คือ "ดูแลใจเรา" ด้วย

    ใจที่เอาตัวรอดจากความเครียด โทสะ และความเหนื่อยล้าได้ คือ “พลังบุญ” ที่เกิดขึ้นจริง

    แม้คนอื่นอาจเข้าใจยาก แต่ตัวเราจะรู้ว่าได้กุศลเต็มใจจริงๆ

    ---

    Essence สั้นๆ

    ดูแลผู้ป่วยติดเตียงให้ดี เป็นบุญใหญ่
    แต่ถ้ารักษาใจให้สว่างด้วยได้ด้วย = เป็นบุญที่ประณีตและแรงกว่าหลายเท่า
    อย่าปล่อยให้โทสะปนใจจนบดบังคุณค่าของสิ่งดีๆ ที่กำลังทำอยู่!
    “ดูแลผู้ป่วยติดเตียงอย่างไร ให้ได้บุญโดยไม่จมอยู่กับบาปทางใจ” --- 1. การดูแลผู้ป่วยติดเตียง คือทานใหญ่ที่ได้บุญมาก โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ หรืออาการลูกผีลูกคน ใช้ทั้งกำลังกายและกำลังใจสูง ถือเป็น “กุศลกรรม” ใหญ่ แม้มีอารมณ์เผลอเป็นโทสะหรือคิดลบบ้าง ก็ยังได้บุญมากกว่าได้บาป --- 2. ฐานะของผู้ป่วยส่งผลต่อน้ำหนักบุญ ถ้าเป็น พ่อแม่ จะมีผลบุญมากเป็นพิเศษ เพราะเป็นผู้มีพระคุณ หากเป็นญาติทั่วไป หรือคนไม่มีบุญคุณโดยตรง บุญก็ยังมี แต่ไม่เท่ากัน ต่อให้พ่อแม่เคยทำไม่ดี ก็ยังเป็นฐานแห่งบุญบาปที่ยิ่งใหญ่ตามกฎธรรมชาติ --- 3. ถ้าเคยเผลอคิดว่า "อยากให้ตายๆ ไปเสียที" ถือเป็นบาปไหม? ขึ้นอยู่กับเจตนา: ถ้าเป็น เมตตา อยากให้เขาพ้นทุกข์ = ไม่เป็นบาป ถ้าเป็น โทสะ เหนื่อย รำคาญ อยากให้พ้นจากภาระตัวเอง = เป็นบาปทางใจ แม้ภายนอกจะทำบุญอยู่ก็ตาม --- 4. ทางออกที่ดีที่สุด คือ รักษาใจและสร้างบรรยากาศทางธรรม ชวนผู้ป่วยพูดคุยเรื่องดีๆ หรือสวดมนต์แม้เขาจะไม่ได้สติ เพราะแม้เขาจะไม่รู้ตัว แต่กระแสจิตที่สว่างของคุณยังส่งถึงเขาได้ สิ่งนี้มีผลดีต่อทั้งผู้ป่วย และจิตใจของผู้ดูแลเอง --- 5. แก่นแท้ของบุญนี้ ไม่ใช่แค่ดูแลกายเขา แต่คือ "ดูแลใจเรา" ด้วย ใจที่เอาตัวรอดจากความเครียด โทสะ และความเหนื่อยล้าได้ คือ “พลังบุญ” ที่เกิดขึ้นจริง แม้คนอื่นอาจเข้าใจยาก แต่ตัวเราจะรู้ว่าได้กุศลเต็มใจจริงๆ --- Essence สั้นๆ ดูแลผู้ป่วยติดเตียงให้ดี เป็นบุญใหญ่ แต่ถ้ารักษาใจให้สว่างด้วยได้ด้วย = เป็นบุญที่ประณีตและแรงกว่าหลายเท่า อย่าปล่อยให้โทสะปนใจจนบดบังคุณค่าของสิ่งดีๆ ที่กำลังทำอยู่!
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 46 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🔥 19 ปี โศกนาฏกรรมศาลท้าวมหาพรหม หนุ่มป่วยจิตบุกทุบ รุมสกรัมดับกลางราชประสงค์! 😱

    📝 ย้อนเหตุการณ์ช็อก 19 ปี ที่ผ่านมา! หนุ่มป่วยจิตบุกทุบศาลท้าวมหาพรหม ชาวบ้านรุมสกรัมจนเสียชีวิต แรงศรัทธาและแรงแค้น ปะทะกันอย่างรุนแรง!

    📚 ✨ 19 ปี ผ่านไป กับเหตุการณ์ที่ยังฝังใจคนไทย วันอังคารที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2549 🌙 เช้ามืดที่ราชประสงค์ เวลาตีหนึ่ง กลายเป็นเวทีของเหตุการณ์ ที่คนไทยทั้งประเทศไม่อาจลืม... เมื่อชายหนุ่มรายหนึ่ง บุกเข้าไปในศาลท้าวมหาพรหม กลางสี่แยกสำคัญ ทุบองค์พระพรหมจนแตกละเอียด ก่อนจะถูกชาวบ้านรุมทำร้าย จนเสียชีวิตต่อหน้าสายตาคนมากมาย 😢

    เรื่องราวครั้งนั้น ไม่ใช่เพียงข่าวฆาตกรรม แต่เป็นโศกนาฏกรรมที่ก่อให้เกิดคำถาม และข้อถกเถียงเกี่ยวกับศรัทธา ความเชื่อ และปัญหาทางสุขภาพจิตในสังคมไทย 📖

    🔎 เวลาประมาณตีหนึ่งของวันอังคารที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2549 🚨 เจ้าหน้าที่ตำรวจ สน.ลุมพินี ได้รับแจ้งเหตุ มีชายคนหนึ่งถูกรุมทำร้ายจนเสียชีวิต หน้าทางเข้าโรงแรมเอราวัณ จุดศูนย์กลางของศรัทธาและแหล่งท่องเที่ยวสำคัญ กลางกรุงเทพมหานคร 🏙️

    🎯 ชายคนดังกล่าว อายุประมาณ 30 ปี สวมเสื้อยืดสีขาว กางเกงขายาว พับขาขึ้นมา เขามีรอยสักคำว่า "อามีน" บริเวณแผ่นหลัง พบค้อนและเหล็กเสียบร่ม ในพื้นที่ใกล้ศพ องค์ท้าวมหาพรหมถูกทุบจนแตกละเอียด เหลือแต่ฐาน 😢 ไม่มีเอกสารแสดงตัวตน พบเพียงบุหรี่ ยาเส้น ไฟแช็ก และเงิน 8 บาท
    ต่อมา

    พ่อของชายหนุ่มได้มายืนยันตัวตน ว่าผู้เคราะห์ร้ายชื่อ นายธนกร ภักดีผล อายุ 27 ปี ป่วยเป็นโรคจิตเวชมานานกว่า 6 ปี 🧠

    🛕 ศาลท้าวมหาพรหม สี่แยกราชประสงค์ เป็นมากกว่าสถานที่สักการะ 😇 แต่เป็นศูนย์รวมความเชื่อของคนไทย และชาวต่างชาติที่ศรัทธาใน "องค์มหาพรหม" เทพผู้ประทานพรให้สมปรารถนาในสิ่งที่หวัง

    📌 สร้างขึ้นปี 2499 โดยบริษัทสหโรงแรมไทย และการท่องเที่ยว จำกัด เพื่อแก้เคล็ดฤกษ์ที่ไม่ดี ตามความเชื่อโหราศาสตร์ องค์พระพรหมปั้นจากปูนปลาสเตอร์ ปิดทอง โดยกรมศิลปากร กลายเป็นที่พึ่งพิงทางจิตใจ ผู้คนมาขอพรเรื่องความสำเร็จ ในชีวิตและการงาน 🙏

    💥 ความเชื่อกับความกลัว ปฏิกิริยาของผู้คนต่อเหตุการณ์ หลังเหตุการณ์ หน้าศาลท้าวมหาพรหม เต็มไปด้วยความเศร้าโศก และตื่นตระหนก 😭 ผู้ศรัทธาหลายคนร่ำไห้ เชื่อว่านี่คือ "ลางร้าย" ที่บอกเหตุการณ์ไม่ดี ที่จะเกิดขึ้นในบ้านเมืองไทย 🇹🇭

    นายภิญโญ พงศ์เจริญ นักโหราศาสตร์ชื่อดัง กล่าวว่า นี่เป็นสัญญาณจากฟ้าดิน ว่าเกิดสิ่งไม่เป็นมงคล ⚡

    🩺 ประเด็นปัญหาทางสังคม บทเรียนจากโศกนาฏกรรม สุขภาพจิต คือเรื่องสำคัญที่ไม่ควรมองข้าม! 🧠 นายธนกรป่วยเป็นโรคจิตเวชมานาน แต่ไม่มีระบบสวัสดิการที่เพียงพอ ในการดูแลรักษา พ่อต้องพาไปโรงพยาบาลถึง 4 แห่ง แต่ไม่ได้ผลถาวร 😓

    🚨 ประเด็นที่สังคมควรถาม
    - ทำไมถึงไม่มีการช่วยเหลือทันทีจากตำรวจ 191 ที่พ่อโทรแจ้งก่อนเหิดเหตุ?
    - ระบบสุขภาพจิตของไทย รองรับผู้ป่วยเรื้อรังเพียงพอหรือไม่?
    - ประชาทัณฑ์คือความยุติธรรม หรืออารมณ์ชั่ววูบ?

    🛠️ บูรณะศาลท้าวมหาพรหม เยียวยาความรู้สึกคนไทย หลังเหตุการณ์ โรงแรมเอราวัณและกรมศิลปากร เร่งบูรณะองค์ท้าวมหาพรหม 🔧 โดยใช้เทคนิคใหม่ เช่น ใยหิน ปูนเขียว แกนสเตนเลส และทองเหลืองจากสวีเดน พร้อมปิดทองใหม่ทุกจุด ✨

    📅 ในวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 มีพิธีบวงสรวงใหญ่ และเชิญองค์ท้าวมหาพรหม กลับประดิษฐาน ณ จุดเดิม ช่วยปลุกขวัญ และฟื้นฟูศรัทธาประชาชนอีกครั้ง 🙏

    💣 เหตุการณ์ระเบิดปี 2558 ฝันร้ายซ้ำสองที่ไม่มีใครอยากจำ วันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2558 เวลา 18.55 น. เกิดเหตุระเบิดกลางศาลท้าวมหาพรหมอีกครั้ง 🔥 ด้วยระเบิดทีเอ็นทีหนัก 5 กก. มีผู้เสียชีวิตทันที 16 ราย และบาดเจ็บกว่า 70 คน

    แรงระเบิดทำให้องค์มหาพรหม เสียหายอย่างหนัก ต้องบูรณะด้วยงบประมาณกว่า 70,000 บาท ภายในเวลาเพียง 9 วัน ⚒️

    📉 วิเคราะห์ผลกระทบทางสังคม ศรัทธา และความมั่นคง คำถามใหญ่ที่เกิดขึ้น 🤔 รัฐบาลและหน่วยงานความมั่นคง สามารถป้องกันเหตุการณ์แบบนี้ได้แค่ไหน? ศรัทธายังเป็นพลังบวก หรือกำลังกลายเป็นเครื่องมือสร้างความหวาดกลัวในสังคม?

    💡 ทางออกที่ควรพิจารณา เพิ่มการดูแลผู้ป่วยจิตเวช และสร้างระบบรับมือวิกฤตสุขภาพจิต ที่มีประสิทธิภาพ เสริมความเข้มแข็งในการป้องกันเหตุอาชญากรรม ที่เกี่ยวข้องกับสถานที่ศักดิ์สิทธิ์

    📝 ศรัทธา...ยังคงอยู่ หรือเลือนหายไป? 19 ปีผ่านไป เหตุการณ์ที่ศาลท้าวมหาพรหม ยังสอนว่า "ศรัทธา" อาจเป็นทั้งพลังสร้างสรรค์ และพลังทำลายได้ ถ้าไม่รู้จักใช้มันให้ถูกที่ถูกทาง 🙏✨

    สิ่งสำคัญที่สุดคือการเรียนรู้จากอดีต ไม่ให้ประวัติศาสตร์ซ้ำรอย ในรูปแบบใหม่อีกครั้ง 💔

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 210927 มี.ค. 2568

    📣 #ท้าวมหาพรหม #ศาลเอราวัณ #ศรัทธามหาชน #เหตุการณ์ราชประสงค์ #สุขภาพจิต #รุมประชาทัณฑ์ #บูรณะศาลท้าวมหาพรหม #ระเบิดราชประสงค์ #ข่าวอาชญากรรม #สังคมไทยวันนี้
    🔥 19 ปี โศกนาฏกรรมศาลท้าวมหาพรหม หนุ่มป่วยจิตบุกทุบ รุมสกรัมดับกลางราชประสงค์! 😱 📝 ย้อนเหตุการณ์ช็อก 19 ปี ที่ผ่านมา! หนุ่มป่วยจิตบุกทุบศาลท้าวมหาพรหม ชาวบ้านรุมสกรัมจนเสียชีวิต แรงศรัทธาและแรงแค้น ปะทะกันอย่างรุนแรง! 📚 ✨ 19 ปี ผ่านไป กับเหตุการณ์ที่ยังฝังใจคนไทย วันอังคารที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2549 🌙 เช้ามืดที่ราชประสงค์ เวลาตีหนึ่ง กลายเป็นเวทีของเหตุการณ์ ที่คนไทยทั้งประเทศไม่อาจลืม... เมื่อชายหนุ่มรายหนึ่ง บุกเข้าไปในศาลท้าวมหาพรหม กลางสี่แยกสำคัญ ทุบองค์พระพรหมจนแตกละเอียด ก่อนจะถูกชาวบ้านรุมทำร้าย จนเสียชีวิตต่อหน้าสายตาคนมากมาย 😢 เรื่องราวครั้งนั้น ไม่ใช่เพียงข่าวฆาตกรรม แต่เป็นโศกนาฏกรรมที่ก่อให้เกิดคำถาม และข้อถกเถียงเกี่ยวกับศรัทธา ความเชื่อ และปัญหาทางสุขภาพจิตในสังคมไทย 📖 🔎 เวลาประมาณตีหนึ่งของวันอังคารที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2549 🚨 เจ้าหน้าที่ตำรวจ สน.ลุมพินี ได้รับแจ้งเหตุ มีชายคนหนึ่งถูกรุมทำร้ายจนเสียชีวิต หน้าทางเข้าโรงแรมเอราวัณ จุดศูนย์กลางของศรัทธาและแหล่งท่องเที่ยวสำคัญ กลางกรุงเทพมหานคร 🏙️ 🎯 ชายคนดังกล่าว อายุประมาณ 30 ปี สวมเสื้อยืดสีขาว กางเกงขายาว พับขาขึ้นมา เขามีรอยสักคำว่า "อามีน" บริเวณแผ่นหลัง พบค้อนและเหล็กเสียบร่ม ในพื้นที่ใกล้ศพ องค์ท้าวมหาพรหมถูกทุบจนแตกละเอียด เหลือแต่ฐาน 😢 ไม่มีเอกสารแสดงตัวตน พบเพียงบุหรี่ ยาเส้น ไฟแช็ก และเงิน 8 บาท ต่อมา พ่อของชายหนุ่มได้มายืนยันตัวตน ว่าผู้เคราะห์ร้ายชื่อ นายธนกร ภักดีผล อายุ 27 ปี ป่วยเป็นโรคจิตเวชมานานกว่า 6 ปี 🧠 🛕 ศาลท้าวมหาพรหม สี่แยกราชประสงค์ เป็นมากกว่าสถานที่สักการะ 😇 แต่เป็นศูนย์รวมความเชื่อของคนไทย และชาวต่างชาติที่ศรัทธาใน "องค์มหาพรหม" เทพผู้ประทานพรให้สมปรารถนาในสิ่งที่หวัง 📌 สร้างขึ้นปี 2499 โดยบริษัทสหโรงแรมไทย และการท่องเที่ยว จำกัด เพื่อแก้เคล็ดฤกษ์ที่ไม่ดี ตามความเชื่อโหราศาสตร์ องค์พระพรหมปั้นจากปูนปลาสเตอร์ ปิดทอง โดยกรมศิลปากร กลายเป็นที่พึ่งพิงทางจิตใจ ผู้คนมาขอพรเรื่องความสำเร็จ ในชีวิตและการงาน 🙏 💥 ความเชื่อกับความกลัว ปฏิกิริยาของผู้คนต่อเหตุการณ์ หลังเหตุการณ์ หน้าศาลท้าวมหาพรหม เต็มไปด้วยความเศร้าโศก และตื่นตระหนก 😭 ผู้ศรัทธาหลายคนร่ำไห้ เชื่อว่านี่คือ "ลางร้าย" ที่บอกเหตุการณ์ไม่ดี ที่จะเกิดขึ้นในบ้านเมืองไทย 🇹🇭 นายภิญโญ พงศ์เจริญ นักโหราศาสตร์ชื่อดัง กล่าวว่า นี่เป็นสัญญาณจากฟ้าดิน ว่าเกิดสิ่งไม่เป็นมงคล ⚡ 🩺 ประเด็นปัญหาทางสังคม บทเรียนจากโศกนาฏกรรม สุขภาพจิต คือเรื่องสำคัญที่ไม่ควรมองข้าม! 🧠 นายธนกรป่วยเป็นโรคจิตเวชมานาน แต่ไม่มีระบบสวัสดิการที่เพียงพอ ในการดูแลรักษา พ่อต้องพาไปโรงพยาบาลถึง 4 แห่ง แต่ไม่ได้ผลถาวร 😓 🚨 ประเด็นที่สังคมควรถาม - ทำไมถึงไม่มีการช่วยเหลือทันทีจากตำรวจ 191 ที่พ่อโทรแจ้งก่อนเหิดเหตุ? - ระบบสุขภาพจิตของไทย รองรับผู้ป่วยเรื้อรังเพียงพอหรือไม่? - ประชาทัณฑ์คือความยุติธรรม หรืออารมณ์ชั่ววูบ? 🛠️ บูรณะศาลท้าวมหาพรหม เยียวยาความรู้สึกคนไทย หลังเหตุการณ์ โรงแรมเอราวัณและกรมศิลปากร เร่งบูรณะองค์ท้าวมหาพรหม 🔧 โดยใช้เทคนิคใหม่ เช่น ใยหิน ปูนเขียว แกนสเตนเลส และทองเหลืองจากสวีเดน พร้อมปิดทองใหม่ทุกจุด ✨ 📅 ในวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 มีพิธีบวงสรวงใหญ่ และเชิญองค์ท้าวมหาพรหม กลับประดิษฐาน ณ จุดเดิม ช่วยปลุกขวัญ และฟื้นฟูศรัทธาประชาชนอีกครั้ง 🙏 💣 เหตุการณ์ระเบิดปี 2558 ฝันร้ายซ้ำสองที่ไม่มีใครอยากจำ วันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2558 เวลา 18.55 น. เกิดเหตุระเบิดกลางศาลท้าวมหาพรหมอีกครั้ง 🔥 ด้วยระเบิดทีเอ็นทีหนัก 5 กก. มีผู้เสียชีวิตทันที 16 ราย และบาดเจ็บกว่า 70 คน แรงระเบิดทำให้องค์มหาพรหม เสียหายอย่างหนัก ต้องบูรณะด้วยงบประมาณกว่า 70,000 บาท ภายในเวลาเพียง 9 วัน ⚒️ 📉 วิเคราะห์ผลกระทบทางสังคม ศรัทธา และความมั่นคง คำถามใหญ่ที่เกิดขึ้น 🤔 รัฐบาลและหน่วยงานความมั่นคง สามารถป้องกันเหตุการณ์แบบนี้ได้แค่ไหน? ศรัทธายังเป็นพลังบวก หรือกำลังกลายเป็นเครื่องมือสร้างความหวาดกลัวในสังคม? 💡 ทางออกที่ควรพิจารณา เพิ่มการดูแลผู้ป่วยจิตเวช และสร้างระบบรับมือวิกฤตสุขภาพจิต ที่มีประสิทธิภาพ เสริมความเข้มแข็งในการป้องกันเหตุอาชญากรรม ที่เกี่ยวข้องกับสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ 📝 ศรัทธา...ยังคงอยู่ หรือเลือนหายไป? 19 ปีผ่านไป เหตุการณ์ที่ศาลท้าวมหาพรหม ยังสอนว่า "ศรัทธา" อาจเป็นทั้งพลังสร้างสรรค์ และพลังทำลายได้ ถ้าไม่รู้จักใช้มันให้ถูกที่ถูกทาง 🙏✨ สิ่งสำคัญที่สุดคือการเรียนรู้จากอดีต ไม่ให้ประวัติศาสตร์ซ้ำรอย ในรูปแบบใหม่อีกครั้ง 💔 ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 210927 มี.ค. 2568 📣 #ท้าวมหาพรหม #ศาลเอราวัณ #ศรัทธามหาชน #เหตุการณ์ราชประสงค์ #สุขภาพจิต #รุมประชาทัณฑ์ #บูรณะศาลท้าวมหาพรหม #ระเบิดราชประสงค์ #ข่าวอาชญากรรม #สังคมไทยวันนี้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 822 มุมมอง 0 รีวิว
  • AI (ปัญญาประดิษฐ์) มีบทบาทสำคัญในการปฏิวัติวงการการรักษาพยาบาลของมนุษย์โลกในหลายด้าน ตั้งแต่การช่วยวินิจฉัยโรคไปจนถึงการพัฒนายาใหม่ ๆ และการปรับปรุงการดูแลผู้ป่วย นี่คือบางส่วนของบทบาทที่ AI มีต่อการรักษาพยาบาล:

    ### 1. **การวินิจฉัยโรค**
    - AI สามารถวิเคราะห์ข้อมูลทางการแพทย์ เช่น ภาพเอ็กซ์เรย์, CT scan, MRI และผลตรวจเลือด ได้อย่างรวดเร็วและแม่นยำ
    - ตัวอย่างเช่น AI ช่วยวินิจฉัยโรคมะเร็งเต้านมจากภาพแมมโมแกรมได้ดีกว่าแพทย์ในบางกรณี
    - AI ยังช่วยระบุโรคตา เช่น เบาหวานขึ้นจอตา จากภาพถ่ายจอประสาทตา

    ### 2. **การพัฒนายาและวัคซีน**
    - AI ช่วยเร่งกระบวนการค้นหายาใหม่ ๆ โดยการวิเคราะห์ข้อมูลทางเคมีและชีวภาพจำนวนมาก
    - ในช่วงการระบาดของ COVID-19 AI ช่วยนักวิจัยในการพัฒนาวัคซีนได้รวดเร็วยิ่งขึ้น

    ### 3. **การดูแลผู้ป่วย**
    - AI ช่วยติดตามอาการผู้ป่วยแบบเรียลไทม์ผ่านอุปกรณ์สวมใส่ (wearable devices) เช่น นาฬิกาอัจฉริยะ
    - ระบบ AI สามารถเตือนแพทย์หรือพยาบาลเมื่อผู้ป่วยมีอาการผิดปกติ

    ### 4. **การผ่าตัดด้วยหุ่นยนต์**
    - หุ่นยนต์ผ่าตัดที่ใช้ AI ช่วยให้การผ่าตัดมีความแม่นยำสูง ลดความเสี่ยงและเวลาในการฟื้นตัวของผู้ป่วย
    - ตัวอย่างเช่น หุ่นยนต์ da Vinci ที่ใช้ในการผ่าตัดมะเร็ง

    ### 5. **การจัดการข้อมูลทางการแพทย์**
    - AI ช่วยจัดระเบียบและวิเคราะห์ข้อมูลผู้ป่วยจำนวนมาก ทำให้แพทย์สามารถตัดสินใจได้ดีขึ้น
    - ระบบ AI ยังช่วยลดข้อผิดพลาดในการบันทึกข้อมูลทางการแพทย์

    ### 6. **การให้คำปรึกษาและบริการสุขภาพทางไกล**
    - แชทบอทที่ใช้ AI สามารถให้คำแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับอาการต่าง ๆ และแนะนำให้ผู้ป่วยไปพบแพทย์เมื่อจำเป็น
    - เทคโนโลยี Telemedicine ที่ใช้ AI ช่วยให้ผู้ป่วยในพื้นที่ห่างไกลสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพได้ง่ายขึ้น

    ### 7. **การพยากรณ์โรค**
    - AI สามารถวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อคาดการณ์การแพร่ระบาดของโรค เช่น ไข้หวัดใหญ่ หรือ COVID-19
    - ระบบ AI ยังช่วยคาดการณ์ความเสี่ยงในการเกิดโรคในผู้ป่วยแต่ละคน

    ### 8. **การปรับปรุงประสิทธิภาพของโรงพยาบาล**
    - AI ช่วยจัดการทรัพยากรในโรงพยาบาล เช่น การจัดตารางการทำงานของแพทย์และพยาบาล
    - ระบบ AI ยังช่วยลดเวลารอคอยและเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการ

    ### 9. **การวิจัยทางการแพทย์**
    - AI ช่วยนักวิจัยในการวิเคราะห์ข้อมูลจากการทดลองทางคลินิกและงานวิจัยต่าง ๆ
    - เทคโนโลยี Machine Learning ช่วยค้นพบรูปแบบใหม่ ๆ ในข้อมูลทางการแพทย์ที่มนุษย์อาจมองไม่เห็น

    ### 10. **การดูแลสุขภาพส่วนบุคคล**
    - AI ช่วยให้การดูแลสุขภาพเป็นไปตามลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคล (Personalized Medicine)
    - ระบบ AI สามารถวิเคราะห์ข้อมูลทางพันธุกรรมเพื่อแนะนำการรักษาที่เหมาะสมที่สุดสำหรับผู้ป่วยแต่ละคน

    ### ความท้าทายและข้อควรระวัง
    แม้ AI จะมีศักยภาพสูง แต่ก็มีข้อท้าทาย เช่น:
    - **ความเป็นส่วนตัวของข้อมูล**: ข้อมูลสุขภาพเป็นข้อมูลที่ละเอียดอ่อน จึงต้องมีการปกป้องอย่างเคร่งครัด
    - **ความน่าเชื่อถือ**: AI ต้องได้รับการฝึกฝนด้วยข้อมูลที่มีคุณภาพเพื่อหลีกเลี่ยงการวินิจฉัยผิดพลาด
    - **จริยธรรม**: การใช้ AI ในการตัดสินใจทางการแพทย์ต้องคำนึงถึงจริยธรรมและความรับผิดชอบ

    AI กำลังเปลี่ยนแปลงการรักษาพยาบาลอย่างรวดเร็ว และในอนาคตคาดว่าจะมีบทบาทมากขึ้นในการช่วยชีวิตและยกระดับคุณภาพชีวิตของมนุษย์โลก
    AI (ปัญญาประดิษฐ์) มีบทบาทสำคัญในการปฏิวัติวงการการรักษาพยาบาลของมนุษย์โลกในหลายด้าน ตั้งแต่การช่วยวินิจฉัยโรคไปจนถึงการพัฒนายาใหม่ ๆ และการปรับปรุงการดูแลผู้ป่วย นี่คือบางส่วนของบทบาทที่ AI มีต่อการรักษาพยาบาล: ### 1. **การวินิจฉัยโรค** - AI สามารถวิเคราะห์ข้อมูลทางการแพทย์ เช่น ภาพเอ็กซ์เรย์, CT scan, MRI และผลตรวจเลือด ได้อย่างรวดเร็วและแม่นยำ - ตัวอย่างเช่น AI ช่วยวินิจฉัยโรคมะเร็งเต้านมจากภาพแมมโมแกรมได้ดีกว่าแพทย์ในบางกรณี - AI ยังช่วยระบุโรคตา เช่น เบาหวานขึ้นจอตา จากภาพถ่ายจอประสาทตา ### 2. **การพัฒนายาและวัคซีน** - AI ช่วยเร่งกระบวนการค้นหายาใหม่ ๆ โดยการวิเคราะห์ข้อมูลทางเคมีและชีวภาพจำนวนมาก - ในช่วงการระบาดของ COVID-19 AI ช่วยนักวิจัยในการพัฒนาวัคซีนได้รวดเร็วยิ่งขึ้น ### 3. **การดูแลผู้ป่วย** - AI ช่วยติดตามอาการผู้ป่วยแบบเรียลไทม์ผ่านอุปกรณ์สวมใส่ (wearable devices) เช่น นาฬิกาอัจฉริยะ - ระบบ AI สามารถเตือนแพทย์หรือพยาบาลเมื่อผู้ป่วยมีอาการผิดปกติ ### 4. **การผ่าตัดด้วยหุ่นยนต์** - หุ่นยนต์ผ่าตัดที่ใช้ AI ช่วยให้การผ่าตัดมีความแม่นยำสูง ลดความเสี่ยงและเวลาในการฟื้นตัวของผู้ป่วย - ตัวอย่างเช่น หุ่นยนต์ da Vinci ที่ใช้ในการผ่าตัดมะเร็ง ### 5. **การจัดการข้อมูลทางการแพทย์** - AI ช่วยจัดระเบียบและวิเคราะห์ข้อมูลผู้ป่วยจำนวนมาก ทำให้แพทย์สามารถตัดสินใจได้ดีขึ้น - ระบบ AI ยังช่วยลดข้อผิดพลาดในการบันทึกข้อมูลทางการแพทย์ ### 6. **การให้คำปรึกษาและบริการสุขภาพทางไกล** - แชทบอทที่ใช้ AI สามารถให้คำแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับอาการต่าง ๆ และแนะนำให้ผู้ป่วยไปพบแพทย์เมื่อจำเป็น - เทคโนโลยี Telemedicine ที่ใช้ AI ช่วยให้ผู้ป่วยในพื้นที่ห่างไกลสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพได้ง่ายขึ้น ### 7. **การพยากรณ์โรค** - AI สามารถวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อคาดการณ์การแพร่ระบาดของโรค เช่น ไข้หวัดใหญ่ หรือ COVID-19 - ระบบ AI ยังช่วยคาดการณ์ความเสี่ยงในการเกิดโรคในผู้ป่วยแต่ละคน ### 8. **การปรับปรุงประสิทธิภาพของโรงพยาบาล** - AI ช่วยจัดการทรัพยากรในโรงพยาบาล เช่น การจัดตารางการทำงานของแพทย์และพยาบาล - ระบบ AI ยังช่วยลดเวลารอคอยและเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการ ### 9. **การวิจัยทางการแพทย์** - AI ช่วยนักวิจัยในการวิเคราะห์ข้อมูลจากการทดลองทางคลินิกและงานวิจัยต่าง ๆ - เทคโนโลยี Machine Learning ช่วยค้นพบรูปแบบใหม่ ๆ ในข้อมูลทางการแพทย์ที่มนุษย์อาจมองไม่เห็น ### 10. **การดูแลสุขภาพส่วนบุคคล** - AI ช่วยให้การดูแลสุขภาพเป็นไปตามลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคล (Personalized Medicine) - ระบบ AI สามารถวิเคราะห์ข้อมูลทางพันธุกรรมเพื่อแนะนำการรักษาที่เหมาะสมที่สุดสำหรับผู้ป่วยแต่ละคน ### ความท้าทายและข้อควรระวัง แม้ AI จะมีศักยภาพสูง แต่ก็มีข้อท้าทาย เช่น: - **ความเป็นส่วนตัวของข้อมูล**: ข้อมูลสุขภาพเป็นข้อมูลที่ละเอียดอ่อน จึงต้องมีการปกป้องอย่างเคร่งครัด - **ความน่าเชื่อถือ**: AI ต้องได้รับการฝึกฝนด้วยข้อมูลที่มีคุณภาพเพื่อหลีกเลี่ยงการวินิจฉัยผิดพลาด - **จริยธรรม**: การใช้ AI ในการตัดสินใจทางการแพทย์ต้องคำนึงถึงจริยธรรมและความรับผิดชอบ AI กำลังเปลี่ยนแปลงการรักษาพยาบาลอย่างรวดเร็ว และในอนาคตคาดว่าจะมีบทบาทมากขึ้นในการช่วยชีวิตและยกระดับคุณภาพชีวิตของมนุษย์โลก
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 543 มุมมอง 0 รีวิว
  • ปัญญาประดิษฐ์และดิจิทัลเทคโนโลยีขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สถานบริการสุขภาพไทยได้อย่างไร?

    ณ ใจกลางเมืองที่วุ่นวาย ศักดิ์สิทธิ์ก้มหน้าก้มตากับกองเอกสารทางการแพทย์ที่สูงเป็นภูเขา เขาเป็นแพทย์ประจำบ้านที่โรงพยาบาลใหญ่แห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ และวันนี้เขาต้องเผชิญกับความจริงอันโหดร้ายของระบบสาธารณสุขไทย นั่นคือความล่าช้าและซับซ้อนในการเข้าถึงข้อมูลผู้ป่วย
    "ทำไมมันยากขนาดนี้นะ" เขาพึมพำกับตัวเองขณะที่พยายามค้นหาประวัติการรักษาของผู้ป่วยรายหนึ่ง "ถ้าเรามีระบบที่เชื่อมโยงข้อมูลผู้ป่วยทั้งหมดเข้าด้วยกัน มันคงจะง่ายกว่านี้มาก"
    ศักดิ์สิทธิ์ไม่ใช่คนเดียวที่รู้สึกแบบนี้ เพื่อนร่วมงานของเขาหลายคนก็ประสบปัญหาเดียวกัน พวกเขาต้องเสียเวลาอันมีค่าไปกับการค้นหาข้อมูลผู้ป่วย ซึ่งส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการทำงานและการดูแลผู้ป่วย
    วันหนึ่ง ศักดิ์สิทธิ์ได้อ่านรายงานนักลงทุนด้านสุขภาพดิจิทัล หัวข้อ "ตลาดแพลตฟอร์มที่น่าสนใจที่สุดในอุตสาหกรรมสุขภาพ" ข้อความในรายงานสะกิดใจเขาอย่างจัง เมื่อเขาได้อ่านถึงศักยภาพของแพลตฟอร์มดิจิทัลที่สามารถปฏิวัติวงการสาธารณสุขได้
    "นี่แหละคือสิ่งที่เราต้องการ!" ศักดิ์สิทธิ์อุทานออกมาด้วยความตื่นเต้น "แพลตฟอร์มดิจิทัลจะช่วยให้เราเข้าถึงข้อมูลผู้ป่วยได้ง่ายขึ้น ลดความซ้ำซ้อนในการทำงาน และเพิ่มประสิทธิภาพในการดูแลผู้ป่วย"
    เขาเริ่มศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับแพลตฟอร์มดิจิทัลอย่างจริงจัง และพบว่ามีหลายแพลตฟอร์มที่น่าสนใจ หนึ่งในนั้นคือแพลตฟอร์มที่เชื่อมโยงห่วงโซ่คุณค่าของร้านขายยา ทำให้การจัดการใบสั่งยาเป็นไปอย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังมีแพลตฟอร์มที่ช่วยในการจัดการการทดลองทางคลินิก การรับสมัครผู้เข้าร่วมการทดลอง และการแลกเปลี่ยนภาพทางการแพทย์
    ศักดิ์สิทธิ์เชื่อว่าแพลตฟอร์มเหล่านี้จะช่วยแก้ไขปัญหาที่เขาและเพื่อนร่วมงานกำลังเผชิญอยู่ เขาตัดสินใจนำเรื่องนี้ไปปรึกษาหัวหน้าแผนกและผู้บริหารโรงพยาบาล ซึ่งทุกคนเห็นพ้องต้องกันว่าการนำแพลตฟอร์มดิจิทัลมาใช้จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง
    หลังจากนั้นไม่นาน โรงพยาบาลได้เริ่มนำแพลตฟอร์มดิจิทัลมาใช้ในการทำงานจริง ผลลัพธ์ที่ได้น่าทึ่งมาก ศักดิ์สิทธิ์และเพื่อนร่วมงานสามารถเข้าถึงข้อมูลผู้ป่วยได้ง่ายขึ้น การทำงานเป็นไปอย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ที่สำคัญที่สุดคือพวกเขามีเวลามากขึ้นในการดูแลผู้ป่วย
    "ผมดีใจมากที่เราตัดสินใจนำแพลตฟอร์มดิจิทัลมาใช้" ศักดิ์สิทธิ์กล่าวด้วยรอยยิ้ม "มันช่วยให้เราทำงานได้ดีขึ้นและดูแลผู้ป่วยได้ดียิ่งขึ้น ผมหวังว่าในอนาคตเราจะสามารถพัฒนาแพลตฟอร์มให้ดียิ่งขึ้นไปอีก เพื่อให้การดูแลสุขภาพของคนไทยเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเข้าถึงได้ง่าย"
    จากเรื่องราวของศักดิ์สิทธิ์ เราจะเห็นได้ว่าแพลตฟอร์มดิจิทัลมีบทบาทสำคัญในการปฏิวัติวงการสาธารณสุข ช่วยให้การทำงานของบุคลากรทางการแพทย์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเพิ่มโอกาสให้ประชาชนเข้าถึงบริการทางการแพทย์ที่มีคุณภาพ

    แพลตฟอร์มที่น่าสนใจในอุตสาหกรรมสุขภาพ
    ระบบนิเวศของทุกอย่างมีส่วนที่ส่งเสริมกัน นิเวศแพลตฟอร์มที่น่าสนใจในอุตสาหกรรมสุขภาพก็เช่นกัน เรามาลงรายละเอียดในเรื่องนี้กัน

    แพลตฟอร์ม
    บริษัทที่มีมูลค่าสูงสุดในโลกส่วนใหญ่เป็นธุรกิจแพลตฟอร์ม ในระดับโลก บริษัทที่ใหญ่ที่สุด 6 ใน 10 แห่งคือแพลตฟอร์ม ในตลาดเอกชน บริษัทสตาร์ทอัพที่มีมูลค่าเกินพันล้านดอลลาร์ (ยูนิคอร์น) 60-70% เป็นธุรกิจแพลตฟอร์ม
    แพลตฟอร์มในอุตสาหกรรมสุขภาพดิจิทัล
    ในอุตสาหกรรมสุขภาพดิจิทัล แพลตฟอร์มมีผลการดำเนินงานที่เหนือกว่าบริษัทซอฟต์แวร์ทั่วไปอย่างมาก โดยได้รับเงินทุนสนับสนุนจำนวนมากขึ้น มีมูลค่าประเมินที่สูงกว่า ได้รับเงินทุนต่อเนื่องอย่างต่อเนื่อง และมีการเติบโตในอัตราที่สูงกว่า
    ตลาดแพลตฟอร์มด้านการดูแลสุขภาพ
    การวิเคราะห์ชี้ให้เห็นถึงโอกาสทางการตลาดมูลค่า 1 ล้านล้านดอลลาร์สำหรับแพลตฟอร์มในการดูแลสุขภาพ เนื่องจากธุรกิจแพลตฟอร์มสามารถจัดการกับความท้าทายด้านการดูแลสุขภาพที่สำคัญที่สุดได้มากมาย ตัวอย่างเช่น แพลตฟอร์มสามารถช่วยลดต้นทุนการดูแลสุขภาพ ปรับปรุงการเข้าถึงบริการทางการแพทย์ และเพิ่มประสิทธิภาพในการส่งมอบการดูแลสุขภาพ

    แพลตฟอร์มที่มีอยู่ในปัจจุบัน
    1.ห่วงโซ่คุณค่าของร้านขายยา (ใบสั่งยา)
    แพลตฟอร์มที่เชื่อมโยงร้านขายยา ผู้ให้บริการทางการแพทย์ และผู้ป่วย เพื่อให้การจัดการใบสั่งยาเป็นไปอย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพ
    2.การจัดการการทดลองทางคลินิก
    แพลตฟอร์มที่ช่วยในการจัดการและติดตามการทดลองทางคลินิก ตั้งแต่การออกแบบ การรับสมัครผู้เข้าร่วม ไปจนถึงการวิเคราะห์ข้อมูล
    3.การรับสมัครการทดลองทางคลินิก
    แพลตฟอร์มที่ช่วยในการค้นหาและคัดเลือกผู้เข้าร่วมการทดลองทางคลินิกที่เหมาะสม
    4.การแลกเปลี่ยนภาพทางการแพทย์
    แพลตฟอร์มที่ช่วยในการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนภาพทางการแพทย์ระหว่างผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์
    5.การทำสัญญาและการรับรอง
    แพลตฟอร์มที่ช่วยในการจัดการสัญญาและการรับรองระหว่างผู้ให้บริการทางการแพทย์และผู้ชำระเงิน
    6.การอ้างอิงผู้เชี่ยวชาญ
    แพลตฟอร์มที่ช่วยในการอ้างอิงผู้ป่วยไปยังผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์ที่เหมาะสม
    7.การเคลมทางการแพทย์
    แพลตฟอร์มที่ช่วยในการจัดการและดำเนินการเคลมทางการแพทย์
    8.ตลาดพนักงาน
    แพลตฟอร์มที่เชื่อมโยงผู้ให้บริการทางการแพทย์กับผู้ที่กำลังมองหางานในอุตสาหกรรมสุขภาพ
    9.การอ้างอิงการจำหน่าย/LTPAC
    แพลตฟอร์มที่ช่วยในการอ้างอิงผู้ป่วยไปยังสถานพยาบาลหรือศูนย์ดูแลระยะยาว

    แพลตฟอร์มเกิดใหม่
    1.การเสริมสร้างศักยภาพผู้ให้บริการอิสระ
    แพลตฟอร์มที่ช่วยให้ผู้ให้บริการทางการแพทย์อิสระสามารถเข้าถึงเครื่องมือและทรัพยากรที่จำเป็นในการให้บริการที่มีคุณภาพ
    2.การเปิดเผยข้อมูลด้านสุขภาพ
    แพลตฟอร์มที่ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงและจัดการข้อมูลสุขภาพของตนเองได้อย่างปลอดภัย
    3.เครือข่ายที่ไม่ใช่ทางคลินิก
    แพลตฟอร์มที่เชื่อมโยงผู้ป่วยกับชุมชนและกลุ่มสนับสนุนต่างๆ เพื่อให้ได้รับการดูแลที่ครอบคลุม
    4.ตลาดที่ขับเคลื่อนด้วยผู้บริโภค
    แพลตฟอร์มที่ช่วยให้ผู้บริโภคสามารถเปรียบเทียบและเลือกบริการทางการแพทย์ที่ตรงกับความต้องการของตนเอง
    5.ไดเรกทอรี/ข้อมูลรับรองที่ผู้ให้บริการควบคุม
    แพลตฟอร์มที่ช่วยให้ผู้ให้บริการทางการแพทย์สามารถจัดการข้อมูลรับรองและข้อมูลส่วนตัวของตนเองได้

    แล้วปัญญาประดิษฐ์และดิจิทัลเทคโนโลยีขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สถานบริการสุขภาพไทยได้อย่างไร? อย่าลืมติดตามตอนต่อไปครับ

    ที่มาของรูปภาพ: https://cellworks.life/technology/pipeline
    #เมื่อมีของจงแบ่งปันสู่ผู้คน
    www.10-xconsulting
    www.lifealignmentor.com
    ปัญญาประดิษฐ์และดิจิทัลเทคโนโลยีขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สถานบริการสุขภาพไทยได้อย่างไร? ณ ใจกลางเมืองที่วุ่นวาย ศักดิ์สิทธิ์ก้มหน้าก้มตากับกองเอกสารทางการแพทย์ที่สูงเป็นภูเขา เขาเป็นแพทย์ประจำบ้านที่โรงพยาบาลใหญ่แห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ และวันนี้เขาต้องเผชิญกับความจริงอันโหดร้ายของระบบสาธารณสุขไทย นั่นคือความล่าช้าและซับซ้อนในการเข้าถึงข้อมูลผู้ป่วย "ทำไมมันยากขนาดนี้นะ" เขาพึมพำกับตัวเองขณะที่พยายามค้นหาประวัติการรักษาของผู้ป่วยรายหนึ่ง "ถ้าเรามีระบบที่เชื่อมโยงข้อมูลผู้ป่วยทั้งหมดเข้าด้วยกัน มันคงจะง่ายกว่านี้มาก" ศักดิ์สิทธิ์ไม่ใช่คนเดียวที่รู้สึกแบบนี้ เพื่อนร่วมงานของเขาหลายคนก็ประสบปัญหาเดียวกัน พวกเขาต้องเสียเวลาอันมีค่าไปกับการค้นหาข้อมูลผู้ป่วย ซึ่งส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการทำงานและการดูแลผู้ป่วย วันหนึ่ง ศักดิ์สิทธิ์ได้อ่านรายงานนักลงทุนด้านสุขภาพดิจิทัล หัวข้อ "ตลาดแพลตฟอร์มที่น่าสนใจที่สุดในอุตสาหกรรมสุขภาพ" ข้อความในรายงานสะกิดใจเขาอย่างจัง เมื่อเขาได้อ่านถึงศักยภาพของแพลตฟอร์มดิจิทัลที่สามารถปฏิวัติวงการสาธารณสุขได้ "นี่แหละคือสิ่งที่เราต้องการ!" ศักดิ์สิทธิ์อุทานออกมาด้วยความตื่นเต้น "แพลตฟอร์มดิจิทัลจะช่วยให้เราเข้าถึงข้อมูลผู้ป่วยได้ง่ายขึ้น ลดความซ้ำซ้อนในการทำงาน และเพิ่มประสิทธิภาพในการดูแลผู้ป่วย" เขาเริ่มศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับแพลตฟอร์มดิจิทัลอย่างจริงจัง และพบว่ามีหลายแพลตฟอร์มที่น่าสนใจ หนึ่งในนั้นคือแพลตฟอร์มที่เชื่อมโยงห่วงโซ่คุณค่าของร้านขายยา ทำให้การจัดการใบสั่งยาเป็นไปอย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังมีแพลตฟอร์มที่ช่วยในการจัดการการทดลองทางคลินิก การรับสมัครผู้เข้าร่วมการทดลอง และการแลกเปลี่ยนภาพทางการแพทย์ ศักดิ์สิทธิ์เชื่อว่าแพลตฟอร์มเหล่านี้จะช่วยแก้ไขปัญหาที่เขาและเพื่อนร่วมงานกำลังเผชิญอยู่ เขาตัดสินใจนำเรื่องนี้ไปปรึกษาหัวหน้าแผนกและผู้บริหารโรงพยาบาล ซึ่งทุกคนเห็นพ้องต้องกันว่าการนำแพลตฟอร์มดิจิทัลมาใช้จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง หลังจากนั้นไม่นาน โรงพยาบาลได้เริ่มนำแพลตฟอร์มดิจิทัลมาใช้ในการทำงานจริง ผลลัพธ์ที่ได้น่าทึ่งมาก ศักดิ์สิทธิ์และเพื่อนร่วมงานสามารถเข้าถึงข้อมูลผู้ป่วยได้ง่ายขึ้น การทำงานเป็นไปอย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ที่สำคัญที่สุดคือพวกเขามีเวลามากขึ้นในการดูแลผู้ป่วย "ผมดีใจมากที่เราตัดสินใจนำแพลตฟอร์มดิจิทัลมาใช้" ศักดิ์สิทธิ์กล่าวด้วยรอยยิ้ม "มันช่วยให้เราทำงานได้ดีขึ้นและดูแลผู้ป่วยได้ดียิ่งขึ้น ผมหวังว่าในอนาคตเราจะสามารถพัฒนาแพลตฟอร์มให้ดียิ่งขึ้นไปอีก เพื่อให้การดูแลสุขภาพของคนไทยเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเข้าถึงได้ง่าย" จากเรื่องราวของศักดิ์สิทธิ์ เราจะเห็นได้ว่าแพลตฟอร์มดิจิทัลมีบทบาทสำคัญในการปฏิวัติวงการสาธารณสุข ช่วยให้การทำงานของบุคลากรทางการแพทย์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเพิ่มโอกาสให้ประชาชนเข้าถึงบริการทางการแพทย์ที่มีคุณภาพ แพลตฟอร์มที่น่าสนใจในอุตสาหกรรมสุขภาพ ระบบนิเวศของทุกอย่างมีส่วนที่ส่งเสริมกัน นิเวศแพลตฟอร์มที่น่าสนใจในอุตสาหกรรมสุขภาพก็เช่นกัน เรามาลงรายละเอียดในเรื่องนี้กัน แพลตฟอร์ม บริษัทที่มีมูลค่าสูงสุดในโลกส่วนใหญ่เป็นธุรกิจแพลตฟอร์ม ในระดับโลก บริษัทที่ใหญ่ที่สุด 6 ใน 10 แห่งคือแพลตฟอร์ม ในตลาดเอกชน บริษัทสตาร์ทอัพที่มีมูลค่าเกินพันล้านดอลลาร์ (ยูนิคอร์น) 60-70% เป็นธุรกิจแพลตฟอร์ม แพลตฟอร์มในอุตสาหกรรมสุขภาพดิจิทัล ในอุตสาหกรรมสุขภาพดิจิทัล แพลตฟอร์มมีผลการดำเนินงานที่เหนือกว่าบริษัทซอฟต์แวร์ทั่วไปอย่างมาก โดยได้รับเงินทุนสนับสนุนจำนวนมากขึ้น มีมูลค่าประเมินที่สูงกว่า ได้รับเงินทุนต่อเนื่องอย่างต่อเนื่อง และมีการเติบโตในอัตราที่สูงกว่า ตลาดแพลตฟอร์มด้านการดูแลสุขภาพ การวิเคราะห์ชี้ให้เห็นถึงโอกาสทางการตลาดมูลค่า 1 ล้านล้านดอลลาร์สำหรับแพลตฟอร์มในการดูแลสุขภาพ เนื่องจากธุรกิจแพลตฟอร์มสามารถจัดการกับความท้าทายด้านการดูแลสุขภาพที่สำคัญที่สุดได้มากมาย ตัวอย่างเช่น แพลตฟอร์มสามารถช่วยลดต้นทุนการดูแลสุขภาพ ปรับปรุงการเข้าถึงบริการทางการแพทย์ และเพิ่มประสิทธิภาพในการส่งมอบการดูแลสุขภาพ แพลตฟอร์มที่มีอยู่ในปัจจุบัน 1.ห่วงโซ่คุณค่าของร้านขายยา (ใบสั่งยา) แพลตฟอร์มที่เชื่อมโยงร้านขายยา ผู้ให้บริการทางการแพทย์ และผู้ป่วย เพื่อให้การจัดการใบสั่งยาเป็นไปอย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพ 2.การจัดการการทดลองทางคลินิก แพลตฟอร์มที่ช่วยในการจัดการและติดตามการทดลองทางคลินิก ตั้งแต่การออกแบบ การรับสมัครผู้เข้าร่วม ไปจนถึงการวิเคราะห์ข้อมูล 3.การรับสมัครการทดลองทางคลินิก แพลตฟอร์มที่ช่วยในการค้นหาและคัดเลือกผู้เข้าร่วมการทดลองทางคลินิกที่เหมาะสม 4.การแลกเปลี่ยนภาพทางการแพทย์ แพลตฟอร์มที่ช่วยในการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนภาพทางการแพทย์ระหว่างผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์ 5.การทำสัญญาและการรับรอง แพลตฟอร์มที่ช่วยในการจัดการสัญญาและการรับรองระหว่างผู้ให้บริการทางการแพทย์และผู้ชำระเงิน 6.การอ้างอิงผู้เชี่ยวชาญ แพลตฟอร์มที่ช่วยในการอ้างอิงผู้ป่วยไปยังผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์ที่เหมาะสม 7.การเคลมทางการแพทย์ แพลตฟอร์มที่ช่วยในการจัดการและดำเนินการเคลมทางการแพทย์ 8.ตลาดพนักงาน แพลตฟอร์มที่เชื่อมโยงผู้ให้บริการทางการแพทย์กับผู้ที่กำลังมองหางานในอุตสาหกรรมสุขภาพ 9.การอ้างอิงการจำหน่าย/LTPAC แพลตฟอร์มที่ช่วยในการอ้างอิงผู้ป่วยไปยังสถานพยาบาลหรือศูนย์ดูแลระยะยาว แพลตฟอร์มเกิดใหม่ 1.การเสริมสร้างศักยภาพผู้ให้บริการอิสระ แพลตฟอร์มที่ช่วยให้ผู้ให้บริการทางการแพทย์อิสระสามารถเข้าถึงเครื่องมือและทรัพยากรที่จำเป็นในการให้บริการที่มีคุณภาพ 2.การเปิดเผยข้อมูลด้านสุขภาพ แพลตฟอร์มที่ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงและจัดการข้อมูลสุขภาพของตนเองได้อย่างปลอดภัย 3.เครือข่ายที่ไม่ใช่ทางคลินิก แพลตฟอร์มที่เชื่อมโยงผู้ป่วยกับชุมชนและกลุ่มสนับสนุนต่างๆ เพื่อให้ได้รับการดูแลที่ครอบคลุม 4.ตลาดที่ขับเคลื่อนด้วยผู้บริโภค แพลตฟอร์มที่ช่วยให้ผู้บริโภคสามารถเปรียบเทียบและเลือกบริการทางการแพทย์ที่ตรงกับความต้องการของตนเอง 5.ไดเรกทอรี/ข้อมูลรับรองที่ผู้ให้บริการควบคุม แพลตฟอร์มที่ช่วยให้ผู้ให้บริการทางการแพทย์สามารถจัดการข้อมูลรับรองและข้อมูลส่วนตัวของตนเองได้ แล้วปัญญาประดิษฐ์และดิจิทัลเทคโนโลยีขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สถานบริการสุขภาพไทยได้อย่างไร? อย่าลืมติดตามตอนต่อไปครับ ที่มาของรูปภาพ: https://cellworks.life/technology/pipeline #เมื่อมีของจงแบ่งปันสู่ผู้คน www.10-xconsulting www.lifealignmentor.com
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 676 มุมมอง 0 รีวิว
  • ☘️สูตรพอลลิตินสำหรับผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ ประกอบด้วยสารอาหารที่ช่วยสนับสนุนการทำงานของระบบย่อยอาหาร ลดการอักเสบ เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน และฟื้นฟูสุขภาพร่างกาย ดังนี้:1. วิทกราส (Wheatgrass)ช่วยล้างสารพิษในร่างกาย รวมถึงระบบน้ำเหลืองและทางเดินอาหารอุดมด้วยคลอโรฟิลล์ ช่วยลดการอักเสบ และส่งเสริมการฟื้นฟูเซลล์2. พอลลิทรักซ์ (Pollitrix)เป็นซินไบโอติกซ์ ช่วยปรับสมดุลจุลินทรีย์ในลำไส้ส่งเสริมสุขภาพลำไส้และการดูดซึมสารอาหาร ลดความเสี่ยงการติดเชื้อ3. พอลลิทอล (Pollitol)มีสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยลดการเสื่อมของเซลล์และบรรเทาอาการอักเสบในระบบทางเดินอาหารช่วยเพิ่มพลังงานและสนับสนุนการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน4. พอลลิแคน (Pollikan)เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ลดการอักเสบในร่างกาย และช่วยยับยั้งการแพร่กระจายของเซลล์มะเร็งสนับสนุนการซ่อมแซมเซลล์ที่เสียหาย5. พอลลิแทป (Pollitap)ช่วยเพิ่มการไหลเวียนของเลือด ฟื้นฟูเนื้อเยื่อและเซลล์ที่เสียหายจากการรักษาบำรุงระบบประสาทและช่วยเพิ่มพลังงานให้ร่างกาย6. พอลเลนพลัส (Pollen Plus)สารสกัดจากเกสรดอกไม้ อุดมด้วยวิตามิน แร่ธาตุ และกรดอะมิโนเสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรง และเพิ่มพลังงานในชีวิตประจำวัน7. พอลลิเน๊กซ์ (Pollinex)ช่วยลดความเครียด เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน และช่วยฟื้นฟูพลังงานในร่างกายส่งเสริมการทำงานของเซลล์และช่วยให้ร่างกายฟื้นตัวเร็วขึ้น☘️คุณประโยชน์สำคัญของสูตรนี้สำหรับผู้ป่วยมะเร็งลำไส้✅สนับสนุนการทำงานของระบบย่อยอาหารและการดูดซึมสารอาหาร✅ลดการอักเสบในลำไส้และระบบทางเดินอาหาร✅ฟื้นฟูเซลล์และเนื้อเยื่อที่เสียหาย✅เพิ่มพลังงานและเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้แข็งแรงสูตรนี้เหมาะสำหรับการดูแลผู้ป่วยมะเร็งลำไส้เพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตและฟื้นฟูสุขภาพอย่างยั่งยืน.ปรึกษา อ.ธนกร ศูนย์สร้างภูมิบำบัด☎️. 090-465-6360ดูข้อมูลเพิ่ม กดที่ลิงค์https://lin.ee/pBbSqSD#ทางเลือกการรักษามะเร็ง #รักษามะเร็งแบบธรรมชาติ #สารอาหารต้านมะเร็ง #บำรุงสุขภาพต้านมะเร็ง #สมุนไพรบำบัดมะเร็ง #โภชนาการเพื่อสุขภาพ #บำบัดด้วยอาหาร #สุขภาพและโภชนาการ #โภชนเภสัชศาสตร์ #พอลลิตินเพื่อสุขภาพ
    ☘️สูตรพอลลิตินสำหรับผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ ประกอบด้วยสารอาหารที่ช่วยสนับสนุนการทำงานของระบบย่อยอาหาร ลดการอักเสบ เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน และฟื้นฟูสุขภาพร่างกาย ดังนี้:1. วิทกราส (Wheatgrass)ช่วยล้างสารพิษในร่างกาย รวมถึงระบบน้ำเหลืองและทางเดินอาหารอุดมด้วยคลอโรฟิลล์ ช่วยลดการอักเสบ และส่งเสริมการฟื้นฟูเซลล์2. พอลลิทรักซ์ (Pollitrix)เป็นซินไบโอติกซ์ ช่วยปรับสมดุลจุลินทรีย์ในลำไส้ส่งเสริมสุขภาพลำไส้และการดูดซึมสารอาหาร ลดความเสี่ยงการติดเชื้อ3. พอลลิทอล (Pollitol)มีสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยลดการเสื่อมของเซลล์และบรรเทาอาการอักเสบในระบบทางเดินอาหารช่วยเพิ่มพลังงานและสนับสนุนการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน4. พอลลิแคน (Pollikan)เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ลดการอักเสบในร่างกาย และช่วยยับยั้งการแพร่กระจายของเซลล์มะเร็งสนับสนุนการซ่อมแซมเซลล์ที่เสียหาย5. พอลลิแทป (Pollitap)ช่วยเพิ่มการไหลเวียนของเลือด ฟื้นฟูเนื้อเยื่อและเซลล์ที่เสียหายจากการรักษาบำรุงระบบประสาทและช่วยเพิ่มพลังงานให้ร่างกาย6. พอลเลนพลัส (Pollen Plus)สารสกัดจากเกสรดอกไม้ อุดมด้วยวิตามิน แร่ธาตุ และกรดอะมิโนเสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรง และเพิ่มพลังงานในชีวิตประจำวัน7. พอลลิเน๊กซ์ (Pollinex)ช่วยลดความเครียด เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน และช่วยฟื้นฟูพลังงานในร่างกายส่งเสริมการทำงานของเซลล์และช่วยให้ร่างกายฟื้นตัวเร็วขึ้น☘️คุณประโยชน์สำคัญของสูตรนี้สำหรับผู้ป่วยมะเร็งลำไส้✅สนับสนุนการทำงานของระบบย่อยอาหารและการดูดซึมสารอาหาร✅ลดการอักเสบในลำไส้และระบบทางเดินอาหาร✅ฟื้นฟูเซลล์และเนื้อเยื่อที่เสียหาย✅เพิ่มพลังงานและเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้แข็งแรงสูตรนี้เหมาะสำหรับการดูแลผู้ป่วยมะเร็งลำไส้เพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตและฟื้นฟูสุขภาพอย่างยั่งยืน.ปรึกษา อ.ธนกร ศูนย์สร้างภูมิบำบัด☎️. 090-465-6360ดูข้อมูลเพิ่ม กดที่ลิงค์https://lin.ee/pBbSqSD#ทางเลือกการรักษามะเร็ง #รักษามะเร็งแบบธรรมชาติ #สารอาหารต้านมะเร็ง #บำรุงสุขภาพต้านมะเร็ง #สมุนไพรบำบัดมะเร็ง #โภชนาการเพื่อสุขภาพ #บำบัดด้วยอาหาร #สุขภาพและโภชนาการ #โภชนเภสัชศาสตร์ #พอลลิตินเพื่อสุขภาพ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1423 มุมมอง 0 รีวิว
  • #ของว่างที่เฝ้ารอกับคำขออย่างสุดท้าย

    ความหมายของการมีชีวิตคืออะไร หนังสือเล่มนี้จะเป็นเล่มหนึ่งที่พาคุณไปเที่ยวชมและร่วมเรียนรู้ไปกับการแสวงหาความสำคัญของการอยากมีชีวิตอยู่ต่อไป ของใครอีกหลายคนในสภาวะที่ร่างกายกำลังอ่อนแอ ด้วยโรคร้ายกัดกินจนใกล้วาระสุดท้าย ก่อนลมหายใจจะดับลง

    สนพ.piccolo พิมพ์ครั้งแรกในญี่ปุ่นปี 2019
    ฉบับแปลไทย เม.ย.2567
    โอกาวะ อิโตะ เขียน
    ธนพล ศักดิ์สมุทรานันท์ แปล
    223 หน้า 285 บาท

    ตลอดทั้งเล่มเต็มไปด้วยความอบอวลของความรักระหว่างมนุษย์ที่มีต่อมนุษย์ด้วยกัน รวมไปถึงมนุษย์ที่มีต่อสัตว์และสัตว์เองก็แสดงตอบต่อด้วยความซื่อตรง

    เนื้อหากล่าวถึงหญิงสาวคนหนึ่งนามว่า อูมิโนะ ชิสุกุ ซึ่งมีวัย 33 ปี ชีวิตที่ผ่านมาของเธออ่อนโยนต่อคนรอบข้างมาโดยตลอดตั้งแต่ยังเด็ก โดยเฉพาะพ่อบุญธรรมที่รับเลี้ยงเธอซึ่งสูญเสียพ่อแม่ไปตั้งแต่เล็ก แม้จะไม่ใช่บุพการีที่ให้กำเนิด แต่มอบความรักดูแลเอาใจใส่อย่างดี ทว่าวันหนึ่งเมื่อเธอพบว่าตนมีโรคร้ายเกาะกิน แม้นจะพยายามรักษา ต่อสู้ด้วยตนเองหลังแยกมาอยู่คนเดียว แต่สุดท้ายบั้นปลายชีวิต ต้องทำใจยอมรับความจริงว่ามีเวลาเหลืออยู่บนโลกนี้ได้อีกไม่นาน ไม่อยากให้พ่อต้องเดือดร้อนและเศร้าใจเพราะทราบความจริง จึงเลือกที่จะไม่บอกแล้วตระเตรียมแผนล่วงหน้าสำหรับรับมือกับความตายที่กำลังย่างกรายมาถึง ด้วยการตัดสินใจเดินทางไปใช้ชีวิตอยู่ที่สถานดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย ที่เกาะเลมอนซึ่งรายล้อมด้วยทะเลเงียบสงบและงดงาม เต็มไปด้วยธรรมชาติและอากาศอันสดชื่นบริสุทธิ์ มีไร่องุ่น กับท้องฟ้าสีครามและท้องทะเลสีน้ำเงินที่เธอชอบและใฝ่ฝัน เป็นสถานที่เธอเลือกเพราะคิดว่าเหมาะสมตรงกับรสนิยมความชอบของตนมากที่สุด

    ชื่อของสถานที่ดังกล่าวคือบ้านพักสิงโต เปรียบได้กับดินแดนสุขาวดีที่มีเทวดานางฟ้าคอยให้การต้อนรับดูแลด้วยหัวใจ โดยเฉพาะเจ้าของสถานที่สาวซึ่งมีนามว่ามาดอนน่า เป็นหญิงมหัศจรรย์ที่มีน้ำใจงาม มีความเชี่ยวชาญในด้านการดูแลทั้งทางด้านร่างกายที่เจ็บไข้ของผู้ป่วย และเยียวยาด้านจิตใจไปพร้อมกัน

    ณ สถานที่แห่งนี้เอง ในบ้านพักบนเกาะห่างไกล ที่ซึ่งชิสุกุไม่เคยคาดฝันว่าจะได้พบกับความรักอีกครั้ง กับชายหนุ่มน่ารัก สุภาพและวัยใกล้เคียงกัน นอกจากนี้ยังอดตะลึงไปกับห้องพักส่วนตัวที่แสนสบายท่ามกลางบรรยากาศราวสรวงสวรรค์ เธอได้เรียนรู้ว่าไม่ใช่เฉพาะตัวเองเท่านั้นที่ประสบกับภาวะทุกข์โศกจากโรคภัยที่กำลังจะพรากลมหายใจอันหวงแหนให้หลุดลอยไป แต่ยังมีเพื่อนร่วมชะตากรรมอีกหลายคนทั้งชายหญิง วัยเด็กหรือแม้กระทั่งวัยสูงอายุ แต่ละคนล้วนมีอาการทรมานที่ไม่น้อยไปกว่าเธอ บางคนเป็นมากกว่าด้วย

    ชิสุกุได้สัมผัสกับมิตรภาพและวิญญาณภายในของเพื่อนต่างวัย ที่ตอนแรกเธอพยายามหลีกเลี่ยงที่จะไม่คบคุ้นด้วย ยังมีเจ้าสุนัขแสนรู้น่ารักเพศเมียอีกตัวหนึ่งเล่า ที่มีบทบาทสำคัญอย่างมากในการช่วยชุบชูหัวใจอันอ่อนล้าของหญิงสาว ให้ยอมเปิดใจและคลายวงล้อมของป้อมปราการที่ขังตัวเองจากทุกคนลงได้ หมาตัวนี้มีชื่อว่า รกกะ เจ้าของเดิมเคยมาพำนักอยู่ที่บ้านสิงโตเมื่อนานมาแล้ว และหลังจากเธอคนนั้นจากไป ทุกคนก้ช่วยกันดูแลรกกะต่อมา

    จนกระทั่ง รกกะ ได้พบกับชิสุกุ ทั้งคู่ถูกชะตากันตั้งแต่วันแรกที่ได้พบ หลังจากนั้นก็อยู่ด้วยกันตลอด รกกะเป็นเสมือนตู้ยาเคลื่อนที่ซึ่งช่วยให้ชิสุกุต่อสู้กับความเจ็บปวดโดยยังสามารถปรากฏรอยยิ้มอยู่ได้

    สิ่งหนึ่งซึ่งเป็นเรื่องสำคัญที่ผู้มาพักที่นี่ทุกคนต่างเฝ้ารอที่จะให้ถึงวันนั้นเร็ว ๆ นั่นคือการได้มีกิจกรรมกินของว่างร่วมกันในทุกวันหยุดสุดสัปดาห์ เพียงหนึ่งครั้งในรอบเจ็ดวัน โดยทุกคนมีสิทธิเท่ากันคนละ1เสียง ที่สามารถเขียนใส่กระดาษเพื่อบอกเล่าถึงขนมที่ตนชื่นชอบและอยากกินมากที่สุดเป็นครั้งสุดท้าย แล้วคำขอเหล่านั้นจะถูกจับฉลากขึ้นมาหนึ่งใบ คำขอของใครก็ตามที่โชคดี แม่ครัวจะแกะสูตรแล้วทำออกมาให้เหมือนหรือใกล้เคียงที่สุด เพื่อจะเสิร์ฟให้กับทุกคนได้ชิมกัน

    อย่างไรก็ตาม วันที่ต้องจากลาย่อมบ่ายหน้ามาถึงเพื่อนแต่ละคน ในห้วงเวลาเช่นนั้น ทั้งเขาหรือเธอรวมทั้งชิสุกุเอง มีวิธีรับมือระหว่างเผชิญหน้ากับความเสื่อมสลายของสังขาร ที่ค่อย ๆ ทรุดโทรมและดับสิ้นไปทีละน้อยอย่างไร นี่คือสิ่งที่ผู้อ่านจะได้ร่วมเรียนรู้ไปพร้อมกันกับตัวละครในเรื่อง

    ถ้าคุณเคยประทับใจมาแล้วกับ ร้านเครื่องเขียนนั้นใต้ต้นสึบากิ นี่คืออีกเล่มหนึ่งที่น่าลองหามาอ่านครับ โดยเฉพาะคนที่กำลังเผชิญกับความเจ็บป่วยอยู่ หรือแม้ผู้ดูแลคนป่วยเอง แต่ถึงแม้จะไม่ได้ป่วยเลย แต่การได้ทำความเข้าใจกับเรื่องราวเหล่านี้ก็ถือเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ผู้เขียนบรรยายอย่างค่อยเป็นค่อยไป เปิดเผยเรื่องราวทีละน้อย แล้วไต่ระดับไปอย่างช้า ๆ อารมณ์ของเรื่องไม่ใช่จะมีแต่เปลี่ยวเหงา โศกเศร้า ทดท้อ เจ็บแค้น และสิ้นหวังเพียงเท่านั้น แต่ยังมีความเบิกบานหรรษา อิ่มเอม อบอุ่น เปี่ยมหวัง ให้อภัย สงบสุข คละเคล้าจนกลายเป็นส่วนผสมที่น่าศึกษา มีความละมุนละไมไปพร้อม ๆ กับการได้เห็นถึงความจริงอันเป็นสัจธรรมของชีวิต

    เพราะความเจ็บป่วยนั้นเกิดมีได้กับคนทุกคน แต่มีไม่กี่คนเท่านัั้นจะทำความเข้าใจกับสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างดี และจัดวางภาระทุกอย่างให้อยู่ถูกที่ถูกทาง ในขณะที่เตรียมพร้อมจะปล่อยวางร่างกายนี้ ซึ่งตนหวงแหนประหนึ่งคือสมบัติของเราจริง ๆ ยามเมื่อเวลานั้นมาถึง

    #thaitimes
    #หนังสือน่าอ่าน
    #นิยายแปล
    #นิยายญี่ปุ่น
    #ผู้ป่วยระยะสุดท้าย
    #เตรียมตัวตาย
    #การดูแลผู้ป่วย
    #หนังสือดี
    #ของว่างที่เฝ้ารอกับคำขออย่างสุดท้าย ความหมายของการมีชีวิตคืออะไร หนังสือเล่มนี้จะเป็นเล่มหนึ่งที่พาคุณไปเที่ยวชมและร่วมเรียนรู้ไปกับการแสวงหาความสำคัญของการอยากมีชีวิตอยู่ต่อไป ของใครอีกหลายคนในสภาวะที่ร่างกายกำลังอ่อนแอ ด้วยโรคร้ายกัดกินจนใกล้วาระสุดท้าย ก่อนลมหายใจจะดับลง สนพ.piccolo พิมพ์ครั้งแรกในญี่ปุ่นปี 2019 ฉบับแปลไทย เม.ย.2567 โอกาวะ อิโตะ เขียน ธนพล ศักดิ์สมุทรานันท์ แปล 223 หน้า 285 บาท ตลอดทั้งเล่มเต็มไปด้วยความอบอวลของความรักระหว่างมนุษย์ที่มีต่อมนุษย์ด้วยกัน รวมไปถึงมนุษย์ที่มีต่อสัตว์และสัตว์เองก็แสดงตอบต่อด้วยความซื่อตรง เนื้อหากล่าวถึงหญิงสาวคนหนึ่งนามว่า อูมิโนะ ชิสุกุ ซึ่งมีวัย 33 ปี ชีวิตที่ผ่านมาของเธออ่อนโยนต่อคนรอบข้างมาโดยตลอดตั้งแต่ยังเด็ก โดยเฉพาะพ่อบุญธรรมที่รับเลี้ยงเธอซึ่งสูญเสียพ่อแม่ไปตั้งแต่เล็ก แม้จะไม่ใช่บุพการีที่ให้กำเนิด แต่มอบความรักดูแลเอาใจใส่อย่างดี ทว่าวันหนึ่งเมื่อเธอพบว่าตนมีโรคร้ายเกาะกิน แม้นจะพยายามรักษา ต่อสู้ด้วยตนเองหลังแยกมาอยู่คนเดียว แต่สุดท้ายบั้นปลายชีวิต ต้องทำใจยอมรับความจริงว่ามีเวลาเหลืออยู่บนโลกนี้ได้อีกไม่นาน ไม่อยากให้พ่อต้องเดือดร้อนและเศร้าใจเพราะทราบความจริง จึงเลือกที่จะไม่บอกแล้วตระเตรียมแผนล่วงหน้าสำหรับรับมือกับความตายที่กำลังย่างกรายมาถึง ด้วยการตัดสินใจเดินทางไปใช้ชีวิตอยู่ที่สถานดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย ที่เกาะเลมอนซึ่งรายล้อมด้วยทะเลเงียบสงบและงดงาม เต็มไปด้วยธรรมชาติและอากาศอันสดชื่นบริสุทธิ์ มีไร่องุ่น กับท้องฟ้าสีครามและท้องทะเลสีน้ำเงินที่เธอชอบและใฝ่ฝัน เป็นสถานที่เธอเลือกเพราะคิดว่าเหมาะสมตรงกับรสนิยมความชอบของตนมากที่สุด ชื่อของสถานที่ดังกล่าวคือบ้านพักสิงโต เปรียบได้กับดินแดนสุขาวดีที่มีเทวดานางฟ้าคอยให้การต้อนรับดูแลด้วยหัวใจ โดยเฉพาะเจ้าของสถานที่สาวซึ่งมีนามว่ามาดอนน่า เป็นหญิงมหัศจรรย์ที่มีน้ำใจงาม มีความเชี่ยวชาญในด้านการดูแลทั้งทางด้านร่างกายที่เจ็บไข้ของผู้ป่วย และเยียวยาด้านจิตใจไปพร้อมกัน ณ สถานที่แห่งนี้เอง ในบ้านพักบนเกาะห่างไกล ที่ซึ่งชิสุกุไม่เคยคาดฝันว่าจะได้พบกับความรักอีกครั้ง กับชายหนุ่มน่ารัก สุภาพและวัยใกล้เคียงกัน นอกจากนี้ยังอดตะลึงไปกับห้องพักส่วนตัวที่แสนสบายท่ามกลางบรรยากาศราวสรวงสวรรค์ เธอได้เรียนรู้ว่าไม่ใช่เฉพาะตัวเองเท่านั้นที่ประสบกับภาวะทุกข์โศกจากโรคภัยที่กำลังจะพรากลมหายใจอันหวงแหนให้หลุดลอยไป แต่ยังมีเพื่อนร่วมชะตากรรมอีกหลายคนทั้งชายหญิง วัยเด็กหรือแม้กระทั่งวัยสูงอายุ แต่ละคนล้วนมีอาการทรมานที่ไม่น้อยไปกว่าเธอ บางคนเป็นมากกว่าด้วย ชิสุกุได้สัมผัสกับมิตรภาพและวิญญาณภายในของเพื่อนต่างวัย ที่ตอนแรกเธอพยายามหลีกเลี่ยงที่จะไม่คบคุ้นด้วย ยังมีเจ้าสุนัขแสนรู้น่ารักเพศเมียอีกตัวหนึ่งเล่า ที่มีบทบาทสำคัญอย่างมากในการช่วยชุบชูหัวใจอันอ่อนล้าของหญิงสาว ให้ยอมเปิดใจและคลายวงล้อมของป้อมปราการที่ขังตัวเองจากทุกคนลงได้ หมาตัวนี้มีชื่อว่า รกกะ เจ้าของเดิมเคยมาพำนักอยู่ที่บ้านสิงโตเมื่อนานมาแล้ว และหลังจากเธอคนนั้นจากไป ทุกคนก้ช่วยกันดูแลรกกะต่อมา จนกระทั่ง รกกะ ได้พบกับชิสุกุ ทั้งคู่ถูกชะตากันตั้งแต่วันแรกที่ได้พบ หลังจากนั้นก็อยู่ด้วยกันตลอด รกกะเป็นเสมือนตู้ยาเคลื่อนที่ซึ่งช่วยให้ชิสุกุต่อสู้กับความเจ็บปวดโดยยังสามารถปรากฏรอยยิ้มอยู่ได้ สิ่งหนึ่งซึ่งเป็นเรื่องสำคัญที่ผู้มาพักที่นี่ทุกคนต่างเฝ้ารอที่จะให้ถึงวันนั้นเร็ว ๆ นั่นคือการได้มีกิจกรรมกินของว่างร่วมกันในทุกวันหยุดสุดสัปดาห์ เพียงหนึ่งครั้งในรอบเจ็ดวัน โดยทุกคนมีสิทธิเท่ากันคนละ1เสียง ที่สามารถเขียนใส่กระดาษเพื่อบอกเล่าถึงขนมที่ตนชื่นชอบและอยากกินมากที่สุดเป็นครั้งสุดท้าย แล้วคำขอเหล่านั้นจะถูกจับฉลากขึ้นมาหนึ่งใบ คำขอของใครก็ตามที่โชคดี แม่ครัวจะแกะสูตรแล้วทำออกมาให้เหมือนหรือใกล้เคียงที่สุด เพื่อจะเสิร์ฟให้กับทุกคนได้ชิมกัน อย่างไรก็ตาม วันที่ต้องจากลาย่อมบ่ายหน้ามาถึงเพื่อนแต่ละคน ในห้วงเวลาเช่นนั้น ทั้งเขาหรือเธอรวมทั้งชิสุกุเอง มีวิธีรับมือระหว่างเผชิญหน้ากับความเสื่อมสลายของสังขาร ที่ค่อย ๆ ทรุดโทรมและดับสิ้นไปทีละน้อยอย่างไร นี่คือสิ่งที่ผู้อ่านจะได้ร่วมเรียนรู้ไปพร้อมกันกับตัวละครในเรื่อง ถ้าคุณเคยประทับใจมาแล้วกับ ร้านเครื่องเขียนนั้นใต้ต้นสึบากิ นี่คืออีกเล่มหนึ่งที่น่าลองหามาอ่านครับ โดยเฉพาะคนที่กำลังเผชิญกับความเจ็บป่วยอยู่ หรือแม้ผู้ดูแลคนป่วยเอง แต่ถึงแม้จะไม่ได้ป่วยเลย แต่การได้ทำความเข้าใจกับเรื่องราวเหล่านี้ก็ถือเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ผู้เขียนบรรยายอย่างค่อยเป็นค่อยไป เปิดเผยเรื่องราวทีละน้อย แล้วไต่ระดับไปอย่างช้า ๆ อารมณ์ของเรื่องไม่ใช่จะมีแต่เปลี่ยวเหงา โศกเศร้า ทดท้อ เจ็บแค้น และสิ้นหวังเพียงเท่านั้น แต่ยังมีความเบิกบานหรรษา อิ่มเอม อบอุ่น เปี่ยมหวัง ให้อภัย สงบสุข คละเคล้าจนกลายเป็นส่วนผสมที่น่าศึกษา มีความละมุนละไมไปพร้อม ๆ กับการได้เห็นถึงความจริงอันเป็นสัจธรรมของชีวิต เพราะความเจ็บป่วยนั้นเกิดมีได้กับคนทุกคน แต่มีไม่กี่คนเท่านัั้นจะทำความเข้าใจกับสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างดี และจัดวางภาระทุกอย่างให้อยู่ถูกที่ถูกทาง ในขณะที่เตรียมพร้อมจะปล่อยวางร่างกายนี้ ซึ่งตนหวงแหนประหนึ่งคือสมบัติของเราจริง ๆ ยามเมื่อเวลานั้นมาถึง #thaitimes #หนังสือน่าอ่าน #นิยายแปล #นิยายญี่ปุ่น #ผู้ป่วยระยะสุดท้าย #เตรียมตัวตาย #การดูแลผู้ป่วย #หนังสือดี
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1030 มุมมอง 0 รีวิว