อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาลักษณะแห่งตัณหาสาม
สัทธรรมลำดับที่ : 250
ชื่อบทธรรม :- ลักษณะแห่งตัณหาสามคือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา.
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=250
เนื้อความทั้งหมด :-
--ตัณหาสามคือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา.
+--กามตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ
สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วย กามธาตุ : นี้ เรียกว่า #กามตัณหา.
+--ภวตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ
สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วย ภวทิฏฐิ : นี้ เรียกว่า #ภวตัณหา.
+--วิภวตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ
สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วย อุจเฉททิฏฐิ : นี้ เรียกว่า #วิภวตัณหา.
*---- นัย วิภงฺค. อภิธมฺ ๓๕/๔๙๕/๙๓๓-๔.
http://etipitaka.com/read/pali/35/494/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%93%E0%B9%93
+--ลักษณะแห่งกามตัณหา
--ภิกษุ ท. ! กามโยคะ (การประกอบอยู่ด้วยกาม) เป็นอย่างไรเล่า ?
--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมไม่รู้แจ้งชัด ตามที่เป็นจริง
ซึ่งความก่อขึ้น แห่ง กามทั้งหลาย
ซึ่งความดับไปแห่ง กามทั้งหลาย
ซึ่งรสอร่อยแห่ง กามทั้งหลาย
ซึ่งโทษแห่ง กามทั้งหลาย และ
ซึ่งอุบายเครื่องออกพ้นไปได้จาก กามทั้งหลาย.
--ภิกษุ ท. ! เมื่อเขาไม่รู้อยู่อย่างนั้น,
ความกำหนัดในกาม ความเพลินในกาม ความเสน่หาในกาม ความสยบในกาม
ความหิวกระหายในกาม ความเร่าร้อนเพราะกาม ความเมาหมกในกาม
และกามตัณหา ในกามทั้งหลายย่อมนอนเนื่องอยู่ในบุคคลนั้น.
--ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า #กามโยคะ,
ดังนี้แล.-
...
--ภิกษุ ท. ! ความพรากจากโยคะ ๔ ประการ นี้แล ฯ
สัตว์ทั้งหลายผู้ประกอบด้วยกามโยคะ ภวโยคะ ทิฏฐิโยคะและอวิชชาโยคะ
ย่อมเป็นผู้มีปรกติถึงชาติและมรณะ ไปสู่ สงสาร
+--ส่วนสัตว์เหล่าใด
กำหนดรู้กามทั้งหลายและภวโยคะโดยประการทั้งปวง
ถอนขึ้นซึ่งทิฏฐิโยคะ
และสำรอก อวิชชาเสียได้
+--สัตว์เหล่านั้นแล เป็นผู้พรากจากโยคะทั้งปวง
เป็นมุนีผู้ล่วงพ้นโยคะเสียได้ ฯ
#ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/9/10.
http://etipitaka.com/read/thai/21/9/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๓/๑๐.
http://etipitaka.com/read/pali/21/13/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=250
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=250
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
สัทธรรมลำดับที่ : 250
ชื่อบทธรรม :- ลักษณะแห่งตัณหาสามคือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา.
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=250
เนื้อความทั้งหมด :-
--ตัณหาสามคือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา.
+--กามตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ
สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วย กามธาตุ : นี้ เรียกว่า #กามตัณหา.
+--ภวตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ
สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วย ภวทิฏฐิ : นี้ เรียกว่า #ภวตัณหา.
+--วิภวตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ
สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วย อุจเฉททิฏฐิ : นี้ เรียกว่า #วิภวตัณหา.
*---- นัย วิภงฺค. อภิธมฺ ๓๕/๔๙๕/๙๓๓-๔.
http://etipitaka.com/read/pali/35/494/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%93%E0%B9%93
+--ลักษณะแห่งกามตัณหา
--ภิกษุ ท. ! กามโยคะ (การประกอบอยู่ด้วยกาม) เป็นอย่างไรเล่า ?
--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมไม่รู้แจ้งชัด ตามที่เป็นจริง
ซึ่งความก่อขึ้น แห่ง กามทั้งหลาย
ซึ่งความดับไปแห่ง กามทั้งหลาย
ซึ่งรสอร่อยแห่ง กามทั้งหลาย
ซึ่งโทษแห่ง กามทั้งหลาย และ
ซึ่งอุบายเครื่องออกพ้นไปได้จาก กามทั้งหลาย.
--ภิกษุ ท. ! เมื่อเขาไม่รู้อยู่อย่างนั้น,
ความกำหนัดในกาม ความเพลินในกาม ความเสน่หาในกาม ความสยบในกาม
ความหิวกระหายในกาม ความเร่าร้อนเพราะกาม ความเมาหมกในกาม
และกามตัณหา ในกามทั้งหลายย่อมนอนเนื่องอยู่ในบุคคลนั้น.
--ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า #กามโยคะ,
ดังนี้แล.-
...
--ภิกษุ ท. ! ความพรากจากโยคะ ๔ ประการ นี้แล ฯ
สัตว์ทั้งหลายผู้ประกอบด้วยกามโยคะ ภวโยคะ ทิฏฐิโยคะและอวิชชาโยคะ
ย่อมเป็นผู้มีปรกติถึงชาติและมรณะ ไปสู่ สงสาร
+--ส่วนสัตว์เหล่าใด
กำหนดรู้กามทั้งหลายและภวโยคะโดยประการทั้งปวง
ถอนขึ้นซึ่งทิฏฐิโยคะ
และสำรอก อวิชชาเสียได้
+--สัตว์เหล่านั้นแล เป็นผู้พรากจากโยคะทั้งปวง
เป็นมุนีผู้ล่วงพ้นโยคะเสียได้ ฯ
#ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/9/10.
http://etipitaka.com/read/thai/21/9/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๓/๑๐.
http://etipitaka.com/read/pali/21/13/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=250
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=250
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาลักษณะแห่งตัณหาสาม
สัทธรรมลำดับที่ : 250
ชื่อบทธรรม :- ลักษณะแห่งตัณหาสามคือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา.
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=250
เนื้อความทั้งหมด :-
--ตัณหาสามคือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา.
+--กามตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ
สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วย กามธาตุ : นี้ เรียกว่า #กามตัณหา.
+--ภวตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ
สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วย ภวทิฏฐิ : นี้ เรียกว่า #ภวตัณหา.
+--วิภวตัณหา เป็นอย่างไร ? คือ ราคะ สาราคะ ฯลฯ
สาราคะแห่งจิตที่ประกอบด้วย อุจเฉททิฏฐิ : นี้ เรียกว่า #วิภวตัณหา.
*---- นัย วิภงฺค. อภิธมฺ ๓๕/๔๙๕/๙๓๓-๔.
http://etipitaka.com/read/pali/35/494/?keywords=%E0%B9%99%E0%B9%93%E0%B9%93
+--ลักษณะแห่งกามตัณหา
--ภิกษุ ท. ! กามโยคะ (การประกอบอยู่ด้วยกาม) เป็นอย่างไรเล่า ?
--ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมไม่รู้แจ้งชัด ตามที่เป็นจริง
ซึ่งความก่อขึ้น แห่ง กามทั้งหลาย
ซึ่งความดับไปแห่ง กามทั้งหลาย
ซึ่งรสอร่อยแห่ง กามทั้งหลาย
ซึ่งโทษแห่ง กามทั้งหลาย และ
ซึ่งอุบายเครื่องออกพ้นไปได้จาก กามทั้งหลาย.
--ภิกษุ ท. ! เมื่อเขาไม่รู้อยู่อย่างนั้น,
ความกำหนัดในกาม ความเพลินในกาม ความเสน่หาในกาม ความสยบในกาม
ความหิวกระหายในกาม ความเร่าร้อนเพราะกาม ความเมาหมกในกาม
และกามตัณหา ในกามทั้งหลายย่อมนอนเนื่องอยู่ในบุคคลนั้น.
--ภิกษุ ท. ! นี้ เราเรียกว่า #กามโยคะ,
ดังนี้แล.-
...
--ภิกษุ ท. ! ความพรากจากโยคะ ๔ ประการ นี้แล ฯ
สัตว์ทั้งหลายผู้ประกอบด้วยกามโยคะ ภวโยคะ ทิฏฐิโยคะและอวิชชาโยคะ
ย่อมเป็นผู้มีปรกติถึงชาติและมรณะ ไปสู่ สงสาร
+--ส่วนสัตว์เหล่าใด
กำหนดรู้กามทั้งหลายและภวโยคะโดยประการทั้งปวง
ถอนขึ้นซึ่งทิฏฐิโยคะ
และสำรอก อวิชชาเสียได้
+--สัตว์เหล่านั้นแล เป็นผู้พรากจากโยคะทั้งปวง
เป็นมุนีผู้ล่วงพ้นโยคะเสียได้ ฯ
#ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. 21/9/10.
http://etipitaka.com/read/thai/21/9/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๓/๑๐.
http://etipitaka.com/read/pali/21/13/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%90
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=250
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17&id=250
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=17
ลำดับสาธยายธรรม : 17 ฟังเสียง...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_17.mp3
0 Comments
0 Shares
44 Views
0 Reviews