• อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การแทงตลอดอริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 1045
    ชื่อบทธรรม :- การแทงตลอดอริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1045
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --การแทงตลอดอริยสัจ-เป็นงานละเอียดอ่อนยิ่งกว่าการแทงทะลุขนทรายด้วยขนทราย
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !
    เมื่อเช้านี้ ข้าพระองค์ ครองจีวรถือบาตรเข้าไป บิณฑบาตในเมืองเวสาลี
    ได้เห็นพวกลิจฉวีกุมารเป็นอันมาก ทำการฝึกยิงศรอยู่ที่สัณฐาคาร
    ยิงลูกศรรอดช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย;
    ครั้นเห็นแล้ว ข้าพระองค์คิดว่า ลิจฉวีกุมารเหล่านี้ ฝึกแล้ว ฝึกดีแล้วหนอ
    คือข้อที่สามารถยิงลูกศรรอด ช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล
    ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย”
    --อานนท์ ! เธอจะสำคัญความข้อนี้ ว่าอย่างไร
    : อย่างไหนทำได้ยากหรือมีได้ยากกว่ากัน
    คือข้อที่คนยิงลูกศรรอดช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย
    กับคนที่แทงทะลุปลายขนทรายด้วยปลายขนทรายที่ผ่าแล้วเจ็ดแล่ง ?
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้อนี้ทำได้ยากกว่า มีได้ยากกว่า
    คือข้อที่คนแทง ทะลุปลายขนทราบด้วยปลายขนทรายที่ผ่าแล้วเจ็ดแล่ง”
    --อานนท์ ! ยังมีคนผู้แทงตลอด ซึ่งการแทงตลอดอันยากไปกว่า,
    คือบรรดา #บุคคลที่แทงตลอดซึ่งอริยสัจตามที่เป็นจริง ว่า
    http://etipitaka.com/read/pali/19/566/?keywords=ทุปฺปฏิวิชฺฌตรํ+ปฏิวิชฺฌนฺติ
    “นี้ทุกข์
    นี้เหตุให้เกิดทุกข์
    นี้ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์
    นี้ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์”
    --อานนท์ ! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้
    เธอพึงประกอบโยคกรรมอันเป็นเครื่องกระทำให้รู้ว่า
    “ทุกข์ เป็นอย่างนี้,
    ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้,
    ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้,
    ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้”
    ดังนี้.-

    #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/445/1738.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/445/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%93%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๖๕/๑๗๓๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/565/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%93%E0%B9%98
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1045
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1045
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91
    ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​การแทงตลอดอริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 1045 ชื่อบทธรรม :- การแทงตลอดอริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1045 เนื้อความทั้งหมด :- --การแทงตลอดอริยสัจ-เป็นงานละเอียดอ่อนยิ่งกว่าการแทงทะลุขนทรายด้วยขนทราย --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อเช้านี้ ข้าพระองค์ ครองจีวรถือบาตรเข้าไป บิณฑบาตในเมืองเวสาลี ได้เห็นพวกลิจฉวีกุมารเป็นอันมาก ทำการฝึกยิงศรอยู่ที่สัณฐาคาร ยิงลูกศรรอดช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย; ครั้นเห็นแล้ว ข้าพระองค์คิดว่า ลิจฉวีกุมารเหล่านี้ ฝึกแล้ว ฝึกดีแล้วหนอ คือข้อที่สามารถยิงลูกศรรอด ช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย” --อานนท์ ! เธอจะสำคัญความข้อนี้ ว่าอย่างไร : อย่างไหนทำได้ยากหรือมีได้ยากกว่ากัน คือข้อที่คนยิงลูกศรรอดช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย กับคนที่แทงทะลุปลายขนทรายด้วยปลายขนทรายที่ผ่าแล้วเจ็ดแล่ง ? --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้อนี้ทำได้ยากกว่า มีได้ยากกว่า คือข้อที่คนแทง ทะลุปลายขนทราบด้วยปลายขนทรายที่ผ่าแล้วเจ็ดแล่ง” --อานนท์ ! ยังมีคนผู้แทงตลอด ซึ่งการแทงตลอดอันยากไปกว่า, คือบรรดา #บุคคลที่แทงตลอดซึ่งอริยสัจตามที่เป็นจริง ว่า http://etipitaka.com/read/pali/19/566/?keywords=ทุปฺปฏิวิชฺฌตรํ+ปฏิวิชฺฌนฺติ “นี้ทุกข์ นี้เหตุให้เกิดทุกข์ นี้ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ นี้ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์” --อานนท์ ! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้ เธอพึงประกอบโยคกรรมอันเป็นเครื่องกระทำให้รู้ว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้.- #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/445/1738. http://etipitaka.com/read/thai/19/445/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%93%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๖๕/๑๗๓๘. http://etipitaka.com/read/pali/19/565/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%97%E0%B9%93%E0%B9%98 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1045 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91&id=1045 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=91 ลำดับสาธยายธรรม : 91 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_91.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - การแทงตลอดอริยสัจ--เป็นงานละเอียดอ่อนยิ่งกว่าการแทงทะลุขนทรายด้วยขนทราย
    -(อธิปไตยอย่างอื่นก็มีอยู่ คือปรารภประโยชน์ตนแล้วประพฤติไม่ย่อหย่อน เรียกว่าอัตตาธิปไตย; และปรารภการติเตียนของผู้อื่นแล้วประพฤติไม่ย่อหย่อน เรียกว่าโลกาธิปไตย. ทั้งสองอย่างนี้ไม่ประกอบด้วยธรรม ไม่ควรถือเอาเป็นเครื่องเกื้อหนุนการปฏิบัติ; แต่ให้ถือเอา ธัมมาธิปไตยดังที่กล่าวแล้วข้างบน เป็นเครื่องเกื้อหนุนการปฏิบัติ จึงจะถูกต้องตามหลักของการทำที่สุดทุกข์ในพระพุทธศาสนา หรือตรงตามพระพุทธประสงค์). การแทงตลอดอริยสัจ เป็นงานละเอียดอ่อนยิ่งกว่าการแทงทะลุขนทรายด้วยขนทราย “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อเช้านี้ ข้าพระองค์ ครองจีวรถือบาตรเข้าไป บิณฑบาตในเมืองเวสาลี ได้เห็นพวกลิจฉวีกุมารเป็นอันมาก ทำการฝึกยิงศรอยู่ที่สัณฐาคาร ยิงลูกศรรอดช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย; ครั้นเห็นแล้ว ข้าพระองค์คิดว่า ลิจฉวีกุมารเหล่านี้ ฝึกแล้ว ฝึกดีแล้วหนอ คือข้อที่สามารถยิงลูกศรรอด ช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย” อานนท์ ! เธอจะสำคัญความข้อนี้ ว่าอย่างไร : อย่างไหนทำได้ยากหรือมีได้ยากกว่ากัน คือข้อที่คนยิงลูกศรรอดช่องดาลที่เจาะไว้แต่พอดีจากที่ไกล ลูกไหนลูกนั้นไม่มีผิดเลย กับคนที่แทงทะลุปลายขนทรายด้วยปลายขนทรายที่ผ่าแล้วเจ็ดแล่ง ? “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้อนี้ทำได้ยากกว่า มีได้ยากกว่า คือข้อที่คนแทง ทะลุปลายขนทราบด้วยปลายขนทรายที่ผ่าแล้วเจ็ดแล่ง” อานนท์ ! ยังมีคนผู้แทงตลอด ซึ่งการแทงตลอดอันยากไปกว่า, คือบรรดา คนที่แทงตลอด ซึ่งอริยสัจตามที่เป็นจริง ว่า “นี้ทุกข์ นี้เหตุให้เกิดทุกข์ นี้ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ นี้ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์” อานนท์ ! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้ เธอพึงประกอบโยคกรรมอันเป็นเครื่องกระทำให้รู้ว่า “ทุกข์ เป็นอย่างนี้, ทุกขสมุทัย เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธ เป็นอย่างนี้, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นอย่างนี้” ดังนี้.
    0 Comments 0 Shares 95 Views 0 Reviews