• อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ความรู้ที่ทำให้สิ้นอาสวะ
    สัทธรรมลำดับที่ : 1040
    ชื่อบทธรรม :- ความรู้ที่ทำให้สิ้นอาสวะ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1040
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความรู้ที่ทำให้สิ้นอาสวะ
    --ภิกษุ ท. ! เรากล่าวความสิ้นอาสวะ
    ว่ามีได้สำหรับบุคคลผู้รู้อยู่ เห็นอยู่ (ชานโต ปสฺสโต), ไม่ใช่สำหรับผู้ไม่รู้อยู่ไม่เห็นอยู่.
    --ภิกษุ ท. ! รู้อยู่เห็นอยู่ซึ่งอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ความสิ้นอาสวะ ย่อมมีแก่ผู้รู้อยู่เห็นอยู่ ว่า
    “นี้ทุกข์
    นี้ทุกขสมุทัย
    นี้ทุกขนิโรธ
    นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา”
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! #ความสิ้นอาสวะย่อมมีแก่ผู้รู้อยู่เห็นอยู่อย่างนี้
    แล.-
    http://etipitaka.com/read/pali/25/310/?keywords=ชานโต+ปสฺสโต+อาสวานํ

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. 25/243/282.
    http://etipitaka.com/read/thai/25/243/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. ๒๕/๓๐๙/๒๘๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/309/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%92
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1040
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90&id=1040
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90
    ลำดับสาธยายธรรม : 90 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_90.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ความรู้ที่ทำให้สิ้นอาสวะ สัทธรรมลำดับที่ : 1040 ชื่อบทธรรม :- ความรู้ที่ทำให้สิ้นอาสวะ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1040 เนื้อความทั้งหมด :- --ความรู้ที่ทำให้สิ้นอาสวะ --ภิกษุ ท. ! เรากล่าวความสิ้นอาสวะ ว่ามีได้สำหรับบุคคลผู้รู้อยู่ เห็นอยู่ (ชานโต ปสฺสโต), ไม่ใช่สำหรับผู้ไม่รู้อยู่ไม่เห็นอยู่. --ภิกษุ ท. ! รู้อยู่เห็นอยู่ซึ่งอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ความสิ้นอาสวะ ย่อมมีแก่ผู้รู้อยู่เห็นอยู่ ว่า “นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! #ความสิ้นอาสวะย่อมมีแก่ผู้รู้อยู่เห็นอยู่อย่างนี้ แล.- http://etipitaka.com/read/pali/25/310/?keywords=ชานโต+ปสฺสโต+อาสวานํ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. 25/243/282. http://etipitaka.com/read/thai/25/243/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. ๒๕/๓๐๙/๒๘๒. http://etipitaka.com/read/pali/25/309/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%92 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=1040 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90&id=1040 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=90 ลำดับสาธยายธรรม : 90 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_90.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ภาคสรุป ว่าด้วยข้อความสรุปท้ายเกี่ยวกับจตุราริยสัจ มีเรื่อง ๒๓ หัวข้อ
    -นิทเทศ ๒๒ ว่าด้วย ข้อความสรุปเรื่องมรรค จบ ภาค ๔ ว่าด้วยมัคคอริยสัจ ความจริงอันประเสริฐคือมรรค จบ คำชี้ชวนวิงวอน ภิกษุ ท. ! โยคกรรม อันเธอพึงกระทำ เพื่อให้รู้ว่า “นี้ทุกข์ นี้เหตุให้เกิดทุกข์ นี้ความดับสนิทแห่งทุกข์ นี้ทางให้ถึงความดับสนิทแห่งทุกข์.” เทสิตํ ดว มยา นิพฺพานํ เทสิโต นิพฺพานคามิมคฺโค นิพพาน เราได้แสดงแล้ว, ทางให้ถึงนิพพาน เราก็ได้แสดงแล้ว แก่เธอทั้งหลาย. กิจใด ที่ศาสดาผู้เอ็นดู แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล อาศัยความเอ็นดูแล้ว จะพึงทำแก่สาวกทั้งหลาย, กิจนั้น เราได้ทำแล้วแก่พวกเธอ. นั่น โคนไม้ ; นั่น เรือนว่าง. พวกเธอจงเพียรเผากิเลส, อย่าได้ประมาท, อย่าเป็นผู้ที่ต้องร้อนใจ ในภายหลังเลย. อยํ โว อมฺหากํ อนุสาสนี นี่แหละ วาจาเครื่องพร่ำสอนของเรา แก่เธอทั้งหลาย. (มหาวาร. สํ. - สฬา. สํ.) ภาคสรุป ว่าด้วย ข้อความสรุปท้ายเกี่ยวกับจตุราริยสัจ ภาคสรุป มีเรื่อง ๒๓ หัวข้อ : ๑. ความรู้ที่ทำให้สิ้นอาสวะ ๒. โอกาสแห่งโยคกรรมในการเห็นอริยสัจ บัดนี้ถึงพร้อมแล้ว ๓. การเรียนปริยัติ มิใช่การรู้อริยสัจ ๔. เห็นพระรัตนตรัยแท้จริง ก็ต่อเมื่อเห็นอริยสัจ และหลุดพ้นจากอาสวะแล้ว ๕. ปฏิบัติเพื่อรู้อริยสัจ ต้องเป็นธัมมาธิปไตย ๖. การแทงตลอดอริยสัจ เป็นงานละเอียดอ่อนยิ่งกว่าการแทงตลอดขนทราย ๗. การปฏิบัติอริยสัจ ไม่มีทางที่จะขัดต่อหลักกาลามสูตร ๘. บริษัทที่เกี่ยวกับอริยสัจ ๙. เมื่ออริยสัจสี่ ถูกแยกออกเป็นสองซีก ๑๐. หลักวิธีการศึกษาอริยสัจสี่ ใช้ได้กับหลักทั่วไป ๑๑. อริยสัจสี่ เป็นที่ตั้งแห่งการแสดงตัวของปัญญินทรีย์ ๑๒. อริยสัจสี่ เป็นวัตถุแห่งกิจของปัญญินทรีย์ ๑๓. เบญจพิธพรที่ทรงระบุไว้สำหรับภิกษุ ๑๔. การทำบุคคลให้รู้อริยสัจ จัดเป็นอนุศาสนีปาฏิหาริย์ ๑๕. อริยสัจ ทรงบัญญัติไว้ในกายที่ยังมีสัญญาและใจ ๑๖. อริยสัจ ทรงบัญญัติสำหรับสัตว์ที่อาจมีเวทนา ๑๗. เวทนา โดยปัจจัยสี่สิบเอ็ดชนิด ๑๘. ผู้รู้อริยสัจ ไม่จำเป็นต้องแตกฉานอภิธรรมและรวยลาภ ๑๙. จงกระทำเหตุทั้งภายในและภายนอก ๒๐. อัฏฐังคิกมรรค ในฐานะเพชรพลอยเม็ดหนึ่งแห่งพระศาสนา ๒๑. พระคุณของผู้ที่ทำให้รู้แจ้งอริยสัจสี่ ๒๒. ประมวลปัญหาอันจะพึงตอบเกี่ยวกับธรรมทั้งปวง ๒๓. การจบกิจแห่งอริยสัจ กำหนดด้วยความสมบูรณ์แห่งญาณสาม ภาคสรุป ว่าด้วย ข้อความสรุปท้ายเกี่ยวกับจตุราริยสัจ (มี ๒๓ หัวข้อ) ความรู้ที่ทำให้สิ้นอาสวะ ภิกษุ ท. ! เรากล่าวความสิ้นอาสวะ ว่ามีได้สำหรับบุคคลผู้รู้อยู่ เห็นอยู่ (ชานโต ปสฺสโต), ไม่ใช่สำหรับผู้ไม่รู้อยู่ไม่เห็นอยู่. ภิกษุ ท. ! รู้อยู่เห็นอยู่ซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ความสิ้นอาสวะ ย่อมมีแก่ผู้รู้อยู่เห็นอยู่ ว่า “นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! ความสิ้นอาสวะ ย่อมมีแก่ผู้รู้อยู่เห็นอยู่อย่างนี้แล.
    0 Comments 0 Shares 54 Views 0 Reviews