The Anatomy of Anxiety กายวิภาคศาสตร์ของความวิตกกังวล
หนังสือที่ตั้งใจเข้าไปอ่านเรื่องโครงสร้างความคิดของความวิตกกังวลแต่เมื่อเริ่มอ่านแล้วปรากฎว่าเป็นคุณหมอผู้เขียนหนังสือ ใช้ศาสตร์หลายศาสตร์ในการแก้ปัญหาความวิตกกังวล โดยเฉพาะการแก้ปัญหาด้วยการปรับสมดุลของร่างกายและอาหารการกิน!!!
เป็นหนังสือที่เซอร์ไพรสมากๆ และเป็นโอกาสอันดีที่ทำให้รู้สาเหตุของความวิตกกังวลในอีกแง่มุมหนึ่ง เนื่องจากคุณหมอผู้เขียนหนังสือเล่มนี้ เป็นจิตแพทย์แบบบูรณาการ แพทย์ฝังเข็ม และครูสอนโยคะ เธอมีคนไข้มากมายมาให้เธอรักษาทางด้านเจตเวชและรวมไปถึงคนไข้ที่รักษามาหลายที่แต่ก็ไม่หายซักที เธอใช้การปรับสมดุลทางร่างกายด้วยอาหารและสามารถรักษาคนไข้ได้สำเร็จจำนวนมาก
ผู้เขียนจำแนกความวิตกกังวลเป็นสองประเภท คือความวิตกกังวลจริง และความวิตกกังวลปลอม ความวิตกกังวลจริงคือความวิตกกังวลจากเหตุการณ์จริง เช่นสูญเสียญาติ เศร้าโศก เลิกรากับคนรัก เป็นต้น ส่วนวิตกกังวลปลอมเกิดจากความคิดไปเองกับสถานการณ์ต่างๆ เช่นการได้รับอีเมลจากเจ้านายว่าทำงานได้ไม่ดี ดังนั้นจิตใจเลยต้องการแสดงผลอธิบายความรู้สึกทางการได้
วิตกกังวลปลอมคือการที่ร่างกายสื่อสารว่ามีความไม่สมดุลทางร่างกาย โดยตอบสนองผ่านทางความเครียด ทำให้เกิดความรู้สึกไม่ถูกต้อง โดยความวิตกกังวลนี้มีอยู่ตลอดเวลาอยู่แล้วไม่ได้เกิดจากเรื่องราวต่างๆมากระทบจิตใจ แต่เกี่ยวกับสภาพสมดุลของร่างกาย ซึ่งเป็นเรื่องพื้นฐานทั่วๆไปเช่น นำตาลในเลือดต่ำหรือลำไส้อักเสบ นี่เป็นสิ่งที่ผู้เขียนสรุปมา
ผู้เขียนพบว่าความวิตกกังวลปลอม นอกจากสายสื่อประสาทโซโรโทนินแล้ว ยังมีสารสื่อประสาทอีกตัวหนึ่งที่ชื่อว่า GABA ซึ่งมีหน้าสที่เป็นสารเคมียับยั้งพื้นฐานขอบระบบประสาทส่วนกลางและยังมีบทบาทในเรื่องการทำให้เกิดความสงบ
ดังนั้นผู้เขียนจึงเน้นไปที่การปรับสมดุลของร่างกาย ในรูปแบบต่างๆ ที่ทำให้เกิดผลกระทบในการเกิดวิตกกังวลปลอม ซึ่งการปรับสมดุลโดยวิธีการพื้นฐานทั่วไป ได้แก่ การนอนให้เพียงพอ การรับแสงแดด การงดยาทางจิตเวชบางประเภท การลดแป้งและน้ำตาล การลดคาเฟอีน การรับปรทานอาหารที่มีประโยชน์ และการสร้างสติและสมาธิ
#TheAnatomyOfAnxiety #กายวิภาคศาสตร์ของความวิตกกังวล #รีวิวหนังสือ
หนังสือที่ตั้งใจเข้าไปอ่านเรื่องโครงสร้างความคิดของความวิตกกังวลแต่เมื่อเริ่มอ่านแล้วปรากฎว่าเป็นคุณหมอผู้เขียนหนังสือ ใช้ศาสตร์หลายศาสตร์ในการแก้ปัญหาความวิตกกังวล โดยเฉพาะการแก้ปัญหาด้วยการปรับสมดุลของร่างกายและอาหารการกิน!!!
เป็นหนังสือที่เซอร์ไพรสมากๆ และเป็นโอกาสอันดีที่ทำให้รู้สาเหตุของความวิตกกังวลในอีกแง่มุมหนึ่ง เนื่องจากคุณหมอผู้เขียนหนังสือเล่มนี้ เป็นจิตแพทย์แบบบูรณาการ แพทย์ฝังเข็ม และครูสอนโยคะ เธอมีคนไข้มากมายมาให้เธอรักษาทางด้านเจตเวชและรวมไปถึงคนไข้ที่รักษามาหลายที่แต่ก็ไม่หายซักที เธอใช้การปรับสมดุลทางร่างกายด้วยอาหารและสามารถรักษาคนไข้ได้สำเร็จจำนวนมาก
ผู้เขียนจำแนกความวิตกกังวลเป็นสองประเภท คือความวิตกกังวลจริง และความวิตกกังวลปลอม ความวิตกกังวลจริงคือความวิตกกังวลจากเหตุการณ์จริง เช่นสูญเสียญาติ เศร้าโศก เลิกรากับคนรัก เป็นต้น ส่วนวิตกกังวลปลอมเกิดจากความคิดไปเองกับสถานการณ์ต่างๆ เช่นการได้รับอีเมลจากเจ้านายว่าทำงานได้ไม่ดี ดังนั้นจิตใจเลยต้องการแสดงผลอธิบายความรู้สึกทางการได้
วิตกกังวลปลอมคือการที่ร่างกายสื่อสารว่ามีความไม่สมดุลทางร่างกาย โดยตอบสนองผ่านทางความเครียด ทำให้เกิดความรู้สึกไม่ถูกต้อง โดยความวิตกกังวลนี้มีอยู่ตลอดเวลาอยู่แล้วไม่ได้เกิดจากเรื่องราวต่างๆมากระทบจิตใจ แต่เกี่ยวกับสภาพสมดุลของร่างกาย ซึ่งเป็นเรื่องพื้นฐานทั่วๆไปเช่น นำตาลในเลือดต่ำหรือลำไส้อักเสบ นี่เป็นสิ่งที่ผู้เขียนสรุปมา
ผู้เขียนพบว่าความวิตกกังวลปลอม นอกจากสายสื่อประสาทโซโรโทนินแล้ว ยังมีสารสื่อประสาทอีกตัวหนึ่งที่ชื่อว่า GABA ซึ่งมีหน้าสที่เป็นสารเคมียับยั้งพื้นฐานขอบระบบประสาทส่วนกลางและยังมีบทบาทในเรื่องการทำให้เกิดความสงบ
ดังนั้นผู้เขียนจึงเน้นไปที่การปรับสมดุลของร่างกาย ในรูปแบบต่างๆ ที่ทำให้เกิดผลกระทบในการเกิดวิตกกังวลปลอม ซึ่งการปรับสมดุลโดยวิธีการพื้นฐานทั่วไป ได้แก่ การนอนให้เพียงพอ การรับแสงแดด การงดยาทางจิตเวชบางประเภท การลดแป้งและน้ำตาล การลดคาเฟอีน การรับปรทานอาหารที่มีประโยชน์ และการสร้างสติและสมาธิ
#TheAnatomyOfAnxiety #กายวิภาคศาสตร์ของความวิตกกังวล #รีวิวหนังสือ
The Anatomy of Anxiety กายวิภาคศาสตร์ของความวิตกกังวล
หนังสือที่ตั้งใจเข้าไปอ่านเรื่องโครงสร้างความคิดของความวิตกกังวลแต่เมื่อเริ่มอ่านแล้วปรากฎว่าเป็นคุณหมอผู้เขียนหนังสือ ใช้ศาสตร์หลายศาสตร์ในการแก้ปัญหาความวิตกกังวล โดยเฉพาะการแก้ปัญหาด้วยการปรับสมดุลของร่างกายและอาหารการกิน!!!
เป็นหนังสือที่เซอร์ไพรสมากๆ และเป็นโอกาสอันดีที่ทำให้รู้สาเหตุของความวิตกกังวลในอีกแง่มุมหนึ่ง เนื่องจากคุณหมอผู้เขียนหนังสือเล่มนี้ เป็นจิตแพทย์แบบบูรณาการ แพทย์ฝังเข็ม และครูสอนโยคะ เธอมีคนไข้มากมายมาให้เธอรักษาทางด้านเจตเวชและรวมไปถึงคนไข้ที่รักษามาหลายที่แต่ก็ไม่หายซักที เธอใช้การปรับสมดุลทางร่างกายด้วยอาหารและสามารถรักษาคนไข้ได้สำเร็จจำนวนมาก
ผู้เขียนจำแนกความวิตกกังวลเป็นสองประเภท คือความวิตกกังวลจริง และความวิตกกังวลปลอม ความวิตกกังวลจริงคือความวิตกกังวลจากเหตุการณ์จริง เช่นสูญเสียญาติ เศร้าโศก เลิกรากับคนรัก เป็นต้น ส่วนวิตกกังวลปลอมเกิดจากความคิดไปเองกับสถานการณ์ต่างๆ เช่นการได้รับอีเมลจากเจ้านายว่าทำงานได้ไม่ดี ดังนั้นจิตใจเลยต้องการแสดงผลอธิบายความรู้สึกทางการได้
วิตกกังวลปลอมคือการที่ร่างกายสื่อสารว่ามีความไม่สมดุลทางร่างกาย โดยตอบสนองผ่านทางความเครียด ทำให้เกิดความรู้สึกไม่ถูกต้อง โดยความวิตกกังวลนี้มีอยู่ตลอดเวลาอยู่แล้วไม่ได้เกิดจากเรื่องราวต่างๆมากระทบจิตใจ แต่เกี่ยวกับสภาพสมดุลของร่างกาย ซึ่งเป็นเรื่องพื้นฐานทั่วๆไปเช่น นำตาลในเลือดต่ำหรือลำไส้อักเสบ นี่เป็นสิ่งที่ผู้เขียนสรุปมา
ผู้เขียนพบว่าความวิตกกังวลปลอม นอกจากสายสื่อประสาทโซโรโทนินแล้ว ยังมีสารสื่อประสาทอีกตัวหนึ่งที่ชื่อว่า GABA ซึ่งมีหน้าสที่เป็นสารเคมียับยั้งพื้นฐานขอบระบบประสาทส่วนกลางและยังมีบทบาทในเรื่องการทำให้เกิดความสงบ
ดังนั้นผู้เขียนจึงเน้นไปที่การปรับสมดุลของร่างกาย ในรูปแบบต่างๆ ที่ทำให้เกิดผลกระทบในการเกิดวิตกกังวลปลอม ซึ่งการปรับสมดุลโดยวิธีการพื้นฐานทั่วไป ได้แก่ การนอนให้เพียงพอ การรับแสงแดด การงดยาทางจิตเวชบางประเภท การลดแป้งและน้ำตาล การลดคาเฟอีน การรับปรทานอาหารที่มีประโยชน์ และการสร้างสติและสมาธิ
#TheAnatomyOfAnxiety #กายวิภาคศาสตร์ของความวิตกกังวล #รีวิวหนังสือ
0 ความคิดเห็น
0 การแบ่งปัน
28 มุมมอง
0 รีวิว