คิดออย่างนักสร้างจรวด Think Like A Rocket Scientist (2025/048)

สุดยอดนักคิดนักเขียนแนะนำให้อ่านหนังสือเล่มนี้ อดัม แกรท์ , บิล เกตส์ , ซูซาน เคน ,มัลคอล์ม แลดเวลล์ และ แดเนียล เอช. พิงค์ แต่น่าเสียดายที่หนังสือไม่ดูไม่เป็นที่รู้จักมากนัก หนังสือเล่มนี้มีดีและว้าว ด้วยทั้งเนื้อหาที่เราไม่เคยรู้รายละเอียดมาก่อน(การสร้างจรวด) และการเขียนที่มีความลื่นไหล อ่านสนุก และมีความเรื่องทางจิตวิทยาพัฒนาตัวเอง ผู้เขียนอยากให้มุมมองในการเปลี่ยนความคิดเพื่อสร้างชีวิตที่ดีขึ้น ด้วยหลักการสร้างจรวดเนื่องจากการสร้างจรวดไปสำรวจดวงจันทร์หรือดางอังคารเป็นการสร้างโดยที่เริ่มจากศูนย์ ไม่รู้สภาพแวดล้อม และทุกเรื่องคิดใหม่ทำใหม่ทั้งหมด!!!

ผู้เขียนเคยอยู่ในทีมการสร้างยานสำรวจ โดยอยู่ในส่วนการนำยานสำรวจร่อนจอดลงที่พื้นผิวดาวอังคารขององกรค์นาซ่า เขาเป็นคนตรกีที่มีความฝันที่อยากสร้างจรวดจนได้มีโอกาสไปเรียนและอยู่ในทีมที่ช่วยกันคิดวิธีและแก้ไขปัญหา ต่อมาเขาได้ออกจากงานสร้างจรวด และเข้าไปเรียนกฎหมายจนจบที่หนึ่งในมหาวิทยาลัย และทำอาชีพเป็นอาจารย์สอนกฎหมายอยู่พักใหญ่ หลังจากนั้นเขาผันตัวเองมาเป็นนักพูด นักคิด นักเขียน โอนเน้นเรื่องการพัฒนาตนเองจากหลักการสร้างจรวด

การสร้างจรวดมีความสำคัญสำหรับแนวคิดที่นอกจากเป็นวิทยาศาสตร์แล้วยังเกี่ยวกับเรื่องทางจิตวิทยาและอคติต่างด้วย เมื่อ กันยายน ปี 1962 ประธานาธิปดี จอห์น เอฟ. เคเนดี ประกาศว่าจะส่งมนุษย์ไปเหยียบดวงจันทร์ให้ได้ภายใน 10 ปี โดยที่ไม่มีพื้นฐาน ไม่มีความรู้ และไม่มีคนที่พร้อมจะทำงานในเรื่องนี้ แต่ปรากฎว่าพวกเขาทำสำเร็จก่อนจะถึงเวลา 10ปี เป็นการระดมความคิด เงินทุน และการร่วมมือจากหลายๆส่วน เนื้อหาสอดแทรกในส่วนที่มีการสร้างจรวดตั้งแต่การหาวัสดุ การคำนวน ความเสี่ยง ความล้มเหลว ความผิดหวัง ความผิดพลาด รวมไปถึงนักสำรวจอาวกาศ ซึ่งเป็นเรื่องที่ไม่เคยรู้มาก่อน

ผู้เขียนเชื่อมโยงเรื่องการสร้างจรวด เพื่อต้องการที่จะวางแนวคิดให้ผู้อ่านคิดในแบบการสร้างจรวด ซึ่งเป็นการคิดนอกกรอบมากๆ การที่ต้องล้มแนวความคิดดั้งเดิม การที่ต้องขัดแยังกับผู้ที่ยึดติดความคิดเดิมไม่ยอมเปลี่ยนแปลง ในบทแรกผู้เขียนเจาะลึกไปที่ปัญหาการยึดติดผลลัพธ์ทางวิทยาศาสตร์ซึ่งได้รับการพิสูจน์แล้ว แต่เขากลับคิดว่าผลลัพธ์ไม่ได้สำเท่ากับ แนวคิดและการตั้งคำถามก่อนที่จะนำมาสู่ผลลัพธ์ ทั้งนี้รวมไปถึงในระหว่างการค้นหาผลลัพธ์ที่กว่าจะได้บทสรุปนั้น ได้ผ่านวิธีการอะไรบ้างลองผิดลองถูกมาแบบไหน และเขายังแจ้งว่าถึงแม้ว่าจะได้ผลลัพธ์ทางวิทยาศาสตร์นั้นแล้ว ก็ไม่ได้หมายความว่ามันจะถูกต้องสมบูรณ์ไปตลอดกาล เพราะถ้าหากมีคนคิดค้นและพิสูจน์ทฤษฎีใหม่ขึ้นมาได้ ผลลัพธ์ที่ใช้กับตอนแรกก็ต้องถูกแทนที่ ยกตัวอย่างในเรื่องทฤษฎ์อะตอมที่ภายหลังพวกเรารู้กันว่าที่จริงมันมีการเคลื่อนไหวในรู้แบบของควันตัม

นอกจากนี้ผู้เขียนยังเสริมสร้างแนวคิดในเรื่องการกล้าทดลองสิ่งใหม่ๆ การจัดการความเสี่ยงที่เกิดขึ้น และมุมมองต่อความล้มเหลว(ซึ่งต้องเกิดขึ้นกับทุกคน) โดยการเชื่อมโยงกับวิทยาศาสตร์การสร้างจรวด จากอดีตขององกร์นาซา ไปจนถึงการสร้างจรวดของเอกชนผ่าน สเปซเอ็กซ์ และโครงการเอ็กซ์ของอเมซอน

หนังสือเล่มนี้เป็นหนังสือที่ดีมาก เปลี่ยนแปลงมุมมองและแนวคิดให้ผู้อ่าน เพื่อที่จะหลุดพ้นสิ่งเดิมและสร้างสิ่งใหม่อย่างมั่นคง เสียดายที่หนังสือไม่ได้รับการตอบรับเท่าที่ควร

#คิดออย่างนักสร้างจรวด #ThinkLikeARocketScientist #รีวิวหนังสือ
คิดออย่างนักสร้างจรวด Think Like A Rocket Scientist (2025/048) สุดยอดนักคิดนักเขียนแนะนำให้อ่านหนังสือเล่มนี้ อดัม แกรท์ , บิล เกตส์ , ซูซาน เคน ,มัลคอล์ม แลดเวลล์ และ แดเนียล เอช. พิงค์ แต่น่าเสียดายที่หนังสือไม่ดูไม่เป็นที่รู้จักมากนัก หนังสือเล่มนี้มีดีและว้าว ด้วยทั้งเนื้อหาที่เราไม่เคยรู้รายละเอียดมาก่อน(การสร้างจรวด) และการเขียนที่มีความลื่นไหล อ่านสนุก และมีความเรื่องทางจิตวิทยาพัฒนาตัวเอง ผู้เขียนอยากให้มุมมองในการเปลี่ยนความคิดเพื่อสร้างชีวิตที่ดีขึ้น ด้วยหลักการสร้างจรวดเนื่องจากการสร้างจรวดไปสำรวจดวงจันทร์หรือดางอังคารเป็นการสร้างโดยที่เริ่มจากศูนย์ ไม่รู้สภาพแวดล้อม และทุกเรื่องคิดใหม่ทำใหม่ทั้งหมด!!! ผู้เขียนเคยอยู่ในทีมการสร้างยานสำรวจ โดยอยู่ในส่วนการนำยานสำรวจร่อนจอดลงที่พื้นผิวดาวอังคารขององกรค์นาซ่า เขาเป็นคนตรกีที่มีความฝันที่อยากสร้างจรวดจนได้มีโอกาสไปเรียนและอยู่ในทีมที่ช่วยกันคิดวิธีและแก้ไขปัญหา ต่อมาเขาได้ออกจากงานสร้างจรวด และเข้าไปเรียนกฎหมายจนจบที่หนึ่งในมหาวิทยาลัย และทำอาชีพเป็นอาจารย์สอนกฎหมายอยู่พักใหญ่ หลังจากนั้นเขาผันตัวเองมาเป็นนักพูด นักคิด นักเขียน โอนเน้นเรื่องการพัฒนาตนเองจากหลักการสร้างจรวด การสร้างจรวดมีความสำคัญสำหรับแนวคิดที่นอกจากเป็นวิทยาศาสตร์แล้วยังเกี่ยวกับเรื่องทางจิตวิทยาและอคติต่างด้วย เมื่อ กันยายน ปี 1962 ประธานาธิปดี จอห์น เอฟ. เคเนดี ประกาศว่าจะส่งมนุษย์ไปเหยียบดวงจันทร์ให้ได้ภายใน 10 ปี โดยที่ไม่มีพื้นฐาน ไม่มีความรู้ และไม่มีคนที่พร้อมจะทำงานในเรื่องนี้ แต่ปรากฎว่าพวกเขาทำสำเร็จก่อนจะถึงเวลา 10ปี เป็นการระดมความคิด เงินทุน และการร่วมมือจากหลายๆส่วน เนื้อหาสอดแทรกในส่วนที่มีการสร้างจรวดตั้งแต่การหาวัสดุ การคำนวน ความเสี่ยง ความล้มเหลว ความผิดหวัง ความผิดพลาด รวมไปถึงนักสำรวจอาวกาศ ซึ่งเป็นเรื่องที่ไม่เคยรู้มาก่อน ผู้เขียนเชื่อมโยงเรื่องการสร้างจรวด เพื่อต้องการที่จะวางแนวคิดให้ผู้อ่านคิดในแบบการสร้างจรวด ซึ่งเป็นการคิดนอกกรอบมากๆ การที่ต้องล้มแนวความคิดดั้งเดิม การที่ต้องขัดแยังกับผู้ที่ยึดติดความคิดเดิมไม่ยอมเปลี่ยนแปลง ในบทแรกผู้เขียนเจาะลึกไปที่ปัญหาการยึดติดผลลัพธ์ทางวิทยาศาสตร์ซึ่งได้รับการพิสูจน์แล้ว แต่เขากลับคิดว่าผลลัพธ์ไม่ได้สำเท่ากับ แนวคิดและการตั้งคำถามก่อนที่จะนำมาสู่ผลลัพธ์ ทั้งนี้รวมไปถึงในระหว่างการค้นหาผลลัพธ์ที่กว่าจะได้บทสรุปนั้น ได้ผ่านวิธีการอะไรบ้างลองผิดลองถูกมาแบบไหน และเขายังแจ้งว่าถึงแม้ว่าจะได้ผลลัพธ์ทางวิทยาศาสตร์นั้นแล้ว ก็ไม่ได้หมายความว่ามันจะถูกต้องสมบูรณ์ไปตลอดกาล เพราะถ้าหากมีคนคิดค้นและพิสูจน์ทฤษฎีใหม่ขึ้นมาได้ ผลลัพธ์ที่ใช้กับตอนแรกก็ต้องถูกแทนที่ ยกตัวอย่างในเรื่องทฤษฎ์อะตอมที่ภายหลังพวกเรารู้กันว่าที่จริงมันมีการเคลื่อนไหวในรู้แบบของควันตัม นอกจากนี้ผู้เขียนยังเสริมสร้างแนวคิดในเรื่องการกล้าทดลองสิ่งใหม่ๆ การจัดการความเสี่ยงที่เกิดขึ้น และมุมมองต่อความล้มเหลว(ซึ่งต้องเกิดขึ้นกับทุกคน) โดยการเชื่อมโยงกับวิทยาศาสตร์การสร้างจรวด จากอดีตขององกร์นาซา ไปจนถึงการสร้างจรวดของเอกชนผ่าน สเปซเอ็กซ์ และโครงการเอ็กซ์ของอเมซอน หนังสือเล่มนี้เป็นหนังสือที่ดีมาก เปลี่ยนแปลงมุมมองและแนวคิดให้ผู้อ่าน เพื่อที่จะหลุดพ้นสิ่งเดิมและสร้างสิ่งใหม่อย่างมั่นคง เสียดายที่หนังสือไม่ได้รับการตอบรับเท่าที่ควร #คิดออย่างนักสร้างจรวด #ThinkLikeARocketScientist #รีวิวหนังสือ
0 Comments 0 Shares 4 Views 0 Reviews