• 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 15 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 15 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 41 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 21 มุมมอง 0 รีวิว
  • อาจารย์พีรพันธุ์ รองนายกและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน มาแจ้งข่าวให้ทราบครับ
    อาจารย์พีรพันธุ์ รองนายกและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน มาแจ้งข่าวให้ทราบครับ💙💙💙💙
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 177 มุมมอง 40 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 24 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 106 มุมมอง 0 รีวิว
  • ♣ โทนี่เตรียมเขมือบ แหล่งปิโตรเลียม พื้นที่ทับซ้อนไทย-กัมพูชา
    #7ดอกจิก
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 273 มุมมอง 118 0 รีวิว
  • น้ำมาแรงและเร็ว
    จัดหนัก
    เชียงใหม่ ไม่รอด น้ำท่วมแล้วคับ
    น้ำมาแรงและเร็ว จัดหนัก เชียงใหม่ ไม่รอด น้ำท่วมแล้วคับ
    Sad
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 140 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 47 มุมมอง 0 รีวิว
  • Yay
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 96 มุมมอง 0 รีวิว
  • สนใจเลี่ยมกรอบพระ..ใส่ใจใคร่เรียนรู้ ทักถามได้ตามอัธยาศัยครับ
    สนใจเลี่ยมกรอบพระ..ใส่ใจใคร่เรียนรู้ ทักถามได้ตามอัธยาศัยครับ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 251 มุมมอง 59 0 รีวิว
  • hello i am pablo
    hello i am pablo
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 215 มุมมอง 0 รีวิว
  • #savethailand
    อย่าชะล่าใจกับพม่าอพยพเข้าไทยมันมากเกินไปที่คนไทยจะรับไหว #7 ล้านคน มันไม่ใช่น้อยเลย
    แถมมาเรียกี้องสิทธิเทียบเท่าคนไทย อีก
    #savethailand🇹🇭 อย่าชะล่าใจกับพม่าอพยพเข้าไทยมันมากเกินไปที่คนไทยจะรับไหว #7 ล้านคน มันไม่ใช่น้อยเลย แถมมาเรียกี้องสิทธิเทียบเท่าคนไทย อีก
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 346 มุมมอง 38 0 รีวิว
  • 26 กันยายน 2567-ทัศนะของดร.สนธิ คชวัฒน์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสิ่งแวดล้อม ชมรมนักวิชาการสิ่งแวดล้อมไทย ได้โพสต์สาเหตุน้ำท่วมภาคเหนือว่า

    “ ปลูกพืช ทำเกษตรกรรมบนภูเขาทำได้อย่างไร? กฎหมายชัดเจนแต่ปล่อยปะละเลย สาเหตุหลักของการทำให้เกิดน้ำท่วมภาคเหนือรุนแรงในปีนี้

    1..คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2528 เห็นชอบด้วยกับนโยบายป่าไม้แห่งชาติตามมติของคณะกรรมการสิ่งแวด
    ล้อมแห่งชาติ กำหนดให้พื้นที่ที่มีความลาดชันโดยเฉลี่ย 35% ขึ้นไปเป็นพื้นที่ป่าไม้โดยไม่อนุญาตให้มีการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ตามประมวลกฎหมายที่ดินในพื้นที่ดังกล่าว ทั้งนี้เนื่องจากเห็นว่าพื้นที่ที่มีความลาดชันโดยเฉลี่ย 35 เปอร์เซ็นต์ขึ้นไปเป็นพื้นที่ที่มีการชะล้างหน้าดินสูงไม่เหมาะสมแก่ การทำเกษตรกรรม สมควรเป็นพื้นที่ป่าไม้และไม่อนุญาตให้มีการออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน แต่ไม่รวมถึงที่ดินซึ่งผู้ครอบครองมีสิทธิครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมายตามประมวลกฎหมายที่ดินคือครอบครองมาก่อนอย่างถูกกฎหมายก่อนวันที่1ธค. 2497หรือมีหลักฐานครอบครอง เช่น นส 3 ก หรือ สค.1

    2. กฎกระทรวง ฉบับที่ 43 (พ.ศ. 2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497ข้อ14 (2)กำหนดให้พื้นที่เขา ที่ภูเขาและปริมณ ฑลรอบที่เขาหรือภูเขาระยะ40เมตร เป็นพื้นที่ต้องห้ามไม่ให้ออกโฉนดที่ดิน แต่ไม่รวมถึงที่ดินที่ผู้ครอบครองมีสิทธิครอบครองโดยชอบตามประมวลกฎหมายที่ ดิน(ได้มาก่อน1ธค.2497)

    3.คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 9 พฤษภา คม 2538กำหนดนิยามของ เขา หมายถึง ส่วนของพื้นที่ที่สูงจากบริเวณรอบ ๆ (Surrounding) น้อยกว่า 600 เมตร ปรากฎในแผนที่ว่าเป็นเขา พื้นลาดชันร้อยละ 20- 35และที่ภูเขา หมายถึงส่วนของพื้นที่ที่สูงจากบริเวณรอบๆ (Surrounding) ตั้งแต่ 600 เมตร ขึ้นไปพื้นที่ลาดชันมากกว่าร้อยละ 35

    4.ผู้บุกรุกป่าที่ถูกจับในกรณีแผ่วถ้างหรือเผาป่า เพื่อที่จะได้ครอบครองที่ดินนั้นในเขตอุทยานแห่งชาติ หรืออุทยานต่างๆ ของประเทศไทยจะต้องโทษจำคุกไม่เกิน 20 ปี หรือปรับสูงถึง 2 ล้านบาท นอกจากนี้ห้ามยึดถือ/ครอบครอง/ทำประโยชน์ หรืออยู่อาศัย/ก่อสร้าง/แผ้วถาง/เผาป่า/ทำไม้/เก็บหาของป่า หรือทำให้ป่าสงวนแห่งชาติเสื่อมสภาพ บทลงโทษ : จำคุก 1 – 10 ปี และปรับ 20,000 – 200,000 บาท

    5. จากกฎหมายดังกล่าว ประชาชนได้บุก รุกภูเขาไปปลูกพืช ทำเกษตรกรรมได้อย่างไร? หน่วยงานภาครัฐที่ดูแลพื้นที่ยินยอมได้อย่างไร?..สุดท้าย ฝนตกหนัก น้ำป่าจากภูเขาไหลเชี่ยวกราก พัดพาดินโคลนจากภูเขามาถล่มเมืองในพื้นที่ราบ ทั้งเชียงราย เชียงใหม่ แพร่ น่าน ลำปาง เป็นต้นในปี2567เพราะทำลายทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โค่นป่า ปลูกพืชล้มลุกบนภูเขาทำผิดกฎหมายแต่เจ้าหน้าปล่อยปะละเลย”

    #Thaitimes
    26 กันยายน 2567-ทัศนะของดร.สนธิ คชวัฒน์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสิ่งแวดล้อม ชมรมนักวิชาการสิ่งแวดล้อมไทย ได้โพสต์สาเหตุน้ำท่วมภาคเหนือว่า “ ปลูกพืช ทำเกษตรกรรมบนภูเขาทำได้อย่างไร? กฎหมายชัดเจนแต่ปล่อยปะละเลย สาเหตุหลักของการทำให้เกิดน้ำท่วมภาคเหนือรุนแรงในปีนี้ 1..คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2528 เห็นชอบด้วยกับนโยบายป่าไม้แห่งชาติตามมติของคณะกรรมการสิ่งแวด ล้อมแห่งชาติ กำหนดให้พื้นที่ที่มีความลาดชันโดยเฉลี่ย 35% ขึ้นไปเป็นพื้นที่ป่าไม้โดยไม่อนุญาตให้มีการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ตามประมวลกฎหมายที่ดินในพื้นที่ดังกล่าว ทั้งนี้เนื่องจากเห็นว่าพื้นที่ที่มีความลาดชันโดยเฉลี่ย 35 เปอร์เซ็นต์ขึ้นไปเป็นพื้นที่ที่มีการชะล้างหน้าดินสูงไม่เหมาะสมแก่ การทำเกษตรกรรม สมควรเป็นพื้นที่ป่าไม้และไม่อนุญาตให้มีการออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน แต่ไม่รวมถึงที่ดินซึ่งผู้ครอบครองมีสิทธิครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมายตามประมวลกฎหมายที่ดินคือครอบครองมาก่อนอย่างถูกกฎหมายก่อนวันที่1ธค. 2497หรือมีหลักฐานครอบครอง เช่น นส 3 ก หรือ สค.1 2. กฎกระทรวง ฉบับที่ 43 (พ.ศ. 2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497ข้อ14 (2)กำหนดให้พื้นที่เขา ที่ภูเขาและปริมณ ฑลรอบที่เขาหรือภูเขาระยะ40เมตร เป็นพื้นที่ต้องห้ามไม่ให้ออกโฉนดที่ดิน แต่ไม่รวมถึงที่ดินที่ผู้ครอบครองมีสิทธิครอบครองโดยชอบตามประมวลกฎหมายที่ ดิน(ได้มาก่อน1ธค.2497) 3.คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 9 พฤษภา คม 2538กำหนดนิยามของ เขา หมายถึง ส่วนของพื้นที่ที่สูงจากบริเวณรอบ ๆ (Surrounding) น้อยกว่า 600 เมตร ปรากฎในแผนที่ว่าเป็นเขา พื้นลาดชันร้อยละ 20- 35และที่ภูเขา หมายถึงส่วนของพื้นที่ที่สูงจากบริเวณรอบๆ (Surrounding) ตั้งแต่ 600 เมตร ขึ้นไปพื้นที่ลาดชันมากกว่าร้อยละ 35 4.ผู้บุกรุกป่าที่ถูกจับในกรณีแผ่วถ้างหรือเผาป่า เพื่อที่จะได้ครอบครองที่ดินนั้นในเขตอุทยานแห่งชาติ หรืออุทยานต่างๆ ของประเทศไทยจะต้องโทษจำคุกไม่เกิน 20 ปี หรือปรับสูงถึง 2 ล้านบาท นอกจากนี้ห้ามยึดถือ/ครอบครอง/ทำประโยชน์ หรืออยู่อาศัย/ก่อสร้าง/แผ้วถาง/เผาป่า/ทำไม้/เก็บหาของป่า หรือทำให้ป่าสงวนแห่งชาติเสื่อมสภาพ บทลงโทษ : จำคุก 1 – 10 ปี และปรับ 20,000 – 200,000 บาท 5. จากกฎหมายดังกล่าว ประชาชนได้บุก รุกภูเขาไปปลูกพืช ทำเกษตรกรรมได้อย่างไร? หน่วยงานภาครัฐที่ดูแลพื้นที่ยินยอมได้อย่างไร?..สุดท้าย ฝนตกหนัก น้ำป่าจากภูเขาไหลเชี่ยวกราก พัดพาดินโคลนจากภูเขามาถล่มเมืองในพื้นที่ราบ ทั้งเชียงราย เชียงใหม่ แพร่ น่าน ลำปาง เป็นต้นในปี2567เพราะทำลายทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โค่นป่า ปลูกพืชล้มลุกบนภูเขาทำผิดกฎหมายแต่เจ้าหน้าปล่อยปะละเลย” #Thaitimes
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1966 มุมมอง 0 รีวิว
  • ♣ นายกฯป๋าเปรมตอบสื่อ "กลับบ้านเถอะลูก"
    นายกฯลุงชวนตอบสื่อ "ยังไม่ได้รับรายงาน"
    รองนายกฯลุงป้อมตอบสื่อ "ม่ายลู้วๆ"
    แต่ถ้าตอบแบบ นายกฯแม้ว "ค่าเงินไม่ใช่พ่อ แข็งค่าก็ช่างพ่อ"
    #7ดอกจิก
    ♣ นายกฯป๋าเปรมตอบสื่อ "กลับบ้านเถอะลูก" นายกฯลุงชวนตอบสื่อ "ยังไม่ได้รับรายงาน" รองนายกฯลุงป้อมตอบสื่อ "ม่ายลู้วๆ" แต่ถ้าตอบแบบ นายกฯแม้ว "ค่าเงินไม่ใช่พ่อ แข็งค่าก็ช่างพ่อ" #7ดอกจิก
    Haha
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 305 มุมมอง 0 รีวิว
  • Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 140 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทิปโก้บอกลา สับปะรดกระป๋อง

    บริษัท ทิปโก้ ไพน์แอบเปิ้ล จํากัด ผู้ผลิตสับปะรดกระป๋องเพื่อการส่งออกมาตั้งแต่ปี 2519 ตั้งอยู่ที่ ต.อ่าวน้อย อ.เมือง จ.ประจวบคีรีขันธ์ บริษัทย่อยของ บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำกัด (มหาชน) หรือ TIPCO ซึ่งมีรายได้ประมาณ 22% ของรายได้รวม ตัดสินใจหยุดดำเนินงานในธุรกิจการผลิตและจำหน่ายสับปะรดกระป๋อง สาเหตุหลักเนื่องจากผลการดําเนินงานขาดทุนต่อเนื่อง และสภาวะความผันผวนของปริมาณและราคาของผลสับปะรดสด ในช่วงเวลาที่ผ่านมา

    คณะกรรมการของบริษัทย่อย อยู่ระหว่างการพิจารณาแผนการจัดการสื่อสาร และแจ้งให้คู่ค้า เจ้าหนี้ ลูกจ้าง พนักงาน ผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ ให้ทราบและดําเนินการให้เป็นธรรม สอดคล้องกับกฎหมาย การหยุดการดําเนินงานในธุรกิจดังกล่าวเป็นการปรับกลยุทธ์การดําเนินธุรกิจภายในของบริษัทฯ ซึ่งจะไม่ส่งผลกระทบต่อการดําเนินธุรกิจหลักของบริษัทฯ ที่ดําเนินการอยู่

    ถือเป็นผู้ผลิตรายใหญ่รายที่สอง ที่เปลี่ยนแปลงธุรกิจสับปะรดกระป๋องในไทย ต่อจาก บริษัท โดลไทยแลนด์ จำกัด มีโรงงานอยู่ที่ อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ เปิดเมื่อปี 2517 โรงงานชุมพร อ.ท่าแซะ จ.ชุมพร เปิดเมื่อปี 2535 และโรงงานระยอง อ.บ้านค่าย จ.ระยอง ได้ยุติการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ผลไม้แปรรูป เครื่องหมายการค้าโดล (Dole) ช่องทางค้าปลีกและฟูดเซอร์วิสในประเทศไทย ยังคงดำเนินการผลิตตามปกติ แต่เน้นส่งออกต่างประเทศเพียงอย่างเดียว

    ปัจจุบัน ในประเทศไทย มีผลิตภัณฑ์สับปะรดกระป๋องจำหน่าย เช่น สับปะรดเต็มแว่นในน้ำเชื่อมเข้มข้น ตราแม็กกาแรต (McGarrett) ผลิตโดย บริษัท ผลไม้กระป๋องประจวบ จำกัด (PRAFT) ก่อตั้งเมื่อปี 2528 ตั้งอยู่ใน อ.กุยบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์ สับปะรดแว่นในน้ำเชื่อม ตรามาลี (MALEE) ผลิตโดย บริษัท กุยบุรีผลไม้กระป๋อง จำกัด ก่อตั้งเมื่อปี 2535 ตั้งอยู่ใน อ.กุยบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์ สับปะรดแว่นในน้ำเชื่อม ตราโคลี่ (KOLLY) ผลิตโดย บริษัท เถกิงอุตสาหกรรมสับปะรดกระป๋อง จำกัด ก่อตั้งเมื่อปี 2536 ตั้งอยู่ใน อ.สามร้อยยอด จ.ประจวบคีรีขันธ์ เป็นต้น

    ข้อมูลจากศูนย์อัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร เมื่อปี 2563 ระบุว่า ประเทศไทยมีโรงงานแปรรูปสับปะรด 38 แห่ง เน้นไปที่ส่งออก 75% จำหน่ายในประเทศ 25% โดยพบว่าส่งออกสับปะรดกระป๋องมากที่สุด 71% กำลังการผลิตเฉพาะสับปะรดกระป๋อง 1.28 ล้านตัน ตลาดส่งออกที่สำคัญได้แก่ สหรัฐอเมริกา 33% สหภาพยุโรป 21.2% รัสเซีย 5.9% จีน 4.2% ญี่ปุ่น 4.2% โดยไทยเป็นผู้ส่งออกสับปะรดอันดับ 3 รองจากคอสตาริกา และฟิลิปปินส์ และยังมีคู่แข่งอย่างเนเธอร์แลนด์และอินโดนีเซีย

    #Newskit #Tipco #สับปะรดกระป๋อง
    ทิปโก้บอกลา สับปะรดกระป๋อง บริษัท ทิปโก้ ไพน์แอบเปิ้ล จํากัด ผู้ผลิตสับปะรดกระป๋องเพื่อการส่งออกมาตั้งแต่ปี 2519 ตั้งอยู่ที่ ต.อ่าวน้อย อ.เมือง จ.ประจวบคีรีขันธ์ บริษัทย่อยของ บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำกัด (มหาชน) หรือ TIPCO ซึ่งมีรายได้ประมาณ 22% ของรายได้รวม ตัดสินใจหยุดดำเนินงานในธุรกิจการผลิตและจำหน่ายสับปะรดกระป๋อง สาเหตุหลักเนื่องจากผลการดําเนินงานขาดทุนต่อเนื่อง และสภาวะความผันผวนของปริมาณและราคาของผลสับปะรดสด ในช่วงเวลาที่ผ่านมา คณะกรรมการของบริษัทย่อย อยู่ระหว่างการพิจารณาแผนการจัดการสื่อสาร และแจ้งให้คู่ค้า เจ้าหนี้ ลูกจ้าง พนักงาน ผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ ให้ทราบและดําเนินการให้เป็นธรรม สอดคล้องกับกฎหมาย การหยุดการดําเนินงานในธุรกิจดังกล่าวเป็นการปรับกลยุทธ์การดําเนินธุรกิจภายในของบริษัทฯ ซึ่งจะไม่ส่งผลกระทบต่อการดําเนินธุรกิจหลักของบริษัทฯ ที่ดําเนินการอยู่ ถือเป็นผู้ผลิตรายใหญ่รายที่สอง ที่เปลี่ยนแปลงธุรกิจสับปะรดกระป๋องในไทย ต่อจาก บริษัท โดลไทยแลนด์ จำกัด มีโรงงานอยู่ที่ อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ เปิดเมื่อปี 2517 โรงงานชุมพร อ.ท่าแซะ จ.ชุมพร เปิดเมื่อปี 2535 และโรงงานระยอง อ.บ้านค่าย จ.ระยอง ได้ยุติการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ผลไม้แปรรูป เครื่องหมายการค้าโดล (Dole) ช่องทางค้าปลีกและฟูดเซอร์วิสในประเทศไทย ยังคงดำเนินการผลิตตามปกติ แต่เน้นส่งออกต่างประเทศเพียงอย่างเดียว ปัจจุบัน ในประเทศไทย มีผลิตภัณฑ์สับปะรดกระป๋องจำหน่าย เช่น สับปะรดเต็มแว่นในน้ำเชื่อมเข้มข้น ตราแม็กกาแรต (McGarrett) ผลิตโดย บริษัท ผลไม้กระป๋องประจวบ จำกัด (PRAFT) ก่อตั้งเมื่อปี 2528 ตั้งอยู่ใน อ.กุยบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์ สับปะรดแว่นในน้ำเชื่อม ตรามาลี (MALEE) ผลิตโดย บริษัท กุยบุรีผลไม้กระป๋อง จำกัด ก่อตั้งเมื่อปี 2535 ตั้งอยู่ใน อ.กุยบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์ สับปะรดแว่นในน้ำเชื่อม ตราโคลี่ (KOLLY) ผลิตโดย บริษัท เถกิงอุตสาหกรรมสับปะรดกระป๋อง จำกัด ก่อตั้งเมื่อปี 2536 ตั้งอยู่ใน อ.สามร้อยยอด จ.ประจวบคีรีขันธ์ เป็นต้น ข้อมูลจากศูนย์อัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร เมื่อปี 2563 ระบุว่า ประเทศไทยมีโรงงานแปรรูปสับปะรด 38 แห่ง เน้นไปที่ส่งออก 75% จำหน่ายในประเทศ 25% โดยพบว่าส่งออกสับปะรดกระป๋องมากที่สุด 71% กำลังการผลิตเฉพาะสับปะรดกระป๋อง 1.28 ล้านตัน ตลาดส่งออกที่สำคัญได้แก่ สหรัฐอเมริกา 33% สหภาพยุโรป 21.2% รัสเซีย 5.9% จีน 4.2% ญี่ปุ่น 4.2% โดยไทยเป็นผู้ส่งออกสับปะรดอันดับ 3 รองจากคอสตาริกา และฟิลิปปินส์ และยังมีคู่แข่งอย่างเนเธอร์แลนด์และอินโดนีเซีย #Newskit #Tipco #สับปะรดกระป๋อง
    Like
    Sad
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 922 มุมมอง 0 รีวิว
  • มาเป็นรองนายกฯ ด้วยคุณสมบัติอะไร ภูมิธรรมชี้ หากประชาชนนำเงินหมื่นไปใช้หนี้นอกระบบถือเป็นสิทธิส่วนบุคคล
    #7ดอกจิก
    ♣️ มาเป็นรองนายกฯ ด้วยคุณสมบัติอะไร ภูมิธรรมชี้ หากประชาชนนำเงินหมื่นไปใช้หนี้นอกระบบถือเป็นสิทธิส่วนบุคคล #7ดอกจิก
    Haha
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 336 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 86 มุมมอง 0 รีวิว
  • เริ่มกระตุ้นเศรษฐกิจกันแล้ว ได้เงินหมื่นมาก็จัดเลย #เงินหมื่น #ดิจิตอลวอลเลต
    เริ่มกระตุ้นเศรษฐกิจกันแล้ว ได้เงินหมื่นมาก็จัดเลย #เงินหมื่น #ดิจิตอลวอลเลต
    Like
    2
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 287 มุมมอง 0 รีวิว
  • Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 137 มุมมอง 0 รีวิว
  • คงคิดกัน..ทำไมยัยนี่จะมาเปลี่ยนความคิดเรื่อง มะเขือเทศ ทำไมพูดมากพิมพ์มาก ว่ามะเขือเทผศอันตราย..ก็สอนกันมาว่าช่วยผิวดีบ้าง และประโยชน์สารพัด

    ถูกหลอกอยู่ ยังไม่รู้ตัวกัน ปีนี้ปี 2024จะเห็นอะไรมากมายทยอยออกมาเรื่อยๆ..คนที่ต้องซี้ไปก่อน จะมากมายเรื่อยๆไม่กระทันหันแต่จะทยอยไปเพราะกินดื่ม แย่ๆแฝงไว้ แถมไปรับ สิ่งไม่ดีฉีดในตัวมาอีก..รับแบบไร้สติ ไม่ตรอง ไม่ศึกษา..โตแล้ว แก่กันแล้วก้อตายๆไม่เปนไรแต่เด็กๆล่ะ..อนาคตพวกเขาจะอยู่แบบไหนเด็กกำพร้าก็เต็มไปหมด..กำพร้าผัว กำพร้าเมีย ก็เยอะ..เหมือนหุ่นยนต์กันไปทุกวัน ไร้ความรู้สึก..เพ้อเจ้อ สติแตก หลงๆลืมๆ

    กว่าจะรู้ตัวก็ช้าไปแล้ว คนแนะนำสิ่งดีดีก็ไม่เชื่อเขา..

    ย้อนมาเครื่องมะเขือเทศ(ศ..มันทพใก้ในร่างกายอักเสบ ติดเชื้อง่าย..

    Tomato was very high in lectin..
    คงคิดกัน..ทำไมยัยนี่จะมาเปลี่ยนความคิดเรื่อง มะเขือเทศ ทำไมพูดมากพิมพ์มาก ว่ามะเขือเทผศอันตราย..ก็สอนกันมาว่าช่วยผิวดีบ้าง และประโยชน์สารพัด ถูกหลอกอยู่ ยังไม่รู้ตัวกัน ปีนี้ปี 2024จะเห็นอะไรมากมายทยอยออกมาเรื่อยๆ..คนที่ต้องซี้ไปก่อน จะมากมายเรื่อยๆไม่กระทันหันแต่จะทยอยไปเพราะกินดื่ม แย่ๆแฝงไว้ แถมไปรับ สิ่งไม่ดีฉีดในตัวมาอีก..รับแบบไร้สติ ไม่ตรอง ไม่ศึกษา..โตแล้ว แก่กันแล้วก้อตายๆไม่เปนไรแต่เด็กๆล่ะ..อนาคตพวกเขาจะอยู่แบบไหนเด็กกำพร้าก็เต็มไปหมด..กำพร้าผัว กำพร้าเมีย ก็เยอะ..เหมือนหุ่นยนต์กันไปทุกวัน ไร้ความรู้สึก..เพ้อเจ้อ สติแตก หลงๆลืมๆ กว่าจะรู้ตัวก็ช้าไปแล้ว คนแนะนำสิ่งดีดีก็ไม่เชื่อเขา.. ย้อนมาเครื่องมะเขือเทศ(ศ..มันทพใก้ในร่างกายอักเสบ ติดเชื้อง่าย.. Tomato was very high in lectin..
    Sad
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 320 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 65 มุมมอง 0 รีวิว
  • ดรามา Car Free Day กทม.ออกมาแถลงผลทดลองละเลงกิจกรรมที่บรรทัดทอง ประชุมสรุปแล้วนำผลลัพธ์ไปต่อยอดพัฒนาย่านอื่นต่อไป ท่ามกลางเสียงสะท้อนปัญหาผลกระทบต่อชุมชนหลังจบงาน

    26 กันยายน 2567 -นายเอกวรัญญู อัมระปาล ผู้ช่วยเลขาฯ ผู้ว่าฯ กทม. และโฆษก กทม. ได้เปิดเผยถึงการจัดการจราจร Car Free Day บรรทัดทองที่จัดขึ้นเมื่อวันที่ 22 กันยายนนี้ว่า ตามที่สังคมตั้งข้อสังเกตหลายประเด็น หนึ่งในนั้นคือเรื่องงบประมาณว่า กิจกรรมดังกล่าวสำเร็จได้ เพราะความร่วมมือจากหลายภาคส่วน ทั้งรัฐ เอกชน ประชาชน เป็นต้น โดย กทม. เป็นเพียงแกนกลางประสานสนับสนุนเจ้าหน้าที่และอุปกรณ์ โดยไม่ได้ใช้งบจัดกิจกรรมแม้แต่บาทเดียว รวมถึงสีก็ได้รับการสนับสนุนจากเอกชน ไม่ใช่สีทาถนน เพราะตั้งใจให้ล้างออกง่าย เพื่อคืนสภาพถนนที่สมบูรณ์ให้ประชาชนใช้งานตามปกติ ย้ำไม่ได้ลาดยางมะตอยทับ แต่จุดใดที่ควรซ่อมแซมก็จะดำเนินการซ่อมแซมต่อไป

    โฆษก กทม. กล่าวต่อว่า การทาสีถนนเป็นการทดลองลดขนาดถนน (Street Diet) และการเดินข้ามถนนทแยงมุม เป็นการทดลองโดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้าร่วมการดำเนินนโยบายเพื่อเมืองอย่างยั่งยืน เป้าหมายระยะสั้นคือ การทดลองทำถนนคนเดิน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรม Bangkok Car Free 2024 ทั้งยังกระตุ้นเศรษฐกิจ จัดระเบียบทางเท้าและร้านค้า สร้างกิจกรรมนันทนาการ

    ขณะที่เพจ หวังสร้างเมืองก็ได้ลงสรุปปัญหาไว้ว่า

    “การทดลอง Car Free ที่บรรทัดทองจบแล้วครับ แต่ผลลัพธ์จะถูกนำไปพัฒนาย่านอย่างถาวรกันต่อ ทีมกำลังสรุปผลทั้งแบบสอบถาม พูดคุยกับร้านค้า ผู้อยู่อาศัย และจะมีการประชุมสรุปผลสัปดาห์นี้เพื่อต่อยอดการพัฒนาย่านต่อไปครับ นอกจากเสียงตอบรับที่มีผู้มาร่วมงานมากมายแล้ว ผมอยากทดปัญหาเบื้องต้นเอาไว้ด้วยในนี้ครับ ว่าเราเห็นปัญหาอะไรบ้างหากต้องทำต่อเนื่องที่นี่ และขยายผลไปเขตอื่นๆ

    1. ผลกระทบกับคนอยู่อาศัย
    ถึงแม้การปิดถนนจะทำให้เดินอย่างปลอดภัยมากขึ้นก็จริง แต่ผู้อยู่อาศัยในละแวกที่มีผู้สูงอายุอยู่ที่บ้านและจำเป็นต้องใช้รถยนต์ก็ได้รับผลกระทบมากไม่แพ้กัน การปิดถนนแบบร้อยเปอร์เซ็นต์เลย สร้างความลำบากให้ผู้อยู่อาศัยไม่น้อย และเสียงจากดนตรีและความสนุกเกินไปของย่าน ที่อาจรบกวนผู้อยู่อาศัย หากมีการทำต่อเนื่องน่าจะต้องคิดให้ละเอียดถี่ถ้วนมากขึ้น

    2. ปริมาณคนมาด้วยปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้น
    การจัดการขยะของร้านค้าทุกร้าน เช่น ให้แยกขยะเศษอาหาร การเข้าร่วมโครงการไม่เทรวม การคัดแยกขยะต้นทางร่วมกับทางจุฬาฯ

    3. การจัดระเบียบร้านค้า การปรับปรุงทางเท้า และการนำสายไฟลงดิน ฯลฯ

    นอกจากนี้ยังมีเสียงเรื่องการทาสี มีความกังวลเรื่องสีผิดประเภทที่อาจทำให้รถยนต์ลื่น สร้างมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม เราได้ข้อมูลแนะนำจากช่างเชี่ยวชาญของบริษัทผู้สนับสนุน เลยอยากขอใช้พื้นที่นี้ชี้แจงด้วยครับ

    1. สีที่ทาไม่เหมาะกับการเป็นสีทาผิวถนน และเป็นสีทนทาน 10 ปี ล้างไม่ออก

    เป็นข้อมูลที่ถูกต้องครับ เพราะจุดประสงค์ของการทาสีคือการทดลองลดเลนถนน (Street Diet) และการเดินข้ามถนนแทยงมุมในเวลากลางวัน พอหมดงานทีมก็ตั้งใจจะล้างออกทั้งหมด สีที่ใช้จึงเป็นสีที่จะไม่อยู่คงทนตลอด เราได้ขอคำปรึกษากับช่างเทคนิคของบริษัทผู้บริจาค และเลือกสีชนิดนี้ก่อนมาใช้ ด้วยเป็นสีทาอาคารไม่ใช่สีทาถนน สีฯ ดังกล่าว มีลักษณะการปกป้องพื้นผิว ประเภทอาคาร มีฟิล์มที่บางกว่า สีจราจร อย่างมาก ไม่ทนต่อแรงเสียดทาน ในการบดอัดของล้อยานพาหนะ ที่จะเสื่อมสภาพ ผิวฟิล์มหลุดล่อนได้ง่าย และ ไม่ทนต่อความชื้นของพื้นผิวถนน ที่จะเสื่อมสภาพในเวลาอันรวดเร็ว และทางทีมได้ล้างออกทั้งหมดในวันจันทร์แล้วครับ

    2. กรณีสีมีพิษ จากข้อมูลของบริษัทผู้บริจาค สีชนิดนี้เมื่อแห้งจะเป็นแผ่นฟิล์มและจะถูกกรองได้ ไม่ละลายลงแหล่งน้ำ และสีได้รับมาตรฐานที่ได้รับฉลากเขียวจาก สมอ. แต่อย่างไรจะขอนำความคิดเห็นนี้ไปพัฒนาต่อ และจะระวังไม่ให้กระทบกับสิ่งแวดล้อมมากกว่านี้ครับ

    3. เป็นการผลาญงบประมาณ
    งานนี้เกิดจากความร่วมมือจากหลายภาคส่วน ไม่ได้ใช้เงินจากภาครัฐเลยครับ สีที่ทา เราได้รับสีบริจาคจากบริษัทเอกชน และทั้งงานเป็นความร่วมมือภาคประชาสังคมหลายภาคมาก กทม.เป็นเพียงส่วนหนึ่ง รับหน้าที่ดูแลหลังงาน ใช้อุปกรณ์ที่มี เจ้าหน้าที่รักษาฯ และได้ทำการล้างถนนไปเมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมาแล้วครับ ต้องขอบคุณพี่ๆข้าราชการที่ช่วยกันด้วยครับ

    อย่างไรก็ตาม ผมต้องขอน้อมรับทุกความเห็นไปปรับปรุง อยากย้ำวัตถุประสงค์หลักของงานที่เลือกที่นี่ คือ “การพัฒนาย่านบรรทัดทองระยะยาว” ไม่ใช่เพียงการจัดงานนี้ครั้งเดียวแล้วผ่านไปครับ เราจะมีการประชุมสรุปผลสัปดาห์นี้ร่วมกับจุฬาฯ และจะนำมาเล่าสู่กันฟังอีกครั้ง จะทาสีทางข้ามถาวรเลยหรือไม่ จะทำการลดเลนถนน (Street Diet) บ้างไหม หรือจะเป็นการปิดถนนบางเวลาเพื่อทำถนนคนเดิน

    ขอน้อมรับทุกความผิดพลาดและทุกอย่างไปปรับปรุงครับ หากใครมีความเห็นอย่างไรก็พิมพ์แจ้งไว้ได้เลยครับ

    ปล. รูปนี้คือภาพเมื่อเช้าหลังจากทีมงานล้างออกตั้งแต่เมื่อวานครับ
    ปล2. เพิ่มเติมที่มีคนถามเรื่องทายางมะตอยทับ เราเพียงล้างออกเท่านั้นครับ ไม่มีการเทยางมะตอยทับแต่อย่างใด พื้นถนนหลายจุดมีความชำรุดอยู่เดิมก็จะใช้โอกาสหลังจากนี้ซ่อมแซมด้วยครับ”

    ที่มา https://www.facebook.com/100086260703100/posts/pfbid02bHbrNVyqnsKQtz6bf2aStu9eR5MmkCGd3XcxMo4gtc4LZ4NR4G8TtshXa2XyMS7Ql/?
    #Thaitimes
    ดรามา Car Free Day กทม.ออกมาแถลงผลทดลองละเลงกิจกรรมที่บรรทัดทอง ประชุมสรุปแล้วนำผลลัพธ์ไปต่อยอดพัฒนาย่านอื่นต่อไป ท่ามกลางเสียงสะท้อนปัญหาผลกระทบต่อชุมชนหลังจบงาน 26 กันยายน 2567 -นายเอกวรัญญู อัมระปาล ผู้ช่วยเลขาฯ ผู้ว่าฯ กทม. และโฆษก กทม. ได้เปิดเผยถึงการจัดการจราจร Car Free Day บรรทัดทองที่จัดขึ้นเมื่อวันที่ 22 กันยายนนี้ว่า ตามที่สังคมตั้งข้อสังเกตหลายประเด็น หนึ่งในนั้นคือเรื่องงบประมาณว่า กิจกรรมดังกล่าวสำเร็จได้ เพราะความร่วมมือจากหลายภาคส่วน ทั้งรัฐ เอกชน ประชาชน เป็นต้น โดย กทม. เป็นเพียงแกนกลางประสานสนับสนุนเจ้าหน้าที่และอุปกรณ์ โดยไม่ได้ใช้งบจัดกิจกรรมแม้แต่บาทเดียว รวมถึงสีก็ได้รับการสนับสนุนจากเอกชน ไม่ใช่สีทาถนน เพราะตั้งใจให้ล้างออกง่าย เพื่อคืนสภาพถนนที่สมบูรณ์ให้ประชาชนใช้งานตามปกติ ย้ำไม่ได้ลาดยางมะตอยทับ แต่จุดใดที่ควรซ่อมแซมก็จะดำเนินการซ่อมแซมต่อไป โฆษก กทม. กล่าวต่อว่า การทาสีถนนเป็นการทดลองลดขนาดถนน (Street Diet) และการเดินข้ามถนนทแยงมุม เป็นการทดลองโดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้าร่วมการดำเนินนโยบายเพื่อเมืองอย่างยั่งยืน เป้าหมายระยะสั้นคือ การทดลองทำถนนคนเดิน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรม Bangkok Car Free 2024 ทั้งยังกระตุ้นเศรษฐกิจ จัดระเบียบทางเท้าและร้านค้า สร้างกิจกรรมนันทนาการ ขณะที่เพจ หวังสร้างเมืองก็ได้ลงสรุปปัญหาไว้ว่า “การทดลอง Car Free ที่บรรทัดทองจบแล้วครับ แต่ผลลัพธ์จะถูกนำไปพัฒนาย่านอย่างถาวรกันต่อ ทีมกำลังสรุปผลทั้งแบบสอบถาม พูดคุยกับร้านค้า ผู้อยู่อาศัย และจะมีการประชุมสรุปผลสัปดาห์นี้เพื่อต่อยอดการพัฒนาย่านต่อไปครับ นอกจากเสียงตอบรับที่มีผู้มาร่วมงานมากมายแล้ว ผมอยากทดปัญหาเบื้องต้นเอาไว้ด้วยในนี้ครับ ว่าเราเห็นปัญหาอะไรบ้างหากต้องทำต่อเนื่องที่นี่ และขยายผลไปเขตอื่นๆ 1. ผลกระทบกับคนอยู่อาศัย ถึงแม้การปิดถนนจะทำให้เดินอย่างปลอดภัยมากขึ้นก็จริง แต่ผู้อยู่อาศัยในละแวกที่มีผู้สูงอายุอยู่ที่บ้านและจำเป็นต้องใช้รถยนต์ก็ได้รับผลกระทบมากไม่แพ้กัน การปิดถนนแบบร้อยเปอร์เซ็นต์เลย สร้างความลำบากให้ผู้อยู่อาศัยไม่น้อย และเสียงจากดนตรีและความสนุกเกินไปของย่าน ที่อาจรบกวนผู้อยู่อาศัย หากมีการทำต่อเนื่องน่าจะต้องคิดให้ละเอียดถี่ถ้วนมากขึ้น 2. ปริมาณคนมาด้วยปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้น การจัดการขยะของร้านค้าทุกร้าน เช่น ให้แยกขยะเศษอาหาร การเข้าร่วมโครงการไม่เทรวม การคัดแยกขยะต้นทางร่วมกับทางจุฬาฯ 3. การจัดระเบียบร้านค้า การปรับปรุงทางเท้า และการนำสายไฟลงดิน ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีเสียงเรื่องการทาสี มีความกังวลเรื่องสีผิดประเภทที่อาจทำให้รถยนต์ลื่น สร้างมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม เราได้ข้อมูลแนะนำจากช่างเชี่ยวชาญของบริษัทผู้สนับสนุน เลยอยากขอใช้พื้นที่นี้ชี้แจงด้วยครับ 1. สีที่ทาไม่เหมาะกับการเป็นสีทาผิวถนน และเป็นสีทนทาน 10 ปี ล้างไม่ออก เป็นข้อมูลที่ถูกต้องครับ เพราะจุดประสงค์ของการทาสีคือการทดลองลดเลนถนน (Street Diet) และการเดินข้ามถนนแทยงมุมในเวลากลางวัน พอหมดงานทีมก็ตั้งใจจะล้างออกทั้งหมด สีที่ใช้จึงเป็นสีที่จะไม่อยู่คงทนตลอด เราได้ขอคำปรึกษากับช่างเทคนิคของบริษัทผู้บริจาค และเลือกสีชนิดนี้ก่อนมาใช้ ด้วยเป็นสีทาอาคารไม่ใช่สีทาถนน สีฯ ดังกล่าว มีลักษณะการปกป้องพื้นผิว ประเภทอาคาร มีฟิล์มที่บางกว่า สีจราจร อย่างมาก ไม่ทนต่อแรงเสียดทาน ในการบดอัดของล้อยานพาหนะ ที่จะเสื่อมสภาพ ผิวฟิล์มหลุดล่อนได้ง่าย และ ไม่ทนต่อความชื้นของพื้นผิวถนน ที่จะเสื่อมสภาพในเวลาอันรวดเร็ว และทางทีมได้ล้างออกทั้งหมดในวันจันทร์แล้วครับ 2. กรณีสีมีพิษ จากข้อมูลของบริษัทผู้บริจาค สีชนิดนี้เมื่อแห้งจะเป็นแผ่นฟิล์มและจะถูกกรองได้ ไม่ละลายลงแหล่งน้ำ และสีได้รับมาตรฐานที่ได้รับฉลากเขียวจาก สมอ. แต่อย่างไรจะขอนำความคิดเห็นนี้ไปพัฒนาต่อ และจะระวังไม่ให้กระทบกับสิ่งแวดล้อมมากกว่านี้ครับ 3. เป็นการผลาญงบประมาณ งานนี้เกิดจากความร่วมมือจากหลายภาคส่วน ไม่ได้ใช้เงินจากภาครัฐเลยครับ สีที่ทา เราได้รับสีบริจาคจากบริษัทเอกชน และทั้งงานเป็นความร่วมมือภาคประชาสังคมหลายภาคมาก กทม.เป็นเพียงส่วนหนึ่ง รับหน้าที่ดูแลหลังงาน ใช้อุปกรณ์ที่มี เจ้าหน้าที่รักษาฯ และได้ทำการล้างถนนไปเมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมาแล้วครับ ต้องขอบคุณพี่ๆข้าราชการที่ช่วยกันด้วยครับ อย่างไรก็ตาม ผมต้องขอน้อมรับทุกความเห็นไปปรับปรุง อยากย้ำวัตถุประสงค์หลักของงานที่เลือกที่นี่ คือ “การพัฒนาย่านบรรทัดทองระยะยาว” ไม่ใช่เพียงการจัดงานนี้ครั้งเดียวแล้วผ่านไปครับ เราจะมีการประชุมสรุปผลสัปดาห์นี้ร่วมกับจุฬาฯ และจะนำมาเล่าสู่กันฟังอีกครั้ง จะทาสีทางข้ามถาวรเลยหรือไม่ จะทำการลดเลนถนน (Street Diet) บ้างไหม หรือจะเป็นการปิดถนนบางเวลาเพื่อทำถนนคนเดิน ขอน้อมรับทุกความผิดพลาดและทุกอย่างไปปรับปรุงครับ หากใครมีความเห็นอย่างไรก็พิมพ์แจ้งไว้ได้เลยครับ ปล. รูปนี้คือภาพเมื่อเช้าหลังจากทีมงานล้างออกตั้งแต่เมื่อวานครับ ปล2. เพิ่มเติมที่มีคนถามเรื่องทายางมะตอยทับ เราเพียงล้างออกเท่านั้นครับ ไม่มีการเทยางมะตอยทับแต่อย่างใด พื้นถนนหลายจุดมีความชำรุดอยู่เดิมก็จะใช้โอกาสหลังจากนี้ซ่อมแซมด้วยครับ” ที่มา https://www.facebook.com/100086260703100/posts/pfbid02bHbrNVyqnsKQtz6bf2aStu9eR5MmkCGd3XcxMo4gtc4LZ4NR4G8TtshXa2XyMS7Ql/? #Thaitimes
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1347 มุมมอง 0 รีวิว