Quit ศาสตร์แห่งการตัดสินใจ เมื่อไหร่ควรยอมยกธง (2025/26)
นักเขียนสาวที่ผันตัวเองจากที่ตั้งใจจะเป็นนักวิชาการ แต่ต้องมีเหตุจำเป็นให้ต้องเลี้ยงชีพด้วยอาชีพนักโป๊กเกอร์ เธอทำงานในการเล่นโป๊กเกอร์ได้มากกว่า 4ล้านดอลลาร์สหรัฐ และเธอใช้หลักการ”หมอบ” ในการเล่นโป๊กเกอร์ มาเขียนหนังสือในการจับจุดสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตจริงเพื่อที่จะล้มเลิกก่อนที่จะสายเกินไป เธอทำให้เห็นว่าการล้มเลิกไม่ใช้เรื่องเสียหายแต่บางทีกลับได้ผลดีกว่า มาหาวิธีล้มเลิกกับเรื่องห่วยๆที่จะเกิดขึ้นในชีวิตกันครับ
เปิดเนื้อหาด้วยเรื่องเล่าชีวิตของนักชกระดับตำนานในรุ่นเฮฟวี่ มูฮัมหมัด อาลี ที่ต้องถูกยึดเข็มขัดแชมป์ในปี 1967 หลังกจากปฎิเสธการเข้าร่วมรบในสงคราวเวียดนาม และถูกตัดสิทธิ์ขึ้นชกสามปีครึ่ง หลังจากนั้นกว่าเขาจะกลับมาชกมวยได้เหมือนเดิมต้องใช้เวลาหลังจากนั้นอีกสี่ปี และในเดือน ต.ค. 1974 มูฮัมหมัด อาลี ทวงตำแหน่งแชมป์คืนจากจอร์จ โฟรืแมน ซึ่งขณะนั้นมูฮัมหมัดอายุ 33ปี เขากลายเป็นตัวอย่างของบุคคลที่มีความอุตสาหะไม่ยอมแพ้ เขายังคงชกต่อไปอีกเจ็ดปี ทั้งๆที่เขาควรจะยุติชีวิตการชกมวยหลังจากได้แชมป์สามปี เพราะว่าอาลีมีสัญญาณในเรื่องสุขภาพที่ย่ำแย่จาการชกมวย ในที่สุดเขาถูกวินิจฉัยว่าเป็นโรคพาร์กินสันในปี 1984 …. การยืนหยัดต่อสู้ไม่ใช่ผลดีเสมอไป
นอกจากเคส มูฮัมหมัด อาลีแล้ว ยังมีเคสอื่นๆอีกมากที่ผู้เขียนหนังสือยกมาเป็นตัวอย่าง เช่น การตัดสินใจขึ้นหรือยุติการขึ้นยอดเขาเอเวอร์เรสในวันสุดท้าย , การวิเคราะห์ทิศทางของนักธุรกิจ , นักบัลเล่ต์เหรียญทองโอลิมปิก , การตัดสินใจทางการทหาร , นักวิ่งมาราธอนและอื่นๆอีกมากมาย ซึ่งเป็นเคสที่ตัดสินใจที่เลิกล้มไปก่อนถึงจุดหมาย หรือดันทุรังไปจนเกิดความเสียหาย
เป็นเรื่องแปลกที่ว่า เวลาที่เราล้มเลิกเรื่องอะไรสักอย่างมักจะช้าเกินไปและเกิดความเสียหายใหญ่หลวงแล้ว แล้วอะไรทำให้เกิดความเสียหายจากการดันทุรังนี้ ผู้เขียนระบุว่าเป็นเรื่องของอคติล้วนๆ เช่น การที่เราได้ทำอะไรบางอย่างมาแล้วและคิดว่าได้ทำมามากเกินกว่าจะยกเลิก , การไม่ฟังคำทักท้วง , ยึดติดกับตำแหน่งชื่อเสียง , ยึดติดกับเป้าหมาย เป็นต้น
สาเหตุหนึ่งที่เป็นปัญหาในการยกเลิกคือ การยึดที่เป้าหมายที่ว่าทำได้ถึงสำเร็จ แต่ถ้าทำไม่ได้คือล้มเหลว ยกตัวอย่างการปีนเขาไปถึงยอดเขาเอฟเวอร์เรสในวันสุดท้ายที่อีกเพียงไม่กี่ชั่วโมงก็ถึงยอดเขาแล้วแต่ถ้ามีเหตุจำเป็นที่ต้องล้มเลิก การคิดว่าเป้าหมายคือความสำเร็จการไม่ถึงยอดเขาก็คงถือว่าล้มเหลว แต่ถ้าคิดให้ดีแล้วการรักษาชีวิตควรเป็นเป้าหมายที่แท้จริงต่างหาก ดังนั้นจึงไม่ควรยึดที่เป้าหมายแต่ควรยึดความสำเร็จที่เกิดขึ้นระหว่างทางด้วย และควรคิดว่าการยกเลิกไม่ใช่ความล้มเหลว
เธอให้คำแนะนำว่า ในการตั้งเป้าหมายในครั้งแรกควรมีทางเลือกสำรองเสมอและควรยึดหลักการนี้อย่างเคร่งครัด และควรมีเงื่อนไขในการตัดสินใจเช่นฉันจะทำเป้าหมาย A ก็ต่อเมื่อมีเหตุการณ์ B เกิดขึ้นมาแล้วเท่านั้น
ผู้เขียนฝากคำพูดนี้ถึงทุกคนว่า “เมื่อโลกเปลี่ยน เป้าหมายที่เคยตั้งไว้ควรเปลี่ยนไปด้วย”
#Quit #ศาสตร์แห่งการตัดสินใจเมื่อไหร่ควรยอมยกธง #รีวิวหนังสือ
นักเขียนสาวที่ผันตัวเองจากที่ตั้งใจจะเป็นนักวิชาการ แต่ต้องมีเหตุจำเป็นให้ต้องเลี้ยงชีพด้วยอาชีพนักโป๊กเกอร์ เธอทำงานในการเล่นโป๊กเกอร์ได้มากกว่า 4ล้านดอลลาร์สหรัฐ และเธอใช้หลักการ”หมอบ” ในการเล่นโป๊กเกอร์ มาเขียนหนังสือในการจับจุดสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตจริงเพื่อที่จะล้มเลิกก่อนที่จะสายเกินไป เธอทำให้เห็นว่าการล้มเลิกไม่ใช้เรื่องเสียหายแต่บางทีกลับได้ผลดีกว่า มาหาวิธีล้มเลิกกับเรื่องห่วยๆที่จะเกิดขึ้นในชีวิตกันครับ
เปิดเนื้อหาด้วยเรื่องเล่าชีวิตของนักชกระดับตำนานในรุ่นเฮฟวี่ มูฮัมหมัด อาลี ที่ต้องถูกยึดเข็มขัดแชมป์ในปี 1967 หลังกจากปฎิเสธการเข้าร่วมรบในสงคราวเวียดนาม และถูกตัดสิทธิ์ขึ้นชกสามปีครึ่ง หลังจากนั้นกว่าเขาจะกลับมาชกมวยได้เหมือนเดิมต้องใช้เวลาหลังจากนั้นอีกสี่ปี และในเดือน ต.ค. 1974 มูฮัมหมัด อาลี ทวงตำแหน่งแชมป์คืนจากจอร์จ โฟรืแมน ซึ่งขณะนั้นมูฮัมหมัดอายุ 33ปี เขากลายเป็นตัวอย่างของบุคคลที่มีความอุตสาหะไม่ยอมแพ้ เขายังคงชกต่อไปอีกเจ็ดปี ทั้งๆที่เขาควรจะยุติชีวิตการชกมวยหลังจากได้แชมป์สามปี เพราะว่าอาลีมีสัญญาณในเรื่องสุขภาพที่ย่ำแย่จาการชกมวย ในที่สุดเขาถูกวินิจฉัยว่าเป็นโรคพาร์กินสันในปี 1984 …. การยืนหยัดต่อสู้ไม่ใช่ผลดีเสมอไป
นอกจากเคส มูฮัมหมัด อาลีแล้ว ยังมีเคสอื่นๆอีกมากที่ผู้เขียนหนังสือยกมาเป็นตัวอย่าง เช่น การตัดสินใจขึ้นหรือยุติการขึ้นยอดเขาเอเวอร์เรสในวันสุดท้าย , การวิเคราะห์ทิศทางของนักธุรกิจ , นักบัลเล่ต์เหรียญทองโอลิมปิก , การตัดสินใจทางการทหาร , นักวิ่งมาราธอนและอื่นๆอีกมากมาย ซึ่งเป็นเคสที่ตัดสินใจที่เลิกล้มไปก่อนถึงจุดหมาย หรือดันทุรังไปจนเกิดความเสียหาย
เป็นเรื่องแปลกที่ว่า เวลาที่เราล้มเลิกเรื่องอะไรสักอย่างมักจะช้าเกินไปและเกิดความเสียหายใหญ่หลวงแล้ว แล้วอะไรทำให้เกิดความเสียหายจากการดันทุรังนี้ ผู้เขียนระบุว่าเป็นเรื่องของอคติล้วนๆ เช่น การที่เราได้ทำอะไรบางอย่างมาแล้วและคิดว่าได้ทำมามากเกินกว่าจะยกเลิก , การไม่ฟังคำทักท้วง , ยึดติดกับตำแหน่งชื่อเสียง , ยึดติดกับเป้าหมาย เป็นต้น
สาเหตุหนึ่งที่เป็นปัญหาในการยกเลิกคือ การยึดที่เป้าหมายที่ว่าทำได้ถึงสำเร็จ แต่ถ้าทำไม่ได้คือล้มเหลว ยกตัวอย่างการปีนเขาไปถึงยอดเขาเอฟเวอร์เรสในวันสุดท้ายที่อีกเพียงไม่กี่ชั่วโมงก็ถึงยอดเขาแล้วแต่ถ้ามีเหตุจำเป็นที่ต้องล้มเลิก การคิดว่าเป้าหมายคือความสำเร็จการไม่ถึงยอดเขาก็คงถือว่าล้มเหลว แต่ถ้าคิดให้ดีแล้วการรักษาชีวิตควรเป็นเป้าหมายที่แท้จริงต่างหาก ดังนั้นจึงไม่ควรยึดที่เป้าหมายแต่ควรยึดความสำเร็จที่เกิดขึ้นระหว่างทางด้วย และควรคิดว่าการยกเลิกไม่ใช่ความล้มเหลว
เธอให้คำแนะนำว่า ในการตั้งเป้าหมายในครั้งแรกควรมีทางเลือกสำรองเสมอและควรยึดหลักการนี้อย่างเคร่งครัด และควรมีเงื่อนไขในการตัดสินใจเช่นฉันจะทำเป้าหมาย A ก็ต่อเมื่อมีเหตุการณ์ B เกิดขึ้นมาแล้วเท่านั้น
ผู้เขียนฝากคำพูดนี้ถึงทุกคนว่า “เมื่อโลกเปลี่ยน เป้าหมายที่เคยตั้งไว้ควรเปลี่ยนไปด้วย”
#Quit #ศาสตร์แห่งการตัดสินใจเมื่อไหร่ควรยอมยกธง #รีวิวหนังสือ
Quit ศาสตร์แห่งการตัดสินใจ เมื่อไหร่ควรยอมยกธง (2025/26)
นักเขียนสาวที่ผันตัวเองจากที่ตั้งใจจะเป็นนักวิชาการ แต่ต้องมีเหตุจำเป็นให้ต้องเลี้ยงชีพด้วยอาชีพนักโป๊กเกอร์ เธอทำงานในการเล่นโป๊กเกอร์ได้มากกว่า 4ล้านดอลลาร์สหรัฐ และเธอใช้หลักการ”หมอบ” ในการเล่นโป๊กเกอร์ มาเขียนหนังสือในการจับจุดสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตจริงเพื่อที่จะล้มเลิกก่อนที่จะสายเกินไป เธอทำให้เห็นว่าการล้มเลิกไม่ใช้เรื่องเสียหายแต่บางทีกลับได้ผลดีกว่า มาหาวิธีล้มเลิกกับเรื่องห่วยๆที่จะเกิดขึ้นในชีวิตกันครับ
เปิดเนื้อหาด้วยเรื่องเล่าชีวิตของนักชกระดับตำนานในรุ่นเฮฟวี่ มูฮัมหมัด อาลี ที่ต้องถูกยึดเข็มขัดแชมป์ในปี 1967 หลังกจากปฎิเสธการเข้าร่วมรบในสงคราวเวียดนาม และถูกตัดสิทธิ์ขึ้นชกสามปีครึ่ง หลังจากนั้นกว่าเขาจะกลับมาชกมวยได้เหมือนเดิมต้องใช้เวลาหลังจากนั้นอีกสี่ปี และในเดือน ต.ค. 1974 มูฮัมหมัด อาลี ทวงตำแหน่งแชมป์คืนจากจอร์จ โฟรืแมน ซึ่งขณะนั้นมูฮัมหมัดอายุ 33ปี เขากลายเป็นตัวอย่างของบุคคลที่มีความอุตสาหะไม่ยอมแพ้ เขายังคงชกต่อไปอีกเจ็ดปี ทั้งๆที่เขาควรจะยุติชีวิตการชกมวยหลังจากได้แชมป์สามปี เพราะว่าอาลีมีสัญญาณในเรื่องสุขภาพที่ย่ำแย่จาการชกมวย ในที่สุดเขาถูกวินิจฉัยว่าเป็นโรคพาร์กินสันในปี 1984 …. การยืนหยัดต่อสู้ไม่ใช่ผลดีเสมอไป
นอกจากเคส มูฮัมหมัด อาลีแล้ว ยังมีเคสอื่นๆอีกมากที่ผู้เขียนหนังสือยกมาเป็นตัวอย่าง เช่น การตัดสินใจขึ้นหรือยุติการขึ้นยอดเขาเอเวอร์เรสในวันสุดท้าย , การวิเคราะห์ทิศทางของนักธุรกิจ , นักบัลเล่ต์เหรียญทองโอลิมปิก , การตัดสินใจทางการทหาร , นักวิ่งมาราธอนและอื่นๆอีกมากมาย ซึ่งเป็นเคสที่ตัดสินใจที่เลิกล้มไปก่อนถึงจุดหมาย หรือดันทุรังไปจนเกิดความเสียหาย
เป็นเรื่องแปลกที่ว่า เวลาที่เราล้มเลิกเรื่องอะไรสักอย่างมักจะช้าเกินไปและเกิดความเสียหายใหญ่หลวงแล้ว แล้วอะไรทำให้เกิดความเสียหายจากการดันทุรังนี้ ผู้เขียนระบุว่าเป็นเรื่องของอคติล้วนๆ เช่น การที่เราได้ทำอะไรบางอย่างมาแล้วและคิดว่าได้ทำมามากเกินกว่าจะยกเลิก , การไม่ฟังคำทักท้วง , ยึดติดกับตำแหน่งชื่อเสียง , ยึดติดกับเป้าหมาย เป็นต้น
สาเหตุหนึ่งที่เป็นปัญหาในการยกเลิกคือ การยึดที่เป้าหมายที่ว่าทำได้ถึงสำเร็จ แต่ถ้าทำไม่ได้คือล้มเหลว ยกตัวอย่างการปีนเขาไปถึงยอดเขาเอฟเวอร์เรสในวันสุดท้ายที่อีกเพียงไม่กี่ชั่วโมงก็ถึงยอดเขาแล้วแต่ถ้ามีเหตุจำเป็นที่ต้องล้มเลิก การคิดว่าเป้าหมายคือความสำเร็จการไม่ถึงยอดเขาก็คงถือว่าล้มเหลว แต่ถ้าคิดให้ดีแล้วการรักษาชีวิตควรเป็นเป้าหมายที่แท้จริงต่างหาก ดังนั้นจึงไม่ควรยึดที่เป้าหมายแต่ควรยึดความสำเร็จที่เกิดขึ้นระหว่างทางด้วย และควรคิดว่าการยกเลิกไม่ใช่ความล้มเหลว
เธอให้คำแนะนำว่า ในการตั้งเป้าหมายในครั้งแรกควรมีทางเลือกสำรองเสมอและควรยึดหลักการนี้อย่างเคร่งครัด และควรมีเงื่อนไขในการตัดสินใจเช่นฉันจะทำเป้าหมาย A ก็ต่อเมื่อมีเหตุการณ์ B เกิดขึ้นมาแล้วเท่านั้น
ผู้เขียนฝากคำพูดนี้ถึงทุกคนว่า “เมื่อโลกเปลี่ยน เป้าหมายที่เคยตั้งไว้ควรเปลี่ยนไปด้วย”
#Quit #ศาสตร์แห่งการตัดสินใจเมื่อไหร่ควรยอมยกธง #รีวิวหนังสือ
0 ความคิดเห็น
0 การแบ่งปัน
14 มุมมอง
0 รีวิว