อริยสาวกพึงศึกษาว่าการแสดงลักษณะแห่งความทุกข์ (ขันธ์มาร) เป็นทุกขธรรม คือ มีทุกข์เป็นธรรมดา
สัทธรรมลำดับที่ : 220
ชื่อบทธรรม : - ทรงแสดงลักษณะแห่งความทุกข์ (มาร)
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=220
เนื้อความทั้งหมด :-
--ทรงแสดงลักษณะแห่งความทุกข์ (มาร)
--“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! คำว่า ‘ทุกข์ ๆ’ ดังนี้
เป็นคำที่เขากล่าวกันอยู่.
ทุกข์หรือการบัญญัติว่าทุกข์
พึงมีได้ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไร พระเจ้าข้า ?”
--สมิทธิ ! จักษุ รูป จักขุวิญญาณ (ตา​ รูปภาพ​ วิญญาณทางตา)​
ธรรมที่พึงรู้แจ้งด้วยจักขุวิญญาณมีอยู่ในที่ใด,
ทุกข์ หรือการบัญญัติว่าทุกข์ ย่อมมีอยู่ในที่นั้น.
http://etipitaka.com/read/pali/18/47/?keywords=จกฺขุ+มารปญฺญตฺติ

(ในกรณีแห่ง โสตะ(หู)​ ฆานะ(จมูก)​ ชิวหา(ลิ้น)​ กายะ(ผิวกาย)​ และ มนะ(ใจ)​
ก็ได้ตรัสไว้โดยข้อความมีลักษณะอย่างเดียวกันกับกรณีแห่งจักษุนี้
).-

#ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/37/72.
http://etipitaka.com/read/thai/18/37/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%94
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๔๗/๗๒.
http://etipitaka.com/read/pali/18/47/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%92
ศึกษาเพิ่มเติม...
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=220
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=220
หรือ
http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
อริยสาวกพึงศึกษาว่าการแสดงลักษณะแห่งความทุกข์ (ขันธ์มาร) เป็นทุกขธรรม คือ มีทุกข์เป็นธรรมดา สัทธรรมลำดับที่ : 220 ชื่อบทธรรม : - ทรงแสดงลักษณะแห่งความทุกข์ (มาร) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=220 เนื้อความทั้งหมด :- --ทรงแสดงลักษณะแห่งความทุกข์ (มาร) --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! คำว่า ‘ทุกข์ ๆ’ ดังนี้ เป็นคำที่เขากล่าวกันอยู่. ทุกข์หรือการบัญญัติว่าทุกข์ พึงมีได้ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไร พระเจ้าข้า ?” --สมิทธิ ! จักษุ รูป จักขุวิญญาณ (ตา​ รูปภาพ​ วิญญาณทางตา)​ ธรรมที่พึงรู้แจ้งด้วยจักขุวิญญาณมีอยู่ในที่ใด, ทุกข์ หรือการบัญญัติว่าทุกข์ ย่อมมีอยู่ในที่นั้น. http://etipitaka.com/read/pali/18/47/?keywords=จกฺขุ+มารปญฺญตฺติ (ในกรณีแห่ง โสตะ(หู)​ ฆานะ(จมูก)​ ชิวหา(ลิ้น)​ กายะ(ผิวกาย)​ และ มนะ(ใจ)​ ก็ได้ตรัสไว้โดยข้อความมีลักษณะอย่างเดียวกันกับกรณีแห่งจักษุนี้ ).- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/37/72. http://etipitaka.com/read/thai/18/37/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๔๗/๗๒. http://etipitaka.com/read/pali/18/47/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=220 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=220 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
- ทรงแสดงลักษณะแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง)
-(ในสูตรอื่น (๑๗/๒๔๐/๓๘๒) ได้ตรัสเรียกสิ่งที่เรียกว่าทุกข์ ว่า ทุกขธรรม คือ มีทุกข์เป็นธรรมดา). ทรงแสดงลักษณะแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) “ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! คำว่า ‘ทุกข์ ๆ’ ดังนี้ เป็นคำที่เขากล่าวกันอยู่. ทุกข์หรือการบัญญัติว่าทุกข์ พึงมีได้ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไร พระเจ้าข้า ?” สมิทธิ ! จักษุ รูป จักขุวิญญาณ ธรรมที่พึงรู้แจ้งด้วยจักขุวิญญาณมีอยู่ในที่ใด, ทุกข์ หรือการบัญญัติว่าทุกข์ ย่อมมีอยู่ในที่นั้น. (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และ มนะ ก็ได้ตรัสไว้โดยข้อความมีลักษณะอย่างเดียวกันกับกรณีแห่งจักษุนี้).
0 Comments 0 Shares 17 Views 0 Reviews