อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษาลักษณะที่เป็นโอรัมภาคิยสังโยชน์
สัทธรรมลำดับที่ : 329
ชื่อบทธรรม :- ลักษณะที่เป็นโอรัมภาคิยสังโยชน์
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=329
เนื้อความทั้งหมด :-
--ลักษณะที่เป็นโอรัมภาคิยสังโยชน์
--“ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! บัดนี้
เป็นการอันสมควรที่พระผู้มีพระภาคจะพึงทรงแสดงโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้า.
ภิกษุทั้งหลายได้ฟังต่อพระผู้มีพระภาคแล้วจักทรงจำไว้.”
--อานนท์ ! ในกรณีนี้ บุถุชน ผู้ไม่มีการสดับ ไม่เห็นพระอริยเจ้า
ไม่ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า ไม่ได้รับการแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า,
ไม่เห็นสัปบุรุษ ไม่ฉลาดในธรรมของสัปบุรุษ ไม่ได้รับการแนะนำในธรรมของสัปบุรุษ :-
+--เขา มีจิตอัน สักกายทิฏฐิกลุ้มรุม แล้ว อันสักกายทิฏฐิห่อหุ้มแล้ว อยู่ ;
http://etipitaka.com/read/pali/13/156/?keywords=สกฺกายทิฏฺฐิ+ปริยุฏฺฐิเตน
+--เขา ไม่รู้ชัดตามเป็นจริงซึ่งอุบายเป็นเครื่องสลัดออกจากสักกายทิฏฐิอันเกิดขึ้นแล้ว,
สักกายทิฏฐินั้นก็เป็นของมีกำลัง จนเขานำออกไปไม่ได้ จึงเป็นโอรัมภาคิยสังโยชน์.

(ในกรณีแห่ง
๒.วิจิกิจฉา ๓.สีลัพพตปรามาส ๔.กามราคะและ ๕.พยาบาท (หรือปฏิฆะ)
ก็มีข้อความตรัสไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง ๑.สักกายทิฏฐิ ทุกประการ
).

--อานนท์ ! ส่วน อริยสาวกผู้มีการสดับ ได้เห็นพระอริยเจ้า
เป็นผู้ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า ได้รับการแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า,
ได้เห็นสัปบุรุษ เป็นผู้ฉลาดในธรรมของสัปบุรุษ ได้รับการแนะนำในธรรมของสัปบุรุษ :-
+--เธอมีจิตอัน สักกายทิฏฐิไม่กลุ้มรุม อันสักกายทิฏฐิไม่ห่อหุ้ม อยู่.
อริยสาวกนั้นย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริง
ซึ่งอุบายเป็นเครื่องสลัดออกจากสักกายทิฏฐิอันเกิดขึ้นแล้ว,
สักกายทิฏฐินั้น อันอริยสาวกนั้นย่อมละได้พร้อมทั้งอนุสัย.

(ในกรณีแห่ง วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส กามราคะ และพยาบาท (หรือปฏิฆะ)
http://etipitaka.com/read/pali/13/157/?keywords=สกฺกายทิฏฺฐิ+ปริยุฏฺฐิเตน
ก็มีข้อความตรัสไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง สักกายทิฏฐิทุกประการ).-

(การที่บุคคลละสักกายทิฏฐิเป็นต้นไม่ได้
จนเป็นธรรมชาติมีกำลังถึงกับเขานำออกไม่ได้
นั่นคือลักษณะแห่งความเป็นโอรัมภาคิยสังโยชน์.
รายละเอียดของสักกายทิฏฐิ
ดูได้ที่หัวข้อว่า “#สักกายทิฏฐิมีได้ด้วยอาการอย่างไร”
).

#ทุกขสมุทัย#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/124/155.
http://etipitaka.com/read/thai/13/124/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%95
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๑๕๖/๑๕๕.
http://etipitaka.com/read/pali/13/156/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%95
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=329
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=329
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22
ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
อริยสาวกพึง​ฝึกหัด​ศึกษาลักษณะที่เป็นโอรัมภาคิยสังโยชน์ สัทธรรมลำดับที่ : 329 ชื่อบทธรรม :- ลักษณะที่เป็นโอรัมภาคิยสังโยชน์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=329 เนื้อความทั้งหมด :- --ลักษณะที่เป็นโอรัมภาคิยสังโยชน์ --“ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! บัดนี้ เป็นการอันสมควรที่พระผู้มีพระภาคจะพึงทรงแสดงโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้า. ภิกษุทั้งหลายได้ฟังต่อพระผู้มีพระภาคแล้วจักทรงจำไว้.” --อานนท์ ! ในกรณีนี้ บุถุชน ผู้ไม่มีการสดับ ไม่เห็นพระอริยเจ้า ไม่ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า ไม่ได้รับการแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า, ไม่เห็นสัปบุรุษ ไม่ฉลาดในธรรมของสัปบุรุษ ไม่ได้รับการแนะนำในธรรมของสัปบุรุษ :- +--เขา มีจิตอัน สักกายทิฏฐิกลุ้มรุม แล้ว อันสักกายทิฏฐิห่อหุ้มแล้ว อยู่ ; http://etipitaka.com/read/pali/13/156/?keywords=สกฺกายทิฏฺฐิ+ปริยุฏฺฐิเตน +--เขา ไม่รู้ชัดตามเป็นจริงซึ่งอุบายเป็นเครื่องสลัดออกจากสักกายทิฏฐิอันเกิดขึ้นแล้ว, สักกายทิฏฐินั้นก็เป็นของมีกำลัง จนเขานำออกไปไม่ได้ จึงเป็นโอรัมภาคิยสังโยชน์. (ในกรณีแห่ง ๒.วิจิกิจฉา ๓.สีลัพพตปรามาส ๔.กามราคะและ ๕.พยาบาท (หรือปฏิฆะ) ก็มีข้อความตรัสไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง ๑.สักกายทิฏฐิ ทุกประการ ). --อานนท์ ! ส่วน อริยสาวกผู้มีการสดับ ได้เห็นพระอริยเจ้า เป็นผู้ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า ได้รับการแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า, ได้เห็นสัปบุรุษ เป็นผู้ฉลาดในธรรมของสัปบุรุษ ได้รับการแนะนำในธรรมของสัปบุรุษ :- +--เธอมีจิตอัน สักกายทิฏฐิไม่กลุ้มรุม อันสักกายทิฏฐิไม่ห่อหุ้ม อยู่. อริยสาวกนั้นย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริง ซึ่งอุบายเป็นเครื่องสลัดออกจากสักกายทิฏฐิอันเกิดขึ้นแล้ว, สักกายทิฏฐินั้น อันอริยสาวกนั้นย่อมละได้พร้อมทั้งอนุสัย. (ในกรณีแห่ง วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส กามราคะ และพยาบาท (หรือปฏิฆะ) http://etipitaka.com/read/pali/13/157/?keywords=สกฺกายทิฏฺฐิ+ปริยุฏฺฐิเตน ก็มีข้อความตรัสไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง สักกายทิฏฐิทุกประการ).- (การที่บุคคลละสักกายทิฏฐิเป็นต้นไม่ได้ จนเป็นธรรมชาติมีกำลังถึงกับเขานำออกไม่ได้ นั่นคือลักษณะแห่งความเป็นโอรัมภาคิยสังโยชน์. รายละเอียดของสักกายทิฏฐิ ดูได้ที่หัวข้อว่า “#สักกายทิฏฐิมีได้ด้วยอาการอย่างไร” ). #ทุกขสมุทัย​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/124/155. http://etipitaka.com/read/thai/13/124/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๑๕๖/๑๕๕. http://etipitaka.com/read/pali/13/156/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%95%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=329 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22&id=329 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=22 ลำดับสาธยายธรรม : 22 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_22.mp3
WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
- ลักษณะที่เป็นโอรัมภาคิยสังโยชน์
-ลักษณะที่เป็นโอรัมภาคิยสังโยชน์ “ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ! บัดนี้ เป็นการอันสมควรที่พระผู้มีพระภาคจะพึง ทรงแสดงโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้า. ภิกษุทั้งหลายได้ฟังต่อพระผู้มีพระภาคแล้วจักทรงจำไว้.” อานนท์ ! ในกรณีนี้ บุถุชน ผู้ไม่มีการสดับ ไม่เห็นพระอริยเจ้า ไม่ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า ไม่ได้รับการแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า, ไม่เห็นสัปบุรุษ ไม่ฉลาดในธรรมของสัปบุรุษ ไม่ได้รับการแนะนำในธรรมของสัปบุรุษ : เขามีจิตอัน สักกายทิฏฐิกลุ้มรุม แล้ว อันสักกายทิฏฐิห่อหุ้มแล้ว อยู่ ; เขา ไม่รู้ชัดตามเป็นจริงซึ่งอุบายเป็นเครื่องสลัดออกจากสักกายทิฏฐิอันเกิดขึ้นแล้ว, สักกายทิฏฐินั้นก็เป็นของมีกำลัง จนเขานำออกไปไม่ได้ จึงเป็นโอรัมภาคิยสังโยชน์. (ในกรณีแห่งวิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส กามราคะและ พยาบาท (หรือปฏิฆะ) ก็มีข้อความตรัสไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งสักกายทิฏฐิทุกประการ). อานนท์ ! ส่วน อริยสาวกผู้มีการสดับ ได้เห็นพระอริยเจ้า เป็นผู้ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า ได้รับการแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า, ได้ เห็นสัปบุรุษ เป็นผู้ฉลาดในธรรมของสัปบุรุษ ได้รับการแนะนำในธรรมของ สัปบุรุษ : เธอมีจิตอัน สักกายทิฏฐิไม่กลุ้มรุม อันสักกายทิฏฐิไม่ห่อหุ้ม อยู่. อริยสาวกนั้นย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริง ซึ่งอุบายเป็นเครื่องสลัดออกจากสักกายทิฏฐิอันเกิดขึ้นแล้ว, สักกายทิฏฐินั้น อันอริยสาวกนั้นย่อมละได้พร้อมทั้งอนุสัย. (ในกรณีแห่ง วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส กามราคะ และพยาบาท (หรือปฏิฆะ) ก็มีข้อความตรัสไว้อย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งสักกายทิฏฐิทุกประการ).
0 Comments 0 Shares 34 Views 0 Reviews