21 ปี "11-M" วินาศกรรมระเบิดรถไฟมาดริด กวาดชีวิต 200 ศพ บาดเจ็บกว่า 1,800 ราย ไขปริศนาเบื้องหลัง โศกนาฏกรรมสะเทือนขวัญ ที่เปลี่ยนหน้าประวัติศาสตร์สเปน ไปตลอดกาล
เสียงระเบิดที่เปลี่ยนสเปนไปตลอดกาล วันพฤหัสบดีที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2547 ในช่วงช่วงชั่วโมงเร่งด่วน เช้าตรู่เหมือนทุกวัน รถไฟโดยสารสาย Cercanías ของกรุงมาดริด ประเทศสเปน กำลังวิ่งเข้าเทียบชานชาลา ที่สถานีอาโตชา (Atocha) อย่างปกติ ก่อนที่เสียงระเบิดลูกแรกจะดังขึ้น และตามด้วยระเบิดอีก 12 ลูก ในเวลาเพียงไม่กี่นาที ทำให้ขบวนรถไฟ 4 ขบวน ที่บรรทุกผู้โดยสารไปทำงานในช่วงเร่งด่วน กลายเป็นซากเศษเหล็กในพริบตา
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในวันนั้น หรือที่ชาวสเปนเรียกกันว่า "11-M" (Once de Marzo) ถือเป็นหนึ่งในโศกนาฏกรรมก่อการร้าย ครั้งใหญ่ที่สุดในยุโรป มีผู้เสียชีวิตถึง 200 ศพ และผู้บาดเจ็บอีกกว่า 1,800 ราย มันไม่เพียงแต่ทำลายชีวิตผู้คน แต่ยังสั่นคลอนเสถียรภาพของรัฐบาล และเปลี่ยนผลการเลือกตั้งในสเปน โดยสิ้นเชิง
เหตุการณ์ที่โลกไม่อาจลืม เหตุระเบิดรถไฟที่กรุงมาดริด หรือ 11-M เป็นปฏิบัติการก่อการร้าย ที่ประสานงานกันอย่างซับซ้อน โดยมือระเบิดใช้อุปกรณ์ระเบิดแสวงเครื่อง (IED) วางไว้ในกระเป๋าเป้ และนำขึ้นรถไฟ ที่มุ่งหน้าเข้าสู่สถานีหลักของกรุงมาดริด
กลุ่มผู้ต้องสงสัย คือกลุ่มอิสลามหัวรุนแรง ที่ต่อต้านการมีส่วนร่วมของสเปนใ นสงครามอิรัก เหตุการณ์นี้นับเป็นการโจมตีพลเรือน ครั้งใหญ่ที่สุดในยุโรป นับตั้งแต่เหตุการณ์ ระเบิดเครื่องบิน Pan Am เที่ยวบิน 103 เมื่อปี 2531 และกลายเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญทางการเมือง และความมั่นคงของประเทศสเปน ในเวลานั้น
ไทม์ไลน์วินาศกรรม 11-M นาทีชีวิตในกรุงมาดริด
07.01 - 07.14 น. รถไฟทั้งสี่ขบวนออกจาก Alcalá de Henares มุ่งหน้าสู่สถานี Atocha
07.37 - 07.40 น. ระเบิดลูกแรกระเบิดขึ้นที่ ขบวน 21431 บริเวณ ฃสถานี Atocha ตามด้วยอีกสองลูกในเวลาไม่ถึง 4 วินาที
ขบวน 21435 ระเบิด 2 ลูก ที่สถานี El Pozo
ขบวน 21713 ระเบิดที่สถานีSanta Eugenia
ขบวน 17305 เกิดระเบิด 4 จุด บริเวณ Calle Téllez ใกล้สถานี Atocha
08.00 น. เป็นต้นไป หน่วยกู้ภัยฉุกเฉินและทีม TEDAX หน่วยเก็บกู้วัตถุระเบิด เข้าพื้นที่
08.30 น. ตั้งโรงพยาบาลสนามที่สนามกีฬา Daoiz y Velarde
09.00 น. ตำรวจยืนยันมีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 30 ศพ สุดท้าย ผู้เสียชีวิตรวมทั้งสิ้น 200 ราย และรายสุดท้ายเสียชีวิตในปี 2557 หลังจากโคม่า 10 ปี
จุดระเบิด 13 จุด ของแต่ละสถานี
สถานี Atocha ขบวน 21431 เกิดระเบิด 3 ลูก อีก 1 ลูก ถูกทีม TEDAX จุดระเบิดควบคุมในเวลาต่อมา
สถานี El Pozo ขบวน 21435 ระเบิด 2 ลูก ในตู้ที่ 4 และ 5 พบระเบิดอีก 1 ลูกในตู้รถที่ 3 ถูกควบคุมระเบิดโดย TEDAX
สถานี Santa Eugenia ขบวน 21713 ระเบิดลูกเดียวที่ตู้ที่ 4
Calle Téllez ใกล้สถานี Atocha ขบวน 17305 ระเบิด 4 ลูกที่ตู้ 1, 4, 5 และ 6
ผู้ต้องสงสัย เบื้องหลังการโจมตี หลักฐานที่ค้นพบในรถตู้ Renault Kangoo ซึ่งจอดอยู่หน้าสถานี Alcalá de Henares ได้แก่ ตัวจุดชนวน เทปเสียงอัดบทกวีจากคัมภีร์อัลกุรอาน และโทรศัพท์มือถือที่ใช้จุดระเบิด
ตำรวจสเปนจับกุมผู้ต้องสงสัยได้ 5 คน ในวันเดียวกัน เป็นชาวโมร็อกโก 3 คน และปากีสถาน 2 คน โดยเฉพาะ "จามาล ซูกัม" (Jamal Zougam) ชาวโมร็อกโก ที่ถูกดำเนินคดีในที่สุด
การโจมตีครั้งนี้เชื่อว่า เป็นการตอบโต้สเปนที่เข้าร่วมสงครามอิรัก กับสหรัฐอเมริกาในปี 2546
ข้อถกเถียงและการเมืองที่ลุกเป็นไฟ เหตุการณ์ 11-M เกิดขึ้นก่อนการเลือกตั้งทั่วไปเพียง 3 วัน พรรค Partido Popular (PP) ภายใต้การนำของ "โฆเซ มาเรีย อัซนาร์" พยายามโยงความผิดให้กลุ่ม ETA โดนพรรคฝ่ายค้าน PSOE กล่าวหาว่ารัฐบาลบิดเบือนข้อเท็จจริง เพื่อป้องกันการเสียคะแนนเสียง
ผลการเลือกตั้งพลิกล็อก พรรค PSOE ภายใต้การนำของ "โฆเซ หลุยส์ โรดริเกซ" ซาปาเตโร ได้รับชัยชนะ และขึ้นดำรงตำแหน่ง นายกรัฐมนตรีคนใหม่ของสเปน
ผลการสอบสวนและคำพิพากษา หลังจากการสืบสวน 21 เดือน มีผู้ถูกตัดสินว่ามีส่วนร่วมในการโจมตีทั้งหมด 21 คน ไม่มีหลักฐานชัดเจน ที่เชื่อมโยงกับอัลกออิดะห์ วัตถุระเบิดที่ใช้คือ Goma-2 ECO ผลิตในสเปน
ผลกระทบที่สะท้อนถึงโลกใบนี้ เหตุการณ์ 11-M ถูกเปรียบเทียบกับการโจมตี 11 กันยายน 2001 (9/11) ที่สหรัฐฯ ทั้งในแง่ของขนาดของการวางแผน ผลกระทบต่อการเมืองภายในประเทศ การลุกฮือของประชาชนเรียกร้อง “ความจริง” จากรัฐบาล และยังกระตุ้นให้เกิด มาตรการความปลอดภัย ในระบบขนส่งมวลชนทั่วโลก
บทเรียนจากโศกนาฏกรรม 11-M ความโปร่งใสของรัฐบาล เป็นสิ่งจำเป็น เพื่อไม่ให้เกิดการสูญเสียความไว้วางใจ การเฝ้าระวังระบบขนส่งสาธารณะ ต้องได้รับการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง การเมืองและการก่อการร้าย เป็นเรื่องที่แยกจากกันไม่ได้ ในยุคโลกาภิวัตน์
เหตุการณ์ก่อการร้าย ที่สะท้อนภาพโศกนาฏกรรมปี 2547
เหตุการณ์เบสลัน (Beslan Siege) วันที่ 1-3 กันยายน พ.ศ. 2547 กลุ่มแบ่งแยกดินแดนเชชเนีย จับตัวประกันที่โรงเรียน มีผู้เสียชีวิตกว่า 330 ศพ ครึ่งหนึ่งเป็นเด็กนักเรียน เป็นอีกตัวอย่างของความโหดร้าย จากการก่อการร้ายที่โลกไม่มีวันลืม
ความทรงจำยังคงอยู่ 21 ปีหลังเหตุการณ์ 11-M สเปนและโลกยังคงรำลึกถึงเหยื่อผู้บริสุทธิ์ ที่เสียชีวิตในวันนั้น และบทเรียนที่ได้รับ ยังคงชัดเจนอยู่ทุกวินาที การเปลี่ยนแปลงในนโยบายความมั่นคง การเลือกตั้ง และบทบาททางการเมืองที่พลิกผัน เป็นสิ่งที่ทำให้ 11 มีนาคม ไม่ใช่เพียงวันแห่งความเศร้า แต่ยังเป็นวันที่ทำให้มนุษยชาติหยุดคิด และตั้งคำถามกับความรุนแรง ที่เกิดขึ้นในโลกใบนี้
ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 110922 มี.ค. 2568
#11M #MadridBombings #ก่อการร้าย #ประวัติศาสตร์สเปน #PSOE #PP #สงครามอิรัก #ก่อการร้ายยุโรป #มาดริด #TerrorismHistory
เสียงระเบิดที่เปลี่ยนสเปนไปตลอดกาล วันพฤหัสบดีที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2547 ในช่วงช่วงชั่วโมงเร่งด่วน เช้าตรู่เหมือนทุกวัน รถไฟโดยสารสาย Cercanías ของกรุงมาดริด ประเทศสเปน กำลังวิ่งเข้าเทียบชานชาลา ที่สถานีอาโตชา (Atocha) อย่างปกติ ก่อนที่เสียงระเบิดลูกแรกจะดังขึ้น และตามด้วยระเบิดอีก 12 ลูก ในเวลาเพียงไม่กี่นาที ทำให้ขบวนรถไฟ 4 ขบวน ที่บรรทุกผู้โดยสารไปทำงานในช่วงเร่งด่วน กลายเป็นซากเศษเหล็กในพริบตา
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในวันนั้น หรือที่ชาวสเปนเรียกกันว่า "11-M" (Once de Marzo) ถือเป็นหนึ่งในโศกนาฏกรรมก่อการร้าย ครั้งใหญ่ที่สุดในยุโรป มีผู้เสียชีวิตถึง 200 ศพ และผู้บาดเจ็บอีกกว่า 1,800 ราย มันไม่เพียงแต่ทำลายชีวิตผู้คน แต่ยังสั่นคลอนเสถียรภาพของรัฐบาล และเปลี่ยนผลการเลือกตั้งในสเปน โดยสิ้นเชิง
เหตุการณ์ที่โลกไม่อาจลืม เหตุระเบิดรถไฟที่กรุงมาดริด หรือ 11-M เป็นปฏิบัติการก่อการร้าย ที่ประสานงานกันอย่างซับซ้อน โดยมือระเบิดใช้อุปกรณ์ระเบิดแสวงเครื่อง (IED) วางไว้ในกระเป๋าเป้ และนำขึ้นรถไฟ ที่มุ่งหน้าเข้าสู่สถานีหลักของกรุงมาดริด
กลุ่มผู้ต้องสงสัย คือกลุ่มอิสลามหัวรุนแรง ที่ต่อต้านการมีส่วนร่วมของสเปนใ นสงครามอิรัก เหตุการณ์นี้นับเป็นการโจมตีพลเรือน ครั้งใหญ่ที่สุดในยุโรป นับตั้งแต่เหตุการณ์ ระเบิดเครื่องบิน Pan Am เที่ยวบิน 103 เมื่อปี 2531 และกลายเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญทางการเมือง และความมั่นคงของประเทศสเปน ในเวลานั้น
ไทม์ไลน์วินาศกรรม 11-M นาทีชีวิตในกรุงมาดริด
07.01 - 07.14 น. รถไฟทั้งสี่ขบวนออกจาก Alcalá de Henares มุ่งหน้าสู่สถานี Atocha
07.37 - 07.40 น. ระเบิดลูกแรกระเบิดขึ้นที่ ขบวน 21431 บริเวณ ฃสถานี Atocha ตามด้วยอีกสองลูกในเวลาไม่ถึง 4 วินาที
ขบวน 21435 ระเบิด 2 ลูก ที่สถานี El Pozo
ขบวน 21713 ระเบิดที่สถานีSanta Eugenia
ขบวน 17305 เกิดระเบิด 4 จุด บริเวณ Calle Téllez ใกล้สถานี Atocha
08.00 น. เป็นต้นไป หน่วยกู้ภัยฉุกเฉินและทีม TEDAX หน่วยเก็บกู้วัตถุระเบิด เข้าพื้นที่
08.30 น. ตั้งโรงพยาบาลสนามที่สนามกีฬา Daoiz y Velarde
09.00 น. ตำรวจยืนยันมีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 30 ศพ สุดท้าย ผู้เสียชีวิตรวมทั้งสิ้น 200 ราย และรายสุดท้ายเสียชีวิตในปี 2557 หลังจากโคม่า 10 ปี
จุดระเบิด 13 จุด ของแต่ละสถานี
สถานี Atocha ขบวน 21431 เกิดระเบิด 3 ลูก อีก 1 ลูก ถูกทีม TEDAX จุดระเบิดควบคุมในเวลาต่อมา
สถานี El Pozo ขบวน 21435 ระเบิด 2 ลูก ในตู้ที่ 4 และ 5 พบระเบิดอีก 1 ลูกในตู้รถที่ 3 ถูกควบคุมระเบิดโดย TEDAX
สถานี Santa Eugenia ขบวน 21713 ระเบิดลูกเดียวที่ตู้ที่ 4
Calle Téllez ใกล้สถานี Atocha ขบวน 17305 ระเบิด 4 ลูกที่ตู้ 1, 4, 5 และ 6
ผู้ต้องสงสัย เบื้องหลังการโจมตี หลักฐานที่ค้นพบในรถตู้ Renault Kangoo ซึ่งจอดอยู่หน้าสถานี Alcalá de Henares ได้แก่ ตัวจุดชนวน เทปเสียงอัดบทกวีจากคัมภีร์อัลกุรอาน และโทรศัพท์มือถือที่ใช้จุดระเบิด
ตำรวจสเปนจับกุมผู้ต้องสงสัยได้ 5 คน ในวันเดียวกัน เป็นชาวโมร็อกโก 3 คน และปากีสถาน 2 คน โดยเฉพาะ "จามาล ซูกัม" (Jamal Zougam) ชาวโมร็อกโก ที่ถูกดำเนินคดีในที่สุด
การโจมตีครั้งนี้เชื่อว่า เป็นการตอบโต้สเปนที่เข้าร่วมสงครามอิรัก กับสหรัฐอเมริกาในปี 2546
ข้อถกเถียงและการเมืองที่ลุกเป็นไฟ เหตุการณ์ 11-M เกิดขึ้นก่อนการเลือกตั้งทั่วไปเพียง 3 วัน พรรค Partido Popular (PP) ภายใต้การนำของ "โฆเซ มาเรีย อัซนาร์" พยายามโยงความผิดให้กลุ่ม ETA โดนพรรคฝ่ายค้าน PSOE กล่าวหาว่ารัฐบาลบิดเบือนข้อเท็จจริง เพื่อป้องกันการเสียคะแนนเสียง
ผลการเลือกตั้งพลิกล็อก พรรค PSOE ภายใต้การนำของ "โฆเซ หลุยส์ โรดริเกซ" ซาปาเตโร ได้รับชัยชนะ และขึ้นดำรงตำแหน่ง นายกรัฐมนตรีคนใหม่ของสเปน
ผลการสอบสวนและคำพิพากษา หลังจากการสืบสวน 21 เดือน มีผู้ถูกตัดสินว่ามีส่วนร่วมในการโจมตีทั้งหมด 21 คน ไม่มีหลักฐานชัดเจน ที่เชื่อมโยงกับอัลกออิดะห์ วัตถุระเบิดที่ใช้คือ Goma-2 ECO ผลิตในสเปน
ผลกระทบที่สะท้อนถึงโลกใบนี้ เหตุการณ์ 11-M ถูกเปรียบเทียบกับการโจมตี 11 กันยายน 2001 (9/11) ที่สหรัฐฯ ทั้งในแง่ของขนาดของการวางแผน ผลกระทบต่อการเมืองภายในประเทศ การลุกฮือของประชาชนเรียกร้อง “ความจริง” จากรัฐบาล และยังกระตุ้นให้เกิด มาตรการความปลอดภัย ในระบบขนส่งมวลชนทั่วโลก
บทเรียนจากโศกนาฏกรรม 11-M ความโปร่งใสของรัฐบาล เป็นสิ่งจำเป็น เพื่อไม่ให้เกิดการสูญเสียความไว้วางใจ การเฝ้าระวังระบบขนส่งสาธารณะ ต้องได้รับการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง การเมืองและการก่อการร้าย เป็นเรื่องที่แยกจากกันไม่ได้ ในยุคโลกาภิวัตน์
เหตุการณ์ก่อการร้าย ที่สะท้อนภาพโศกนาฏกรรมปี 2547
เหตุการณ์เบสลัน (Beslan Siege) วันที่ 1-3 กันยายน พ.ศ. 2547 กลุ่มแบ่งแยกดินแดนเชชเนีย จับตัวประกันที่โรงเรียน มีผู้เสียชีวิตกว่า 330 ศพ ครึ่งหนึ่งเป็นเด็กนักเรียน เป็นอีกตัวอย่างของความโหดร้าย จากการก่อการร้ายที่โลกไม่มีวันลืม
ความทรงจำยังคงอยู่ 21 ปีหลังเหตุการณ์ 11-M สเปนและโลกยังคงรำลึกถึงเหยื่อผู้บริสุทธิ์ ที่เสียชีวิตในวันนั้น และบทเรียนที่ได้รับ ยังคงชัดเจนอยู่ทุกวินาที การเปลี่ยนแปลงในนโยบายความมั่นคง การเลือกตั้ง และบทบาททางการเมืองที่พลิกผัน เป็นสิ่งที่ทำให้ 11 มีนาคม ไม่ใช่เพียงวันแห่งความเศร้า แต่ยังเป็นวันที่ทำให้มนุษยชาติหยุดคิด และตั้งคำถามกับความรุนแรง ที่เกิดขึ้นในโลกใบนี้
ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 110922 มี.ค. 2568
#11M #MadridBombings #ก่อการร้าย #ประวัติศาสตร์สเปน #PSOE #PP #สงครามอิรัก #ก่อการร้ายยุโรป #มาดริด #TerrorismHistory
21 ปี "11-M" วินาศกรรมระเบิดรถไฟมาดริด กวาดชีวิต 200 ศพ บาดเจ็บกว่า 1,800 ราย 🚆💣 ไขปริศนาเบื้องหลัง โศกนาฏกรรมสะเทือนขวัญ ที่เปลี่ยนหน้าประวัติศาสตร์สเปน ไปตลอดกาล
📝 เสียงระเบิดที่เปลี่ยนสเปนไปตลอดกาล วันพฤหัสบดีที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2547 ในช่วงช่วงชั่วโมงเร่งด่วน เช้าตรู่เหมือนทุกวัน รถไฟโดยสารสาย Cercanías ของกรุงมาดริด ประเทศสเปน กำลังวิ่งเข้าเทียบชานชาลา ที่สถานีอาโตชา (Atocha) อย่างปกติ ก่อนที่เสียงระเบิดลูกแรกจะดังขึ้น และตามด้วยระเบิดอีก 12 ลูก ในเวลาเพียงไม่กี่นาที ทำให้ขบวนรถไฟ 4 ขบวน ที่บรรทุกผู้โดยสารไปทำงานในช่วงเร่งด่วน กลายเป็นซากเศษเหล็กในพริบตา 💥
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในวันนั้น หรือที่ชาวสเปนเรียกกันว่า "11-M" (Once de Marzo) ถือเป็นหนึ่งในโศกนาฏกรรมก่อการร้าย ครั้งใหญ่ที่สุดในยุโรป มีผู้เสียชีวิตถึง 200 ศพ และผู้บาดเจ็บอีกกว่า 1,800 ราย มันไม่เพียงแต่ทำลายชีวิตผู้คน แต่ยังสั่นคลอนเสถียรภาพของรัฐบาล และเปลี่ยนผลการเลือกตั้งในสเปน โดยสิ้นเชิง 🗳️
📚 เหตุการณ์ที่โลกไม่อาจลืม เหตุระเบิดรถไฟที่กรุงมาดริด หรือ 11-M เป็นปฏิบัติการก่อการร้าย ที่ประสานงานกันอย่างซับซ้อน โดยมือระเบิดใช้อุปกรณ์ระเบิดแสวงเครื่อง (IED) วางไว้ในกระเป๋าเป้ และนำขึ้นรถไฟ ที่มุ่งหน้าเข้าสู่สถานีหลักของกรุงมาดริด
✨ กลุ่มผู้ต้องสงสัย คือกลุ่มอิสลามหัวรุนแรง ที่ต่อต้านการมีส่วนร่วมของสเปนใ นสงครามอิรัก เหตุการณ์นี้นับเป็นการโจมตีพลเรือน ครั้งใหญ่ที่สุดในยุโรป นับตั้งแต่เหตุการณ์ ระเบิดเครื่องบิน Pan Am เที่ยวบิน 103 เมื่อปี 2531 และกลายเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญทางการเมือง และความมั่นคงของประเทศสเปน ในเวลานั้น 📍
🔎 ไทม์ไลน์วินาศกรรม 11-M นาทีชีวิตในกรุงมาดริด
07.01 - 07.14 น. รถไฟทั้งสี่ขบวนออกจาก Alcalá de Henares มุ่งหน้าสู่สถานี Atocha
07.37 - 07.40 น. ระเบิดลูกแรกระเบิดขึ้นที่ ขบวน 21431 บริเวณ ฃสถานี Atocha ตามด้วยอีกสองลูกในเวลาไม่ถึง 4 วินาที 🚆💥
ขบวน 21435 ระเบิด 2 ลูก ที่สถานี El Pozo
ขบวน 21713 ระเบิดที่สถานีSanta Eugenia
ขบวน 17305 เกิดระเบิด 4 จุด บริเวณ Calle Téllez ใกล้สถานี Atocha
08.00 น. เป็นต้นไป หน่วยกู้ภัยฉุกเฉินและทีม TEDAX หน่วยเก็บกู้วัตถุระเบิด เข้าพื้นที่
08.30 น. ตั้งโรงพยาบาลสนามที่สนามกีฬา Daoiz y Velarde
09.00 น. ตำรวจยืนยันมีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 30 ศพ สุดท้าย ผู้เสียชีวิตรวมทั้งสิ้น 200 ราย และรายสุดท้ายเสียชีวิตในปี 2557 หลังจากโคม่า 10 ปี
🚨 จุดระเบิด 13 จุด ของแต่ละสถานี
📍 สถานี Atocha ขบวน 21431 เกิดระเบิด 3 ลูก อีก 1 ลูก ถูกทีม TEDAX จุดระเบิดควบคุมในเวลาต่อมา
📍 สถานี El Pozo ขบวน 21435 ระเบิด 2 ลูก ในตู้ที่ 4 และ 5 พบระเบิดอีก 1 ลูกในตู้รถที่ 3 ถูกควบคุมระเบิดโดย TEDAX
📍 สถานี Santa Eugenia ขบวน 21713 ระเบิดลูกเดียวที่ตู้ที่ 4
📍 Calle Téllez ใกล้สถานี Atocha ขบวน 17305 ระเบิด 4 ลูกที่ตู้ 1, 4, 5 และ 6
🕵️♂️ ผู้ต้องสงสัย เบื้องหลังการโจมตี หลักฐานที่ค้นพบในรถตู้ Renault Kangoo ซึ่งจอดอยู่หน้าสถานี Alcalá de Henares ได้แก่ ตัวจุดชนวน เทปเสียงอัดบทกวีจากคัมภีร์อัลกุรอาน และโทรศัพท์มือถือที่ใช้จุดระเบิด
ตำรวจสเปนจับกุมผู้ต้องสงสัยได้ 5 คน ในวันเดียวกัน เป็นชาวโมร็อกโก 3 คน และปากีสถาน 2 คน โดยเฉพาะ "จามาล ซูกัม" (Jamal Zougam) ชาวโมร็อกโก ที่ถูกดำเนินคดีในที่สุด
การโจมตีครั้งนี้เชื่อว่า เป็นการตอบโต้สเปนที่เข้าร่วมสงครามอิรัก กับสหรัฐอเมริกาในปี 2546
❗ ข้อถกเถียงและการเมืองที่ลุกเป็นไฟ เหตุการณ์ 11-M เกิดขึ้นก่อนการเลือกตั้งทั่วไปเพียง 3 วัน พรรค Partido Popular (PP) ภายใต้การนำของ "โฆเซ มาเรีย อัซนาร์" พยายามโยงความผิดให้กลุ่ม ETA โดนพรรคฝ่ายค้าน PSOE กล่าวหาว่ารัฐบาลบิดเบือนข้อเท็จจริง เพื่อป้องกันการเสียคะแนนเสียง
ผลการเลือกตั้งพลิกล็อก พรรค PSOE ภายใต้การนำของ "โฆเซ หลุยส์ โรดริเกซ" ซาปาเตโร ได้รับชัยชนะ และขึ้นดำรงตำแหน่ง นายกรัฐมนตรีคนใหม่ของสเปน
⚖️ ผลการสอบสวนและคำพิพากษา หลังจากการสืบสวน 21 เดือน มีผู้ถูกตัดสินว่ามีส่วนร่วมในการโจมตีทั้งหมด 21 คน ไม่มีหลักฐานชัดเจน ที่เชื่อมโยงกับอัลกออิดะห์ วัตถุระเบิดที่ใช้คือ Goma-2 ECO ผลิตในสเปน
🌍 ผลกระทบที่สะท้อนถึงโลกใบนี้ เหตุการณ์ 11-M ถูกเปรียบเทียบกับการโจมตี 11 กันยายน 2001 (9/11) ที่สหรัฐฯ ทั้งในแง่ของขนาดของการวางแผน ผลกระทบต่อการเมืองภายในประเทศ การลุกฮือของประชาชนเรียกร้อง “ความจริง” จากรัฐบาล และยังกระตุ้นให้เกิด มาตรการความปลอดภัย ในระบบขนส่งมวลชนทั่วโลก 🚆🛑
🧠 บทเรียนจากโศกนาฏกรรม 11-M ความโปร่งใสของรัฐบาล เป็นสิ่งจำเป็น เพื่อไม่ให้เกิดการสูญเสียความไว้วางใจ การเฝ้าระวังระบบขนส่งสาธารณะ ต้องได้รับการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง การเมืองและการก่อการร้าย เป็นเรื่องที่แยกจากกันไม่ได้ ในยุคโลกาภิวัตน์
📌 เหตุการณ์ก่อการร้าย ที่สะท้อนภาพโศกนาฏกรรมปี 2547
🎒 เหตุการณ์เบสลัน (Beslan Siege) วันที่ 1-3 กันยายน พ.ศ. 2547 กลุ่มแบ่งแยกดินแดนเชชเนีย จับตัวประกันที่โรงเรียน มีผู้เสียชีวิตกว่า 330 ศพ ครึ่งหนึ่งเป็นเด็กนักเรียน เป็นอีกตัวอย่างของความโหดร้าย จากการก่อการร้ายที่โลกไม่มีวันลืม 💔
✅ ความทรงจำยังคงอยู่ 21 ปีหลังเหตุการณ์ 11-M สเปนและโลกยังคงรำลึกถึงเหยื่อผู้บริสุทธิ์ ที่เสียชีวิตในวันนั้น และบทเรียนที่ได้รับ ยังคงชัดเจนอยู่ทุกวินาที การเปลี่ยนแปลงในนโยบายความมั่นคง การเลือกตั้ง และบทบาททางการเมืองที่พลิกผัน เป็นสิ่งที่ทำให้ 11 มีนาคม ไม่ใช่เพียงวันแห่งความเศร้า แต่ยังเป็นวันที่ทำให้มนุษยชาติหยุดคิด และตั้งคำถามกับความรุนแรง ที่เกิดขึ้นในโลกใบนี้ 🌍🙏
ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 110922 มี.ค. 2568
🔖 📌 #11M #MadridBombings #ก่อการร้าย #ประวัติศาสตร์สเปน #PSOE #PP #สงครามอิรัก #ก่อการร้ายยุโรป #มาดริด #TerrorismHistory 🚆💣
0 ความคิดเห็น
0 การแบ่งปัน
1551 มุมมอง
0 รีวิว