• 'ดร.เอ้' รับตั้ง 'พรรคไทยก้าวใหม่' ดีล 'คุณหญิงกัลยา' ผนึกคนรุ่นใหม่โฟกัสการศึกษาเปลี่ยนแปลงปท.
    https://www.thai-tai.tv/news/20013/
    .
    #ดรเอ้ #สุชัชวีร์ #ลาออกปชป #พรรคไทยก้าวใหม่ #คุณหญิงกัลยา #ปฏิรูปการศึกษา #พัฒนาประเทศ #คนรุ่นใหม่ #การเมืองไทย #ประเทศไทยต้องเปลี่ยน
    'ดร.เอ้' รับตั้ง 'พรรคไทยก้าวใหม่' ดีล 'คุณหญิงกัลยา' ผนึกคนรุ่นใหม่โฟกัสการศึกษาเปลี่ยนแปลงปท. https://www.thai-tai.tv/news/20013/ . #ดรเอ้ #สุชัชวีร์ #ลาออกปชป #พรรคไทยก้าวใหม่ #คุณหญิงกัลยา #ปฏิรูปการศึกษา #พัฒนาประเทศ #คนรุ่นใหม่ #การเมืองไทย #ประเทศไทยต้องเปลี่ยน
    0 Comments 0 Shares 27 Views 0 Reviews
  • รวมพลังแผ่นดินยึดอำนาจโดยมวลมหาพลังชนคนแผ่นดินไทยเลย,วิจัยสัก10-20ปีว่ารูปแบบบริหารจัดการโดยภาคประชาชนเป็นผู้นำประเทศจะเป็นแบบใด,ดีกว่านักการเมืองบริหารราชการหรือภาคประชาชนบริหารราชการไทยดีกว่า,อนาคตกฎหมายอะไรที่ออกมาแล้วที่ผ่านๆมาจากกฎกระทรวงทบวงกรมเขียนออกเองแล้วเหี้ยๆมากมายสามารถฉีกทิ้งได้เลยด้วยทีมเฉพาะพิเศษของภาคประชาชนมาดูเรื่องนี้โดยเฉพาะ,เช่นกฎหมายที่ดินมากมายที่นายทุนทั้งในและต่างประเทศใช้กฎหมายบัดสบนั้นย่ำยีอธิปไตยในที่ดินชาติไทยมานานยึดครองแทนประชาชนคนไทยไปเป็นอันมากโดยอาศัยกฎหมายนั้นๆเขียนเอื้ออำนวยสร้างให้พวกมันจะจัดการใหม่ทั้งหมด เมื่อภาคประชาชนยึดอำนาจได้แล้ว สิ้นสุดสถาบันนักการเมือง มาเป็นสถาบันของประชาชนเลยปกครองเอง เขียนกฎหมายที่ดำรงไว้เพื่อประชาชนจริงมิใช่เพื่อคนต่างชาติต่างประเทศเพื่อนายทุนซึ่งส่วนใหญ่คืออีลิทdeep stateต้องการปกครองประชาชนคนไทยผ่านลักษณะภาคการเมืองและภาคกิจการบริษัทการยึดกิจการผูกขาดต่างๆภายในประเทศ ชาวไทยเรากำหนดราคาสินค้าที่เหมาะสมไม่ได้เลย,เช่นสินค้าทุกๆชนิดต้องขึ้นลงตามราคาทองคำเพราะทองคำยังอ้างอิงใช้เป็นหลักค้ำประกันการพิมพ์พันธบัตรได้หรือค้ำประกันตังดิจิดัลของรัฐบาลตนก็ว่า,สามารถควบคุมอัตราเงินเฟ้อทันทีได้,ตลอดเงินเดือนค่าแรงงานคนไทยต้องอ้างอิงราคาทองคำเรียลไทม์ด้วยเช่นกันเพื่อสามารถชนะค่าครองชีพให้ทันความเป็นจริง,ราคาสินค้า100บาทต่อชิ้น,เงินเดือนยัง9,000บาทต่อเดือนมันใข่เหรอ,จาก100บาทเคยซื้อของได้5-6ชิ้นหรือมากกว่า,หรือ15,000บาทต่อเดือนก็ตาม,แต่สถานะค่าดำรงชีพจริงและการใช้จ่ายไทบ้านประชาชนปกติธรรมดายังหาตังหารายได้ได้น้อยกว่าที่เป็นจริง,หรือสูงกว่ารายได้,หรือค่าใช้จ่ายต่างๆทั่วชุมชนส่งคมรอบๆตนแพงสูงขึ้นนั้นเอง,การปกครองหากแก้ต้นเหตุได้จะจบสิ้นทันที,ทุกๆอย่างหากควบคุมที่ต้นเหตุได้จริง คนไทยเราจะใช้ชีวิตไม่ลำบากมาถึงทุกๆวันนี้เพราะสถาบันภาคนักการเมืองเสื่อมสถานะแล้วขาดคุณสมบัติให้บริหารชาติปกครองประเทศอีกต่อไปโดยสิ้นเชิง,อบต.ต้องยุบทั่วประเทศสิ้นเปลืองงบประมาณแผ่นดิน,เรามีข้าราชการมากเกินไปและเป็นระบบอุปถัมภ์เสียมาก,พี่น้องวงศ์ตระกูลทั้งสิ้นเสียมากต่างฝาดต่างให้คะแนนผ่านสอบกัน,หายุติธรรมลำบาก,เป็นไปด้วยการทุจริตใต้โต๊ะโดยมากโดยผู้หลักผู้ใหญ่ภายในองค์กรคัดเลือกนี้เอง,เงินกว่า60-70%ของงบประเทศจะเป็นไปเพื่อค่าสาระพัดต่างๆที่เสียไปแก่คนในระบบราชการนี้,เงินเดือนไม่พอ มีสวัสดิการ ค่าเบี้ยเลี้ยงเบี้ยประชุมสัมมนาอีกไม่รวมโบนัสค่าตำแหน่งค่าน้ำมันรถค่าบ้านค่าไฟเบิกหลวงทางอ้อมได้หมดนอกจากทางตรงแค่ตังเงินเดือน,ส่วนประชาชนกินแกลบเสียค่าปรับค่าธรรมเนียมค่าบำรุงคนของข้าราชการรัฐตรึมภาษีสาระพัดค่าใบอนุญาตจิปาถะ ,พื้นๆไปดูโรงเรียนเลย เก็บค่านั้นนี้กับผู้ปกครองเด็กๆสาระพัด ค่ากิจกรรมต่างๆอีก เรี่ยไรสร้างสาระพัดสิ่งในโรงเรียนอีก,เคสสถานศึกษาดูง่ายที่สุด.
    ..คือประเทศไทยต้องเปลี่ยนแปลงต้องพลิกประเทศจริงๆ,มีบ่อน้ำมันเต็มประเทศบ่อทองคำมากล้นเป็นสายทางแร่ แต่จากการปกครองผ่านมาหลายทศวรรษพิสูจน์แล้วว่าเหี้ยหมด,ตกประเมินก็ได้,ขาดคุณสมบัติก็ด้วย,ล้มเหลวทางการปกครองยิ่งชัด,ดูได้ชัดเจนจากสถาบันภาคการเมืองบริหารปกครองระบบราชการไม่ดี ปล่อยบ่อน้ำมันให้ตกไปแก่เอกชนต่างชาติและเอกชนภายในประเทศที่ถูกครอบงำจากคนไม่ดีไปตกแก่พวกนี้เกือบ100% รัฐบาลเองโดยสถาบันภาคนักการเมืองต้องบริหารอย่างซื่อสัตย์สุจริตใจต่อประชาชนต่อประเทศต่ออธิปไตยตนเองเพราะแน่นอนบ่อน้ำมันนั้นหากเขาได้ไปจะเสียสิทธิ์ทางอธิปไตยพื้นที่สัมปทานไปทันทีคือแปลงที่ดินนั้นเขาได้สิทธิเหนือกฎหมายอธิปไตยชาติไทยทันที,สะดวกต่อกิจกรรมใดๆเอกชนนั้นทันที,กว่าเสียอธิปไตยพรมแดนเขมรอีกที่เป็นเรื่องในตอนนี้,สัมปทานไปกว่า21ครั้งแล้ว เสียพื้นที่บริหารจัดการทางที่ดินไปกี่ล้านไร่แล้วทั่วประเทศ,ชาวบ้านขุดเจอน้ำมันบนที่ดินตนเองปกติสมควรเป็นของส่วนรวมแต่เหี้ยเอกชนนั้นๆมันมายึดครองทันที เช่นแปลงสัมปทานที่มันได้กินพื้นที่อุดร สกล หนองคาย หากชาวบ้านขุดบ่อบาดาลแล้วเจอน้ำมัน พวกมันมายึดไปขุดแทนที่ทันที,นี้คือกฎหมายและสัมปทานขายอธิปไตยความมั่นคงทางพลังงานและอธิปไตยเหนือที่ดินประชาชนชาวไทยเราทันที,ต้องฉีกทิ้งกฎหมายนี้ทั้งหมดทันทีเช่นกัน ,นี้คือหน้าที่ภาคประชาชนคนไทยต้องจบในรุ่นยุคเราให้ได้,มันบัดสบพอแล้ว,อิหร่านมีบ่อน้ำมันมีโรงกลั่นน้ำมันน้อยกว่าไทยเสือกขายน้ำมันภายในประเทศอิหร่านแค่ลิตรละ1-2บาทได้,นั้นแสดงว่าวิถีปกครองเรามีปัญหาและคือตัวถ่วงความอยู่ดีมีสุขของประชาชนคนไทยเราทั้งประเทศจริง,และตัวการใหญ่ที่ทำไมจึงตั้งใจปกครองให้ประชาชนโง่ไม่ให้รู้ความจริงตรงนีัและอัดสถานะเพิ่มบัตรคนจนให้มากๆคงความมั่นคงทางความยากจนความจนให้คนไทยมากๆ.
    ..เราต้องการเห็นภาคประชาชนชนะและยึดอำนาจรัฐบาลจริงจังได้เสียที,ไล่ออกรัฐบาลสมคบคิดต่อศัตรูภัยอธิปไตยชาติไทยตนเองภัยคุกคามแผ่นดินไทยตนเองทันทีแล้วทำให้สุดซอยยึดอำนาจโดยภาคประชาชนเลยเคียงคู่ทหารไทยเราที่ยืนเคียงข้างประชาชนคนไทยตนเองเพราะทหารทุกๆคนก็ประชาชนคนไทยเรานี้ไปเป็นทหารในชื่อว่าทหารแทนชื่ิอว่าประชาชนคนไทยคนหนึ่งเท่านั้น,ประเทศไทยถึงเวลาเปลี่ยนแปลงกันอย่างจริงจังครั่งใหญ่แล้ว,เพราะนี้คือสงครามย่อยบทท้าทายเบื้องต้นแค่นั่น,รัฐบาลที่มาจากภาคประชาชนยึดอำนาจปกครองเองที่มิใช่ทหาร ประเทศทั่วโลกไหนจะเหี้ยประนามเรา,เราสมควรเลิกชุมนุมแล้วให้ทหารรับกรรมว่ายึดอำนาจรัฐประหารเถอะ,เรา..ประชาชนยึดอำนาจเองเลย ทำให้สุดซอยเลย,ไม่มีใครผิดกฎหมายในกระบวนการยึดอำนาจจริงคืนมาจากตัวแทนที่เลวชั่วใช้อำนาจเราไปทางที่ชั่วเลวนั่นเองจนสู่ภัยคุกคามที่ร้ายแรงถึงอธิปไตยชาติไทยตนเองจะปล่อยไว้ทำซากอะไรให้เนินนานขนาดนี้.

    https://youtu.be/MGtFbJDl1lc?si=EXDyGbqUgRSqHBov
    รวมพลังแผ่นดินยึดอำนาจโดยมวลมหาพลังชนคนแผ่นดินไทยเลย,วิจัยสัก10-20ปีว่ารูปแบบบริหารจัดการโดยภาคประชาชนเป็นผู้นำประเทศจะเป็นแบบใด,ดีกว่านักการเมืองบริหารราชการหรือภาคประชาชนบริหารราชการไทยดีกว่า,อนาคตกฎหมายอะไรที่ออกมาแล้วที่ผ่านๆมาจากกฎกระทรวงทบวงกรมเขียนออกเองแล้วเหี้ยๆมากมายสามารถฉีกทิ้งได้เลยด้วยทีมเฉพาะพิเศษของภาคประชาชนมาดูเรื่องนี้โดยเฉพาะ,เช่นกฎหมายที่ดินมากมายที่นายทุนทั้งในและต่างประเทศใช้กฎหมายบัดสบนั้นย่ำยีอธิปไตยในที่ดินชาติไทยมานานยึดครองแทนประชาชนคนไทยไปเป็นอันมากโดยอาศัยกฎหมายนั้นๆเขียนเอื้ออำนวยสร้างให้พวกมันจะจัดการใหม่ทั้งหมด เมื่อภาคประชาชนยึดอำนาจได้แล้ว สิ้นสุดสถาบันนักการเมือง มาเป็นสถาบันของประชาชนเลยปกครองเอง เขียนกฎหมายที่ดำรงไว้เพื่อประชาชนจริงมิใช่เพื่อคนต่างชาติต่างประเทศเพื่อนายทุนซึ่งส่วนใหญ่คืออีลิทdeep stateต้องการปกครองประชาชนคนไทยผ่านลักษณะภาคการเมืองและภาคกิจการบริษัทการยึดกิจการผูกขาดต่างๆภายในประเทศ ชาวไทยเรากำหนดราคาสินค้าที่เหมาะสมไม่ได้เลย,เช่นสินค้าทุกๆชนิดต้องขึ้นลงตามราคาทองคำเพราะทองคำยังอ้างอิงใช้เป็นหลักค้ำประกันการพิมพ์พันธบัตรได้หรือค้ำประกันตังดิจิดัลของรัฐบาลตนก็ว่า,สามารถควบคุมอัตราเงินเฟ้อทันทีได้,ตลอดเงินเดือนค่าแรงงานคนไทยต้องอ้างอิงราคาทองคำเรียลไทม์ด้วยเช่นกันเพื่อสามารถชนะค่าครองชีพให้ทันความเป็นจริง,ราคาสินค้า100บาทต่อชิ้น,เงินเดือนยัง9,000บาทต่อเดือนมันใข่เหรอ,จาก100บาทเคยซื้อของได้5-6ชิ้นหรือมากกว่า,หรือ15,000บาทต่อเดือนก็ตาม,แต่สถานะค่าดำรงชีพจริงและการใช้จ่ายไทบ้านประชาชนปกติธรรมดายังหาตังหารายได้ได้น้อยกว่าที่เป็นจริง,หรือสูงกว่ารายได้,หรือค่าใช้จ่ายต่างๆทั่วชุมชนส่งคมรอบๆตนแพงสูงขึ้นนั้นเอง,การปกครองหากแก้ต้นเหตุได้จะจบสิ้นทันที,ทุกๆอย่างหากควบคุมที่ต้นเหตุได้จริง คนไทยเราจะใช้ชีวิตไม่ลำบากมาถึงทุกๆวันนี้เพราะสถาบันภาคนักการเมืองเสื่อมสถานะแล้วขาดคุณสมบัติให้บริหารชาติปกครองประเทศอีกต่อไปโดยสิ้นเชิง,อบต.ต้องยุบทั่วประเทศสิ้นเปลืองงบประมาณแผ่นดิน,เรามีข้าราชการมากเกินไปและเป็นระบบอุปถัมภ์เสียมาก,พี่น้องวงศ์ตระกูลทั้งสิ้นเสียมากต่างฝาดต่างให้คะแนนผ่านสอบกัน,หายุติธรรมลำบาก,เป็นไปด้วยการทุจริตใต้โต๊ะโดยมากโดยผู้หลักผู้ใหญ่ภายในองค์กรคัดเลือกนี้เอง,เงินกว่า60-70%ของงบประเทศจะเป็นไปเพื่อค่าสาระพัดต่างๆที่เสียไปแก่คนในระบบราชการนี้,เงินเดือนไม่พอ มีสวัสดิการ ค่าเบี้ยเลี้ยงเบี้ยประชุมสัมมนาอีกไม่รวมโบนัสค่าตำแหน่งค่าน้ำมันรถค่าบ้านค่าไฟเบิกหลวงทางอ้อมได้หมดนอกจากทางตรงแค่ตังเงินเดือน,ส่วนประชาชนกินแกลบเสียค่าปรับค่าธรรมเนียมค่าบำรุงคนของข้าราชการรัฐตรึมภาษีสาระพัดค่าใบอนุญาตจิปาถะ ,พื้นๆไปดูโรงเรียนเลย เก็บค่านั้นนี้กับผู้ปกครองเด็กๆสาระพัด ค่ากิจกรรมต่างๆอีก เรี่ยไรสร้างสาระพัดสิ่งในโรงเรียนอีก,เคสสถานศึกษาดูง่ายที่สุด. ..คือประเทศไทยต้องเปลี่ยนแปลงต้องพลิกประเทศจริงๆ,มีบ่อน้ำมันเต็มประเทศบ่อทองคำมากล้นเป็นสายทางแร่ แต่จากการปกครองผ่านมาหลายทศวรรษพิสูจน์แล้วว่าเหี้ยหมด,ตกประเมินก็ได้,ขาดคุณสมบัติก็ด้วย,ล้มเหลวทางการปกครองยิ่งชัด,ดูได้ชัดเจนจากสถาบันภาคการเมืองบริหารปกครองระบบราชการไม่ดี ปล่อยบ่อน้ำมันให้ตกไปแก่เอกชนต่างชาติและเอกชนภายในประเทศที่ถูกครอบงำจากคนไม่ดีไปตกแก่พวกนี้เกือบ100% รัฐบาลเองโดยสถาบันภาคนักการเมืองต้องบริหารอย่างซื่อสัตย์สุจริตใจต่อประชาชนต่อประเทศต่ออธิปไตยตนเองเพราะแน่นอนบ่อน้ำมันนั้นหากเขาได้ไปจะเสียสิทธิ์ทางอธิปไตยพื้นที่สัมปทานไปทันทีคือแปลงที่ดินนั้นเขาได้สิทธิเหนือกฎหมายอธิปไตยชาติไทยทันที,สะดวกต่อกิจกรรมใดๆเอกชนนั้นทันที,กว่าเสียอธิปไตยพรมแดนเขมรอีกที่เป็นเรื่องในตอนนี้,สัมปทานไปกว่า21ครั้งแล้ว เสียพื้นที่บริหารจัดการทางที่ดินไปกี่ล้านไร่แล้วทั่วประเทศ,ชาวบ้านขุดเจอน้ำมันบนที่ดินตนเองปกติสมควรเป็นของส่วนรวมแต่เหี้ยเอกชนนั้นๆมันมายึดครองทันที เช่นแปลงสัมปทานที่มันได้กินพื้นที่อุดร สกล หนองคาย หากชาวบ้านขุดบ่อบาดาลแล้วเจอน้ำมัน พวกมันมายึดไปขุดแทนที่ทันที,นี้คือกฎหมายและสัมปทานขายอธิปไตยความมั่นคงทางพลังงานและอธิปไตยเหนือที่ดินประชาชนชาวไทยเราทันที,ต้องฉีกทิ้งกฎหมายนี้ทั้งหมดทันทีเช่นกัน ,นี้คือหน้าที่ภาคประชาชนคนไทยต้องจบในรุ่นยุคเราให้ได้,มันบัดสบพอแล้ว,อิหร่านมีบ่อน้ำมันมีโรงกลั่นน้ำมันน้อยกว่าไทยเสือกขายน้ำมันภายในประเทศอิหร่านแค่ลิตรละ1-2บาทได้,นั้นแสดงว่าวิถีปกครองเรามีปัญหาและคือตัวถ่วงความอยู่ดีมีสุขของประชาชนคนไทยเราทั้งประเทศจริง,และตัวการใหญ่ที่ทำไมจึงตั้งใจปกครองให้ประชาชนโง่ไม่ให้รู้ความจริงตรงนีัและอัดสถานะเพิ่มบัตรคนจนให้มากๆคงความมั่นคงทางความยากจนความจนให้คนไทยมากๆ. ..เราต้องการเห็นภาคประชาชนชนะและยึดอำนาจรัฐบาลจริงจังได้เสียที,ไล่ออกรัฐบาลสมคบคิดต่อศัตรูภัยอธิปไตยชาติไทยตนเองภัยคุกคามแผ่นดินไทยตนเองทันทีแล้วทำให้สุดซอยยึดอำนาจโดยภาคประชาชนเลยเคียงคู่ทหารไทยเราที่ยืนเคียงข้างประชาชนคนไทยตนเองเพราะทหารทุกๆคนก็ประชาชนคนไทยเรานี้ไปเป็นทหารในชื่อว่าทหารแทนชื่ิอว่าประชาชนคนไทยคนหนึ่งเท่านั้น,ประเทศไทยถึงเวลาเปลี่ยนแปลงกันอย่างจริงจังครั่งใหญ่แล้ว,เพราะนี้คือสงครามย่อยบทท้าทายเบื้องต้นแค่นั่น,รัฐบาลที่มาจากภาคประชาชนยึดอำนาจปกครองเองที่มิใช่ทหาร ประเทศทั่วโลกไหนจะเหี้ยประนามเรา,เราสมควรเลิกชุมนุมแล้วให้ทหารรับกรรมว่ายึดอำนาจรัฐประหารเถอะ,เรา..ประชาชนยึดอำนาจเองเลย ทำให้สุดซอยเลย,ไม่มีใครผิดกฎหมายในกระบวนการยึดอำนาจจริงคืนมาจากตัวแทนที่เลวชั่วใช้อำนาจเราไปทางที่ชั่วเลวนั่นเองจนสู่ภัยคุกคามที่ร้ายแรงถึงอธิปไตยชาติไทยตนเองจะปล่อยไว้ทำซากอะไรให้เนินนานขนาดนี้. https://youtu.be/MGtFbJDl1lc?si=EXDyGbqUgRSqHBov
    0 Comments 0 Shares 246 Views 0 Reviews
  • บทจะถูกทอดทิ้ง ยูเครนก็ถูก สหรัฐทอดทิ้งเอาได้ง่ายๆ หากศึกษาประวัติศาสตร์ในอดีตของไทย จะพบว่าครั้งหนึ่ง ไทยเองก็ถูกอเมริกาทอดทิ้งและเป็นบทเรียนให้เราได้รู้ว่า การเลือกข้าง ไม่ว่าจะมหาอำนาจข้างใดเขามองเห็นแค่ผลประโยชน์ของประเทศเขาเท่านั้น เรื่องมีอยู่ว่า....เมื่อในอดีต....ไทยเป็นประเทศเฉกเช่นเดียวกับหลายๆ ประเทศที่จะต้องรับมือการขยายอำนาจของประเทศคอมมิวนิสต์ อย่างรัสเซีย ผ่านเวียดนาม และจีนและสหรัฐอเมริกา ก็มีความพยายามในการสกัดกั้นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้การเข้ามาประจันของทั้งสองมหาอำนาจนี้บางประเทศก็เลือกที่จะเข้าข้างอำนาจหนึ่ง บางประเทศก็เลือกที่จะผูกพันกับอีกอำนาจหนึ่ง แต่การผูกพันกับอำนาจใดอำนาจหนึ่งมากก็ย่อมส่งผลเสียตามมาหากมีมหาอำนาจฝ่ายหนึ่งต้องถอยหลังไป ดังนั้นแล้วการทุ่มตัวในการพลิกให้เป็นฝ่ายชนะให้ได้จึงเป็นสิ่งที่น่าจะให้ผลประโยชน์ได้ดีที่สุดมากกว่าการแพ้ แต่มีคนไทยผู้หนึ่งนั้นมองอย่างแตกต่างออกไปที่ถึงจะไม่ชนะ แต่ก็ต้องไม่แพ้ กล่าวคือการ “หนีเสือปะจระเข้” จะไม่มีผลต่อการเลือกว่าเราจะต้องอยู่บนบกหรือในน้ำอีกต่อไป คนไทยผู้นี้คือ " ถนัด คอมันตร์ "“หากเราหนีเสือ [จีน] แล้วไปปะจระเข้ [โซเวียต] มันก็ไม่ได้เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ดีกว่านัก… ถ้าเราไม่มีทางอื่น เราอาจจะต้องอยู่กับจระเข้… ที่ว่ามานี้คือรูปแบบที่เป็นไปได้ถ้าสหรัฐอเมริกาต้องถอนกำลังออกจากประเทศเรา… เพราะเราไม่อาจบอกได้ว่าภูมิภาคของเราตอนนี้มีอำนาจมากพอ… เราหวังว่าทุกคนจะเข้าใจในประเด็นนี้ และช่วยสนับสนุนประเทศในภูมิภาคที่จะรวมตัวสร้างกลุ่มใหม่ขึ้นให้เหนียวแน่นกว่าเดิม” คำกล่าวนี้คือคำกล่าวของถนัด คอมันตร์ ผู้เป็นรัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศที่เป็นระดับตำนานของไทยที่จะคิดหาวิธีอยู่รอดในวันที่สหรัฐอเมริกากำลังเลือกที่จะถอนกำลังออก และในวันที่ประเทศที่เป็นคอมมิวนิสต์นั้นมีพลังมากขึ้นด้วยการรวมกลุ่มประเทศที่ไม่เป็นคอมมิวนิสต์เพื่อคานอิทธิพลของอำนาจแดงเอาไว้ Choawalit Chotwattanaphong เรามักจะคุ้นหูว่าหลักการ Nixon (Nixon Doctrine) ที่ประกาศว่าสหรัฐอเมริกาจะถอนกำลังออกจากเวียดนามได้ทำให้ประเทศไทยต้องเปลี่ยนนโยบายกับประเทศคอมมิวนิสต์ แต่ความจริงแล้วการเปลี่ยนทิศของนโยบายการต่างประเทศไทยนั้นได้เริ่มขึ้นก่อนที่การตัดสินใจของสหรัฐอเมริกาจะเกิดขึ้น และการตัดสินใจนี้เองก็มีส่วนที่ทำให้สงครามเวียดนามบรรเทาความรุนแรงลงด้วย การตัดสินใจเปลี่ยนทิศของไทยนั้นเริ่มหลังจากที่ประธานาธิบดีลินดอน จอห์นสัน ประกาศนโยบายกลับลำให้คุยสันติภาพหลังจากการรุกตรุษญวน ในการนี้ ถนัด คอมันตร์ และคนอื่นๆ ได้มีการกล่าวว่าสหรัฐอเมริกาได้สร้างข้อสงสัยขึ้นให้กับประเทศอื่นๆ และตอนนี้ไทยก็ได้รู้ตัวอย่างแจ่มแจ้งมากกว่าเก่าว่าการพึ่งกับสหรัฐอเมริกานั้นไม่ใช่ทางที่ดีอีกต่อไปถึงแม้ว่าสหรัฐอเมริกาจะต้องถอนทัพออกไป แต่ถนัดก็ได้ขอให้การถอนทัพนี้เป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไปตามความเหมาะสมของสถานการณ์ และไทยเองก็ต้องสร้างความสัมพันธ์กับประเทศคอมมิวนิสต์ในท่ามกลางดุลอำนาจที่เปลี่ยนไปนี้ด้วย ถนัดจึงได้คิดค้นการทูตแบบยืดหยุ่นขึ้นในขณะนั้นถนัดประเมินว่ามีอยู่ 5 แนวทางสำหรับนโยบายการต่างประเทศของไทยในอนาคต คือ ทางเลือกที่หนึ่ง การไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด แต่นโยบายนี้เขาพบว่ามหาอำนาจจะไม่ยอมให้ประเทศเล็กๆ ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด และมักจะโดนยำเสมอ ทางเลือกนี้จึงตัดทิ้งไป ทางที่สอง คือการเข้าไปหาคอมมิวนิสต์โดยตรงและ “ชนะใจ” ในเชิงการทูตเพื่อให้อยู่ร่วมกันได้ซึ่งถนัดก็เห็นว่ามีความเป็นไปได้ เพียงแต่ยังไม่ใช่ในตอนนั้น ทางเลือกที่สาม คือการประกาศว่าเป็นกลางคือจะไม่ยุ่งเกี่ยวกับประเด็นสงครามหรือความขัดแย้งทั้งสิ้นซึ่งต่างจากการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด แต่เขาก็ประเมินว่าประเทศคอมมิวนิสต์คงไม่อยู่เฉยๆ เพราะถึงเราจะเป็นกลาง แต่คอมมิวนิสต์ไม่กลางด้วย หรือทางที่สี่ การเข้าไปร่วมกับคอมมิวนิสต์ด้วยเลยก็ไม่มีประโยชน์เพราะจะถูกบีบได้เสมอ เขาเห็นว่าทางที่ห้า เป็นไปได้มากที่สุดคือการรวมกลุ่มประเทศที่ไม่ใช่คอมมิวนิสต์ในภูมิภาคเข้าไว้ด้วยกันเพื่อเป็นพลังต่อรองใหม่ ซึ่งนี่คือจุดกำเนิดของ ASEAN นั่นเองถนัดเป็นผู้ริเริ่มเรื่องนี้ขึ้นเนื่องจากประเทศต่างๆ ในเอเชียไม่ต้องการพึ่งพลังจากภายนอกอีกต่อไป แต่ในขณะเดียวกันก็สามารถจัดการต่อรองประเด็นต่างๆ ได้อย่างเท่าเทียมและมีพลังด้วย ถึงแม้ว่าถนัดในช่วงก่อนนั้นจะเห็นว่าการมีอยู่ของกองทัพสหรัฐอเมริกานั้นเป็นประโยชน์แต่ก็เสียความชอบธรรมลงไปเพราะการเมืองในประเทศของสหรัฐอเมริกาเอง ซึ่งถนัดได้ชี้ว่า “เป้าหมายของสหรัฐอเมริกาเปลี่ยนไป เราไม่ได้เปลี่ยน พวกเขาต่างหากที่เปลี่ยน การมีอยู่ของกองทัพอเมริกันในไทยเสียความชอบธรรมไปแล้ว” และเขายังได้ติติงว่าสหรัฐอเมริกาจะเป็นมหาอำนาจได้ก็ต่อเมื่อรับผิดชอบในภารกิจของตนให้เสร็จสิ้น การถอนทัพออกไปนั้นจะไม่ใช่แค่ส่งผลต่อประเทศอื่น แต่ยังส่งผลไปยังสหรัฐอเมริกาเองด้วยว่าไม่สามารถทำหน้าที่มหาอำนาจได้อีกต่อไปอย่างไรก็ดี ถนัดได้เดินหน้าต่อในการวางแนวทางใหม่ทางการทูตที่ไม่ต้องพึ่งสหรัฐอเมริกาอีกต่อไป พร้อมกับที่สหรัฐอเมริกาค่อยๆ ถอนกำลังออกจากไทย การถอนทัพนี้ได้สร้างความไม่ลงรอยทางการเมืองในไทยเองด้วย กล่าวคือกลุ่มกองทัพไทยยังคงอยากให้กองทัพสหรัฐอเมริกาอยู่ต่อไปเพื่อเป็นหลักประกันความปลอดภัย ส่วนกลุ่มในกระทรวงการต่างประเทศนั้นแม้จะยังอยากให้กองทัพอยู่เช่นกัน แต่ก็ตระหนักถึงความจริงที่สหรัฐอเมริกาได้ตัดสินใจไปแล้วด้วย ดังนั้นพวกเขาจึงตระหนักว่าการถอนทัพออกของอเมริกันเองก็ได้มอบพื้นที่ใหม่ทางการต่างประเทศให้กับไทยและภูมิภาคด้วยการถอนกำลังของสหรัฐอเมริกานั้นสามารถก่อให้เกิดช่องว่างทางอำนาจขึ้นได้ ดังนั้นการร่วมมือของประเทศในภูมิภาคจึงเป็นสิ่งสำคัญ ไทยจึงกลายเป็นหัวหอกในการพาชาติต่างๆ เข้ามาร่วมทำงานด้วยกันในการสร้างสันติภาพภายใต้องค์การ ASEAN ที่จะกลายเป็นสิ่งที่ถ่วงเอาไว้ไม่ให้เกิดช่องว่างอำนาจจนอาจสั่นคลอนภูมิภาคได้ แต่ ASEAN แตกต่างจากองค์การอื่นๆ ก่อนหน้าเช่น SEATO เพราะ ASEAN ไม่ใช่องค์การในเชิงทหาร แต่เป็นองค์การเชิงการเมือง โดยถนัดชี้ว่าต่อให้ทุกประเทศรวมกันในเชิงกองกำลังก็ยังต้านจีนไม่ได้ วิธีการจึงต้องเป็นวิธีอื่นนอกจากการทหารควบคู่ไปกับการร่วมมือกันของประเทศต่างๆ ไทย (และประเทศอื่น) ก็เริ่มหาแนวทางปรับความสัมพันธ์กับประเทศคอมมิวนิสต์ ถนัดได้เขียนบทความลง Times เดือนสิงหาคม ค.ศ. 1969 (พ.ศ. 2512) ว่า “จนถึงตอนนี้ก็ยังไม่มีการพูดคุยในทางการทูตระหว่างกันระหว่างเรากับประเทศคอมมิวนิสต์ แต่เราจะต้องพยายามให้เกิดขึ้นให้ได้ แต่เราจะทำได้ก็ต่อเมื่อประเทศในอาเซียนสามารถร่วมมือกันอย่างเป็นระบบได้ในการโน้มน้าวให้กลุ่มคอมมิวนิสต์ละทิ้งสงครามและร่วมมือกันอย่างสร้างสรรค์” นั่นหมายความว่าถนัดได้เห็นแล้วว่าการผ่อนคลายระหว่างกัน (Détente) นั้นเป็นสิ่งที่จะต้องทำซึ่งในช่วงเวลาของเขานั้นเรื่องนี้คือสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ แต่เขาก็ยังเชื่อว่าจะเป็นนโยบายที่ “สามารถปฏิบัติได้จริงในอนาคต” เพราะว่าประเทศคอมมิวนิสต์ไม่สามารถมีท่าทีในเชิงรุกได้ตลอดไป ดังนั้นไทยต้องเตรียมที่จะปรับเปลี่ยนตัวเองให้สอดคล้องด้วย หรือเป็นการ “มีนโยบายที่ยืดหยุ่นมากขึ้นกับจีน” เขาจึงกล่าวว่า “ถ้าปักกิ่งมีสัญญาณว่าเราสามารถพูดคุยกันได้เมื่อไร ผมจะแนะนำให้รัฐบาลไทยไปนั่งโต๊ะทันที แต่ตอนนี้สัญญาณนั้นยังไม่เกิดขึ้น” ถนัดยืนยันว่าไทยไม่ต่อต้านคอมมิวนิสต์หรือจีน และต้องการที่จะพูดคุยหาทางในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติให้ได้ ถนัดยังกล่าวต่อไปอีกว่าจีนต่างหากที่ต้านไทยเพราะรัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศของจีนนั้นพูดเองว่าจะทำสงครามกองโจรกับไทยถนัดนั้นจึงเตรียมพร้อมเสมอในการไปปักกิ่ง และคาดกันว่าเขาเตรียมจะส่ง ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช ไปเจรจา หรือกระทั่งแคล้ว นรปติ ซึ่งเป็นนักการเมืองสายสังคมนิยมในขณะนั้น ไปเพื่อถามกันตรงๆ ว่า ที่ว่าจะทำสงครามเป็นเพราะอะไร แต่ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์นั้นได้ออกมาปฏิเสธในการไปคุยกับจีนว่าไม่มีประโยชน์เพราะคำตอบนั้นชัดอยู่แล้วว่าเพราะไทยอยู่ข้างสหรัฐอเมริกา อย่างไรก็ดีถนัดได้ยืนยันว่านโยบายต่างประเทศไทยนั้นไม่เคยเปลี่ยนเลย คือ การปกป้องเอกราชของประเทศไทยนั้นคือสิ่งที่ดำเนินมาตลอด แต่วิธีการที่จะบรรลุเป้าหมายนี้จะต้องปรับเปลี่ยนไปตามบริบทดังที่เขากล่าวว่า “เราต้องตระหนักสถานการณ์ในปัจจุบันที่ดุลอำนาจเปลี่ยนไปแล้ว แต่เราไม่ได้เปลี่ยนนโยบายของเรา นโยบายของเราเหมือนเดิม และเราจะไม่มีวันปล่อยหลักการทางศีลธรรมและทางสติปัญญาของเราทิ้งไป” ดังนั้นจึงหมายความว่าแม้จะ “ลู่ลม” แต่ “ราก” นั้นไม่เปลี่ยนไปตามลมนั่นเองหลักการการทูตที่ยืดหยุ่นนั้นประกอบไปด้วยสามประการ คือ ไม่อเมริกัน การร่วมมือในภูมิภาค และการผ่อนคลายความตึงเครียด ถนัดได้สร้างช่องทางในการติดต่อกับจีนผ่านคนที่สามในการหาทางอยู่ร่วมกัน เช่น UN รวมไปถึงการติดต่อกับโซเวียตไปพร้อมกันด้วย แม้ว่าถนัดจะยืนยันว่านโยบายไม่ได้เปลี่ยนก็ตาม แต่การใช้วิธีแบบยืดหยุ่นนี้ได้สร้างการผ่อนคลายได้ในที่สุด และได้กลายเป็นฐานให้ผู้มีอำนาจอื่นๆ ต่อยอดวิธีการของถนัดในการอยู่กับประเทศคอมมิวนิสต์อย่างสันติและปกป้องเอกราชของไทยเอาไว้ได้ถนัดจึงสมควรได้รับการยกย่องที่สุดว่า “ถนัดและคนอื่นๆ ได้คิดในสิ่งที่มิอาจจินตนาการได้ในสงครามเย็น นั่นคือการอยู่ร่วมกับทั้งจระเข้และเสืออย่างปลอดภัย” และนี่คือถนัด คอมันตร์ ตำนานรัฐมนตรีต่างประเทศของไทยตลอดกาล #มูลนิธิสยามรีกอเดอ #LueHistory #ประวัติศาสตร์ #ฤๅคัฟเวอรี่
    บทจะถูกทอดทิ้ง ยูเครนก็ถูก สหรัฐทอดทิ้งเอาได้ง่ายๆ หากศึกษาประวัติศาสตร์ในอดีตของไทย จะพบว่าครั้งหนึ่ง ไทยเองก็ถูกอเมริกาทอดทิ้งและเป็นบทเรียนให้เราได้รู้ว่า การเลือกข้าง ไม่ว่าจะมหาอำนาจข้างใดเขามองเห็นแค่ผลประโยชน์ของประเทศเขาเท่านั้น เรื่องมีอยู่ว่า....เมื่อในอดีต....ไทยเป็นประเทศเฉกเช่นเดียวกับหลายๆ ประเทศที่จะต้องรับมือการขยายอำนาจของประเทศคอมมิวนิสต์ อย่างรัสเซีย ผ่านเวียดนาม และจีนและสหรัฐอเมริกา ก็มีความพยายามในการสกัดกั้นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้การเข้ามาประจันของทั้งสองมหาอำนาจนี้บางประเทศก็เลือกที่จะเข้าข้างอำนาจหนึ่ง บางประเทศก็เลือกที่จะผูกพันกับอีกอำนาจหนึ่ง แต่การผูกพันกับอำนาจใดอำนาจหนึ่งมากก็ย่อมส่งผลเสียตามมาหากมีมหาอำนาจฝ่ายหนึ่งต้องถอยหลังไป ดังนั้นแล้วการทุ่มตัวในการพลิกให้เป็นฝ่ายชนะให้ได้จึงเป็นสิ่งที่น่าจะให้ผลประโยชน์ได้ดีที่สุดมากกว่าการแพ้ แต่มีคนไทยผู้หนึ่งนั้นมองอย่างแตกต่างออกไปที่ถึงจะไม่ชนะ แต่ก็ต้องไม่แพ้ กล่าวคือการ “หนีเสือปะจระเข้” จะไม่มีผลต่อการเลือกว่าเราจะต้องอยู่บนบกหรือในน้ำอีกต่อไป คนไทยผู้นี้คือ " ถนัด คอมันตร์ "“หากเราหนีเสือ [จีน] แล้วไปปะจระเข้ [โซเวียต] มันก็ไม่ได้เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ดีกว่านัก… ถ้าเราไม่มีทางอื่น เราอาจจะต้องอยู่กับจระเข้… ที่ว่ามานี้คือรูปแบบที่เป็นไปได้ถ้าสหรัฐอเมริกาต้องถอนกำลังออกจากประเทศเรา… เพราะเราไม่อาจบอกได้ว่าภูมิภาคของเราตอนนี้มีอำนาจมากพอ… เราหวังว่าทุกคนจะเข้าใจในประเด็นนี้ และช่วยสนับสนุนประเทศในภูมิภาคที่จะรวมตัวสร้างกลุ่มใหม่ขึ้นให้เหนียวแน่นกว่าเดิม” คำกล่าวนี้คือคำกล่าวของถนัด คอมันตร์ ผู้เป็นรัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศที่เป็นระดับตำนานของไทยที่จะคิดหาวิธีอยู่รอดในวันที่สหรัฐอเมริกากำลังเลือกที่จะถอนกำลังออก และในวันที่ประเทศที่เป็นคอมมิวนิสต์นั้นมีพลังมากขึ้นด้วยการรวมกลุ่มประเทศที่ไม่เป็นคอมมิวนิสต์เพื่อคานอิทธิพลของอำนาจแดงเอาไว้ [1]เรามักจะคุ้นหูว่าหลักการ Nixon (Nixon Doctrine) ที่ประกาศว่าสหรัฐอเมริกาจะถอนกำลังออกจากเวียดนามได้ทำให้ประเทศไทยต้องเปลี่ยนนโยบายกับประเทศคอมมิวนิสต์ แต่ความจริงแล้วการเปลี่ยนทิศของนโยบายการต่างประเทศไทยนั้นได้เริ่มขึ้นก่อนที่การตัดสินใจของสหรัฐอเมริกาจะเกิดขึ้น และการตัดสินใจนี้เองก็มีส่วนที่ทำให้สงครามเวียดนามบรรเทาความรุนแรงลงด้วย การตัดสินใจเปลี่ยนทิศของไทยนั้นเริ่มหลังจากที่ประธานาธิบดีลินดอน จอห์นสัน ประกาศนโยบายกลับลำให้คุยสันติภาพหลังจากการรุกตรุษญวน ในการนี้ ถนัด คอมันตร์ และคนอื่นๆ ได้มีการกล่าวว่าสหรัฐอเมริกาได้สร้างข้อสงสัยขึ้นให้กับประเทศอื่นๆ และตอนนี้ไทยก็ได้รู้ตัวอย่างแจ่มแจ้งมากกว่าเก่าว่าการพึ่งกับสหรัฐอเมริกานั้นไม่ใช่ทางที่ดีอีกต่อไปถึงแม้ว่าสหรัฐอเมริกาจะต้องถอนทัพออกไป แต่ถนัดก็ได้ขอให้การถอนทัพนี้เป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไปตามความเหมาะสมของสถานการณ์ และไทยเองก็ต้องสร้างความสัมพันธ์กับประเทศคอมมิวนิสต์ในท่ามกลางดุลอำนาจที่เปลี่ยนไปนี้ด้วย ถนัดจึงได้คิดค้นการทูตแบบยืดหยุ่นขึ้นในขณะนั้นถนัดประเมินว่ามีอยู่ 5 แนวทางสำหรับนโยบายการต่างประเทศของไทยในอนาคต คือ ทางเลือกที่หนึ่ง การไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด แต่นโยบายนี้เขาพบว่ามหาอำนาจจะไม่ยอมให้ประเทศเล็กๆ ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด และมักจะโดนยำเสมอ ทางเลือกนี้จึงตัดทิ้งไป ทางที่สอง คือการเข้าไปหาคอมมิวนิสต์โดยตรงและ “ชนะใจ” ในเชิงการทูตเพื่อให้อยู่ร่วมกันได้ซึ่งถนัดก็เห็นว่ามีความเป็นไปได้ เพียงแต่ยังไม่ใช่ในตอนนั้น ทางเลือกที่สาม คือการประกาศว่าเป็นกลางคือจะไม่ยุ่งเกี่ยวกับประเด็นสงครามหรือความขัดแย้งทั้งสิ้นซึ่งต่างจากการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด แต่เขาก็ประเมินว่าประเทศคอมมิวนิสต์คงไม่อยู่เฉยๆ เพราะถึงเราจะเป็นกลาง แต่คอมมิวนิสต์ไม่กลางด้วย หรือทางที่สี่ การเข้าไปร่วมกับคอมมิวนิสต์ด้วยเลยก็ไม่มีประโยชน์เพราะจะถูกบีบได้เสมอ เขาเห็นว่าทางที่ห้า เป็นไปได้มากที่สุดคือการรวมกลุ่มประเทศที่ไม่ใช่คอมมิวนิสต์ในภูมิภาคเข้าไว้ด้วยกันเพื่อเป็นพลังต่อรองใหม่ ซึ่งนี่คือจุดกำเนิดของ ASEAN นั่นเองถนัดเป็นผู้ริเริ่มเรื่องนี้ขึ้นเนื่องจากประเทศต่างๆ ในเอเชียไม่ต้องการพึ่งพลังจากภายนอกอีกต่อไป แต่ในขณะเดียวกันก็สามารถจัดการต่อรองประเด็นต่างๆ ได้อย่างเท่าเทียมและมีพลังด้วย ถึงแม้ว่าถนัดในช่วงก่อนนั้นจะเห็นว่าการมีอยู่ของกองทัพสหรัฐอเมริกานั้นเป็นประโยชน์แต่ก็เสียความชอบธรรมลงไปเพราะการเมืองในประเทศของสหรัฐอเมริกาเอง ซึ่งถนัดได้ชี้ว่า “เป้าหมายของสหรัฐอเมริกาเปลี่ยนไป เราไม่ได้เปลี่ยน พวกเขาต่างหากที่เปลี่ยน การมีอยู่ของกองทัพอเมริกันในไทยเสียความชอบธรรมไปแล้ว” และเขายังได้ติติงว่าสหรัฐอเมริกาจะเป็นมหาอำนาจได้ก็ต่อเมื่อรับผิดชอบในภารกิจของตนให้เสร็จสิ้น การถอนทัพออกไปนั้นจะไม่ใช่แค่ส่งผลต่อประเทศอื่น แต่ยังส่งผลไปยังสหรัฐอเมริกาเองด้วยว่าไม่สามารถทำหน้าที่มหาอำนาจได้อีกต่อไปอย่างไรก็ดี ถนัดได้เดินหน้าต่อในการวางแนวทางใหม่ทางการทูตที่ไม่ต้องพึ่งสหรัฐอเมริกาอีกต่อไป พร้อมกับที่สหรัฐอเมริกาค่อยๆ ถอนกำลังออกจากไทย การถอนทัพนี้ได้สร้างความไม่ลงรอยทางการเมืองในไทยเองด้วย กล่าวคือกลุ่มกองทัพไทยยังคงอยากให้กองทัพสหรัฐอเมริกาอยู่ต่อไปเพื่อเป็นหลักประกันความปลอดภัย ส่วนกลุ่มในกระทรวงการต่างประเทศนั้นแม้จะยังอยากให้กองทัพอยู่เช่นกัน แต่ก็ตระหนักถึงความจริงที่สหรัฐอเมริกาได้ตัดสินใจไปแล้วด้วย ดังนั้นพวกเขาจึงตระหนักว่าการถอนทัพออกของอเมริกันเองก็ได้มอบพื้นที่ใหม่ทางการต่างประเทศให้กับไทยและภูมิภาคด้วยการถอนกำลังของสหรัฐอเมริกานั้นสามารถก่อให้เกิดช่องว่างทางอำนาจขึ้นได้ ดังนั้นการร่วมมือของประเทศในภูมิภาคจึงเป็นสิ่งสำคัญ ไทยจึงกลายเป็นหัวหอกในการพาชาติต่างๆ เข้ามาร่วมทำงานด้วยกันในการสร้างสันติภาพภายใต้องค์การ ASEAN ที่จะกลายเป็นสิ่งที่ถ่วงเอาไว้ไม่ให้เกิดช่องว่างอำนาจจนอาจสั่นคลอนภูมิภาคได้ แต่ ASEAN แตกต่างจากองค์การอื่นๆ ก่อนหน้าเช่น SEATO เพราะ ASEAN ไม่ใช่องค์การในเชิงทหาร แต่เป็นองค์การเชิงการเมือง โดยถนัดชี้ว่าต่อให้ทุกประเทศรวมกันในเชิงกองกำลังก็ยังต้านจีนไม่ได้ วิธีการจึงต้องเป็นวิธีอื่นนอกจากการทหารควบคู่ไปกับการร่วมมือกันของประเทศต่างๆ ไทย (และประเทศอื่น) ก็เริ่มหาแนวทางปรับความสัมพันธ์กับประเทศคอมมิวนิสต์ ถนัดได้เขียนบทความลง Times เดือนสิงหาคม ค.ศ. 1969 (พ.ศ. 2512) ว่า “จนถึงตอนนี้ก็ยังไม่มีการพูดคุยในทางการทูตระหว่างกันระหว่างเรากับประเทศคอมมิวนิสต์ แต่เราจะต้องพยายามให้เกิดขึ้นให้ได้ แต่เราจะทำได้ก็ต่อเมื่อประเทศในอาเซียนสามารถร่วมมือกันอย่างเป็นระบบได้ในการโน้มน้าวให้กลุ่มคอมมิวนิสต์ละทิ้งสงครามและร่วมมือกันอย่างสร้างสรรค์” นั่นหมายความว่าถนัดได้เห็นแล้วว่าการผ่อนคลายระหว่างกัน (Détente) นั้นเป็นสิ่งที่จะต้องทำซึ่งในช่วงเวลาของเขานั้นเรื่องนี้คือสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ แต่เขาก็ยังเชื่อว่าจะเป็นนโยบายที่ “สามารถปฏิบัติได้จริงในอนาคต” เพราะว่าประเทศคอมมิวนิสต์ไม่สามารถมีท่าทีในเชิงรุกได้ตลอดไป ดังนั้นไทยต้องเตรียมที่จะปรับเปลี่ยนตัวเองให้สอดคล้องด้วย หรือเป็นการ “มีนโยบายที่ยืดหยุ่นมากขึ้นกับจีน” เขาจึงกล่าวว่า “ถ้าปักกิ่งมีสัญญาณว่าเราสามารถพูดคุยกันได้เมื่อไร ผมจะแนะนำให้รัฐบาลไทยไปนั่งโต๊ะทันที แต่ตอนนี้สัญญาณนั้นยังไม่เกิดขึ้น” ถนัดยืนยันว่าไทยไม่ต่อต้านคอมมิวนิสต์หรือจีน และต้องการที่จะพูดคุยหาทางในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติให้ได้ ถนัดยังกล่าวต่อไปอีกว่าจีนต่างหากที่ต้านไทยเพราะรัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศของจีนนั้นพูดเองว่าจะทำสงครามกองโจรกับไทยถนัดนั้นจึงเตรียมพร้อมเสมอในการไปปักกิ่ง และคาดกันว่าเขาเตรียมจะส่ง ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช ไปเจรจา หรือกระทั่งแคล้ว นรปติ ซึ่งเป็นนักการเมืองสายสังคมนิยมในขณะนั้น ไปเพื่อถามกันตรงๆ ว่า ที่ว่าจะทำสงครามเป็นเพราะอะไร แต่ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์นั้นได้ออกมาปฏิเสธในการไปคุยกับจีนว่าไม่มีประโยชน์เพราะคำตอบนั้นชัดอยู่แล้วว่าเพราะไทยอยู่ข้างสหรัฐอเมริกา อย่างไรก็ดีถนัดได้ยืนยันว่านโยบายต่างประเทศไทยนั้นไม่เคยเปลี่ยนเลย คือ การปกป้องเอกราชของประเทศไทยนั้นคือสิ่งที่ดำเนินมาตลอด แต่วิธีการที่จะบรรลุเป้าหมายนี้จะต้องปรับเปลี่ยนไปตามบริบทดังที่เขากล่าวว่า “เราต้องตระหนักสถานการณ์ในปัจจุบันที่ดุลอำนาจเปลี่ยนไปแล้ว แต่เราไม่ได้เปลี่ยนนโยบายของเรา นโยบายของเราเหมือนเดิม และเราจะไม่มีวันปล่อยหลักการทางศีลธรรมและทางสติปัญญาของเราทิ้งไป” ดังนั้นจึงหมายความว่าแม้จะ “ลู่ลม” แต่ “ราก” นั้นไม่เปลี่ยนไปตามลมนั่นเองหลักการการทูตที่ยืดหยุ่นนั้นประกอบไปด้วยสามประการ คือ ไม่อเมริกัน การร่วมมือในภูมิภาค และการผ่อนคลายความตึงเครียด ถนัดได้สร้างช่องทางในการติดต่อกับจีนผ่านคนที่สามในการหาทางอยู่ร่วมกัน เช่น UN รวมไปถึงการติดต่อกับโซเวียตไปพร้อมกันด้วย แม้ว่าถนัดจะยืนยันว่านโยบายไม่ได้เปลี่ยนก็ตาม แต่การใช้วิธีแบบยืดหยุ่นนี้ได้สร้างการผ่อนคลายได้ในที่สุด และได้กลายเป็นฐานให้ผู้มีอำนาจอื่นๆ ต่อยอดวิธีการของถนัดในการอยู่กับประเทศคอมมิวนิสต์อย่างสันติและปกป้องเอกราชของไทยเอาไว้ได้ถนัดจึงสมควรได้รับการยกย่องที่สุดว่า “ถนัดและคนอื่นๆ ได้คิดในสิ่งที่มิอาจจินตนาการได้ในสงครามเย็น นั่นคือการอยู่ร่วมกับทั้งจระเข้และเสืออย่างปลอดภัย” และนี่คือถนัด คอมันตร์ ตำนานรัฐมนตรีต่างประเทศของไทยตลอดกาล #มูลนิธิสยามรีกอเดอ #LueHistory #ประวัติศาสตร์ #ฤๅคัฟเวอรี่
    0 Comments 0 Shares 1085 Views 0 Reviews