แค่เขียน TO-DO List ชีวิตก็ดีขึ้น To-Do List Formula (2025/033) หนังสือยืม
หนังสือผู้ที่หลงไหลในเรื่อง Productivity ในการทำงานและหนึ่งในเรื่องที่ผู้เขียนเน้นมากคือการทำ To-Do List (งานที่ต้องทำ) ซึ่งเป็นการบริหารเวลาและการทำงานให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุด และที่สำคัญตัวผู้เขียนเน้นเรื่องการทำงานโดยไม่มีความเครียด ซึ่งผู้เขียนรวบรวมประสบการณ์ในการทำงานและศึกษาเรื่อง To-Do List จนปรุโปร่ง ดังนั้นหนังสือเล่มนี้จึงมีเทคนิคในการเขียน To-Do List มากมายแต่ที่สำคัญผู้เขียนเน้นไปที่การเลือกเทคนิคที่เหมาะสมกับแต่ละบุคคลและลักษณะงาน
อย่างที่กล่าวไว้ข้างต้น ผู้เขียนเน้นเรื่องการทำ To-Do List ที่เป็นแบบเฉพาะบุคคลไม่มีแบบไหนที่ดี 100% เขาจึงแจกแจงเทคนิคในการเขียน To-Do List ไว้หลากหลายและอธิบายข้อดีข้อเสียของแต่ละวิธี และในท้ายเล่มเขาพยายามจัดการนำเอาเทคนิคทั้งหลายมาใช้ เพื่อการทำ To-Do List ของเขาให้ใช้งานได้ดีและเหมาะสม
10 เทคนิคในการเขียน To-Do List ที่ผู้เขียนนำมาใช้ได้แก่
1.ก้อนใหญ่ รายการที่รวมทุกอย่างไว้ด้วยกัน
2.รายการที่ระบุ งาน + วันเริ่ม+วันกำหนดส่ง
3.รายการสองเทคนิคสำคัญ รายการที่ต้องทำหลัก+รายการงานประจำวัน
4.กลยุทธ์ 3 + 2
5. กฎ 1-3-5
6. ระบบจัดการงานตามโปรเจกต์
7. วิธีการ 3 MIT (Most Important Task)
8. วิธีคัมบัง
9.ระบบจัดการแบบเมทริกซ์
10.Getting Thing Done (GTD)
ระบบ GTD เป็นระบบที่น่าสนใจเป็นพิเศษ เนื่องจากคนคิดระบบนี้เขารวบรวมปัญหาต่างๆจนสร้างระบบดีขึ้นมา ถึงแม้ว่าระบบนี้จะคิดจนสำเร็จมาแล้วแต่ก็ยังมีจุดที่ต้องปรับปรุงอยู่ดีเนื่องจากไม่ได้เหมาะกับทุกสถานการณ์ของงานแต่ละงาน
ดังนั้นผู้เขียนจึงนำเสนอการทำ To-Do List ในแบบที่นำจุดเด่นของแต่ละเทคนิคมาใช้กับแต่ละสถานะการณ์ เช่น การแยกงานปัจจุบันกับอนาคต , การกำหนดเป้าหมาย , การแตกงานออกเป็นงานย่อย , มีกำหนดเวลาที่งานเสร็จสิ้น , คัดงานปัจจุบันให้มีเพียง 7 อย่าง , ถ้าเป็นงานโปรเจกต์ควรแยกออกมาโดยระบุขั้นตอนและสถานที่ , ตัดงานที่ไม่จำเป็นออก , ประเมินผลงาน , เริ่มต้นชื่องานด้วยคำกริยา และระบุว่างานไหนต้องการความช่วยเหลือจากผู้อื่น
การได้อ่านหนังสือเล่มนี้ ทำให้เห็นความสำคัญและประโยชน์ของการทำ To-Do List รวมไปถึงได้เทคนิคในการทำ To-Do List เพื่อมุ่งให้งานที่ทำสำเร็จได้ตามเวลาและมีประสิทธิภาพ
#รีวิวหนังสือ #แค่เขียนToDoListชีวิตก็ดีขึ้น #ToDoListFormula
หนังสือผู้ที่หลงไหลในเรื่อง Productivity ในการทำงานและหนึ่งในเรื่องที่ผู้เขียนเน้นมากคือการทำ To-Do List (งานที่ต้องทำ) ซึ่งเป็นการบริหารเวลาและการทำงานให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุด และที่สำคัญตัวผู้เขียนเน้นเรื่องการทำงานโดยไม่มีความเครียด ซึ่งผู้เขียนรวบรวมประสบการณ์ในการทำงานและศึกษาเรื่อง To-Do List จนปรุโปร่ง ดังนั้นหนังสือเล่มนี้จึงมีเทคนิคในการเขียน To-Do List มากมายแต่ที่สำคัญผู้เขียนเน้นไปที่การเลือกเทคนิคที่เหมาะสมกับแต่ละบุคคลและลักษณะงาน
อย่างที่กล่าวไว้ข้างต้น ผู้เขียนเน้นเรื่องการทำ To-Do List ที่เป็นแบบเฉพาะบุคคลไม่มีแบบไหนที่ดี 100% เขาจึงแจกแจงเทคนิคในการเขียน To-Do List ไว้หลากหลายและอธิบายข้อดีข้อเสียของแต่ละวิธี และในท้ายเล่มเขาพยายามจัดการนำเอาเทคนิคทั้งหลายมาใช้ เพื่อการทำ To-Do List ของเขาให้ใช้งานได้ดีและเหมาะสม
10 เทคนิคในการเขียน To-Do List ที่ผู้เขียนนำมาใช้ได้แก่
1.ก้อนใหญ่ รายการที่รวมทุกอย่างไว้ด้วยกัน
2.รายการที่ระบุ งาน + วันเริ่ม+วันกำหนดส่ง
3.รายการสองเทคนิคสำคัญ รายการที่ต้องทำหลัก+รายการงานประจำวัน
4.กลยุทธ์ 3 + 2
5. กฎ 1-3-5
6. ระบบจัดการงานตามโปรเจกต์
7. วิธีการ 3 MIT (Most Important Task)
8. วิธีคัมบัง
9.ระบบจัดการแบบเมทริกซ์
10.Getting Thing Done (GTD)
ระบบ GTD เป็นระบบที่น่าสนใจเป็นพิเศษ เนื่องจากคนคิดระบบนี้เขารวบรวมปัญหาต่างๆจนสร้างระบบดีขึ้นมา ถึงแม้ว่าระบบนี้จะคิดจนสำเร็จมาแล้วแต่ก็ยังมีจุดที่ต้องปรับปรุงอยู่ดีเนื่องจากไม่ได้เหมาะกับทุกสถานการณ์ของงานแต่ละงาน
ดังนั้นผู้เขียนจึงนำเสนอการทำ To-Do List ในแบบที่นำจุดเด่นของแต่ละเทคนิคมาใช้กับแต่ละสถานะการณ์ เช่น การแยกงานปัจจุบันกับอนาคต , การกำหนดเป้าหมาย , การแตกงานออกเป็นงานย่อย , มีกำหนดเวลาที่งานเสร็จสิ้น , คัดงานปัจจุบันให้มีเพียง 7 อย่าง , ถ้าเป็นงานโปรเจกต์ควรแยกออกมาโดยระบุขั้นตอนและสถานที่ , ตัดงานที่ไม่จำเป็นออก , ประเมินผลงาน , เริ่มต้นชื่องานด้วยคำกริยา และระบุว่างานไหนต้องการความช่วยเหลือจากผู้อื่น
การได้อ่านหนังสือเล่มนี้ ทำให้เห็นความสำคัญและประโยชน์ของการทำ To-Do List รวมไปถึงได้เทคนิคในการทำ To-Do List เพื่อมุ่งให้งานที่ทำสำเร็จได้ตามเวลาและมีประสิทธิภาพ
#รีวิวหนังสือ #แค่เขียนToDoListชีวิตก็ดีขึ้น #ToDoListFormula
แค่เขียน TO-DO List ชีวิตก็ดีขึ้น To-Do List Formula (2025/033) หนังสือยืม
หนังสือผู้ที่หลงไหลในเรื่อง Productivity ในการทำงานและหนึ่งในเรื่องที่ผู้เขียนเน้นมากคือการทำ To-Do List (งานที่ต้องทำ) ซึ่งเป็นการบริหารเวลาและการทำงานให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุด และที่สำคัญตัวผู้เขียนเน้นเรื่องการทำงานโดยไม่มีความเครียด ซึ่งผู้เขียนรวบรวมประสบการณ์ในการทำงานและศึกษาเรื่อง To-Do List จนปรุโปร่ง ดังนั้นหนังสือเล่มนี้จึงมีเทคนิคในการเขียน To-Do List มากมายแต่ที่สำคัญผู้เขียนเน้นไปที่การเลือกเทคนิคที่เหมาะสมกับแต่ละบุคคลและลักษณะงาน
อย่างที่กล่าวไว้ข้างต้น ผู้เขียนเน้นเรื่องการทำ To-Do List ที่เป็นแบบเฉพาะบุคคลไม่มีแบบไหนที่ดี 100% เขาจึงแจกแจงเทคนิคในการเขียน To-Do List ไว้หลากหลายและอธิบายข้อดีข้อเสียของแต่ละวิธี และในท้ายเล่มเขาพยายามจัดการนำเอาเทคนิคทั้งหลายมาใช้ เพื่อการทำ To-Do List ของเขาให้ใช้งานได้ดีและเหมาะสม
10 เทคนิคในการเขียน To-Do List ที่ผู้เขียนนำมาใช้ได้แก่
1.ก้อนใหญ่ รายการที่รวมทุกอย่างไว้ด้วยกัน
2.รายการที่ระบุ งาน + วันเริ่ม+วันกำหนดส่ง
3.รายการสองเทคนิคสำคัญ รายการที่ต้องทำหลัก+รายการงานประจำวัน
4.กลยุทธ์ 3 + 2
5. กฎ 1-3-5
6. ระบบจัดการงานตามโปรเจกต์
7. วิธีการ 3 MIT (Most Important Task)
8. วิธีคัมบัง
9.ระบบจัดการแบบเมทริกซ์
10.Getting Thing Done (GTD)
ระบบ GTD เป็นระบบที่น่าสนใจเป็นพิเศษ เนื่องจากคนคิดระบบนี้เขารวบรวมปัญหาต่างๆจนสร้างระบบดีขึ้นมา ถึงแม้ว่าระบบนี้จะคิดจนสำเร็จมาแล้วแต่ก็ยังมีจุดที่ต้องปรับปรุงอยู่ดีเนื่องจากไม่ได้เหมาะกับทุกสถานการณ์ของงานแต่ละงาน
ดังนั้นผู้เขียนจึงนำเสนอการทำ To-Do List ในแบบที่นำจุดเด่นของแต่ละเทคนิคมาใช้กับแต่ละสถานะการณ์ เช่น การแยกงานปัจจุบันกับอนาคต , การกำหนดเป้าหมาย , การแตกงานออกเป็นงานย่อย , มีกำหนดเวลาที่งานเสร็จสิ้น , คัดงานปัจจุบันให้มีเพียง 7 อย่าง , ถ้าเป็นงานโปรเจกต์ควรแยกออกมาโดยระบุขั้นตอนและสถานที่ , ตัดงานที่ไม่จำเป็นออก , ประเมินผลงาน , เริ่มต้นชื่องานด้วยคำกริยา และระบุว่างานไหนต้องการความช่วยเหลือจากผู้อื่น
การได้อ่านหนังสือเล่มนี้ ทำให้เห็นความสำคัญและประโยชน์ของการทำ To-Do List รวมไปถึงได้เทคนิคในการทำ To-Do List เพื่อมุ่งให้งานที่ทำสำเร็จได้ตามเวลาและมีประสิทธิภาพ
#รีวิวหนังสือ #แค่เขียนToDoListชีวิตก็ดีขึ้น #ToDoListFormula
0 Comments
0 Shares
12 Views
0 Reviews