อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าธรรมที่เป็นนิพพานคามิมัคคะและทางไปสู่สัมมัติตตนิยาม
สัทธรรมลำดับที่ : 970
ชื่อบทธรรม :- ธรรมที่เป็นนิพพานคามิมัคคะ
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=970
เนื้อความทั้งหมด :-
--ธรรมที่เป็นนิพพานคามิมัคคะ
--ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่งนิพพานคามิมรรค แก่เธอทั้งหลาย.
เธอทั้งหลายจงฟังความข้อนั้น.
--ภิกษุ ท. ! ก็ นิพพานคามิมรรค เป็นอย่างไรเล่า ?
(ต่อไปนี้ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า นิพพานคามิมรรค โดยสูตรหลายสูตรเป็นลำดับไป
http://etipitaka.com/read/pali/18/452/?keywords=นิพฺพานคามิญฺจ
ในที่นี้จะยกมาเฉพาะชื่อธรรมที่ทรงแสดงเท่านั้น :- )
--กายคตาสติ
: ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
--สมถะและวิปัสสนา
: ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
--สวิตักกสวิจารสมาธิ อวิตักกวิจารมัตตสมาธิ อวิตักกอวิจารสมาธิ
: ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
--สุญญตสมาธิ อนิมิตตสมาธิ อัปปณิหิตสมาธิ
: ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
--สติปัฏฐานสี่
: ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
--สัมมัปปธานสี่
: ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
--อิทธิบาทสี่
: ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
--อินทรีย์ห้า
: ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
--พละห้า
: ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
--โพชฌงค์เจ็ด
: ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
--อริยอัฏฐังคิกมรรค
: ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
--ภิกษุ ท. ! ด้วยอาการอย่างนี้ นิพพานคามิมรรค เป็นอันว่าเราแสดงแล้ว.
--ภิกษุ ท. ! กิจอันใด ที่ศาสดาผู้เอ็นดู แสวงหาประโยชน์เกื้อกูลอาศัยความเอ็นดูแล้ว
จะพึงทำแก่สาวกทั้งหลาย, กิจอันนั้น เราได้ทำแล้วแก่พวกเธอทั้งหลาย.
+--ภิกษุ ท. ! นั้น โคนไม้ทั้งหลาย, นั่น เรือนว่างทั้งหลาย.
+--ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลายจงเพียรเผากิเลส, อย่าได้ประมาท.
พวกเธอทั้งหลาย อย่าได้เป็นที่ต้องร้อนใจ ในภายหลังเลย.
นี้แล
#เป็นวาจาเครื่องพร่ำสอนพวกเธอทั้งหลายของเรา. http://etipitaka.com/read/pali/18/453/?keywords=อนุสาสนีติ
--- สฬา. สํ. ๑๘/๔๔๑ - ๔๔๒/๖๗๔ - ๖๘๔.
http://etipitaka.com/read/pali/18/441/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%97%E0%B9%94
--- สฬา. สํ. ๑๘/๔๕๐ - ๔๕๓/๗๒๐ - ๗๕๑.
http://etipitaka.com/read/pali/18/450/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%92%E0%B9%90
--ทางโล่งอันแน่นอนไปสู่สัมมัติตตนิยาม
--ภิกษุ ท. ! บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๖ ประการ
แม้ฟังสัทธรรมอยู่ก็ไม่อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม (บทสรุปอันแน่นอน)
อันเป็นสัมมัตตะ (ภาวะแห่งความถูกต้อง) ในกุศลธรรมทั้งหลาย.*--๑
หกประการ อย่างไรเล่า ? หกประการ คือ เป็นผู้ : -
๑--ประกอบด้วยกัมมาวรณภาวะ (มีกรรมเป็นเครื่องกั้น) ;
๒--ประกอบด้วยกิเลสาวรณภาวะ (มีกิเลสเป็นเครื่องกั้น);
๓--ประกอบด้วยวิปากาวรณภาวะ (มีวิบากเป็นเครื่องกั้น);
๔--ไม่ประกอบด้วยศรัทธา ;
๕--ไม่ประกอบด้วยฉันทะ ; และ
๖--เป็นผู้มีปัญญาทราม(ทุปฺปญฺโญ).
http://etipitaka.com/read/pali/22/486/?keywords=ทุปฺปญฺโญ
*--๑. ภาวะแห่งความถูกต้องในกุศลธรรมทั้งหลาย ในที่นี้หมายถึงอัฏฐังคิกมรรคมีองค์แปดประการหรือจะขยายออกไปถึงสัมมาญาณะและสัมมาวิมุตติ อีก ๒ ประการ รวมเป็น ๑๐ ประการ ด้วยก็ได้.
กล่าวโดยย่อว่า ธรรม ๖ ประการแห่งสูตรนี้ เป็นทางโล่งเปิดตรงไปสู่หัวใจอัฎฐังคิกมรรค.
--ภิกษุ ท. ! บุคคลที่ประกอบด้วยหลักธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล
แม้ฟังสัทธรรมอยู่ก็ไม่อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม อันเป็นสัมมัตตะ ในกุศลธรรมทั้งหลาย.
--ภิกษุ ท. ! บุคคลที่ประกอบด้วยหลักธรรม ๖ ประการ
ฟังสัทธรรมอยู่ก็อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม อันเป็นสัมมัตตะ ในกุศลธรรมทั้งหลาย.
หกประการอย่างไรเล่า ? หกประการคือ เป็นผู้ :-
๑--ไม่ประกอบด้วยกัมมาวรณภาวะ ;
๒--ไม่ประกอบด้วยกิเลสาวรณภาวะ;
๓--ไม่ประกอบด้วยวิปากาวรณภาวะ;
๔--ประกอบด้วยศรัทธา;
๕--ประกอบด้วยฉันทะ; และ
๖--เป็นผู้ที่มีปัญญา.
http://etipitaka.com/read/pali/22/486/?keywords=ปญฺญวา
--ภิกษุ ท. ! บุคคลที่ประกอบด้วยหลักธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล แม้ฟังสัทธรรมอยู่ ก็อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม อันเป็นสัมมัตตะ ในกุศลธรรมทั้งหลาย.-
(กัมมาวรณภาวะ - มีกรรมเป็นเครื่องกั้น หมายถึง วิปฏิสารแห่งจิต เพราะได้ทำกรรมชั่วไว้,
กิเลสาวรณภาวะ - มีกิเลสเป็นเครื่องกั้น หมายถึง กิเลสโดยเฉพาะคือ มิจฉาทิฏฐิที่เป็นพื้นฐานแห่งจิต,
วิปากาวรณภาวะ - หมายถึง วิบากที่ทำให้เกิดเป็นสัตว์ที่ไม่อาจจะเข้าใจธรรมได้).
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/388/357.
http://etipitaka.com/read/thai/22/388/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%97
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๘๖/๓๕๗.
http://etipitaka.com/read/pali/22/486/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%97
ศึกษาเพิ่มเติม..
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83&id=970 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83
ลำดับสาธยายธรรม : 83 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_83.mp3 อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าธรรมที่เป็นนิพพานคามิมัคคะและทางไปสู่สัมมัติตตนิยาม
สัทธรรมลำดับที่ : 970
ชื่อบทธรรม :- ธรรมที่เป็นนิพพานคามิมัคคะ
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=970
เนื้อความทั้งหมด :-
--ธรรมที่เป็นนิพพานคามิมัคคะ
--ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซึ่งนิพพานคามิมรรค แก่เธอทั้งหลาย.
เธอทั้งหลายจงฟังความข้อนั้น.
--ภิกษุ ท. ! ก็ นิพพานคามิมรรค เป็นอย่างไรเล่า ?
(ต่อไปนี้ทรงแสดงสิ่งที่เรียกว่า นิพพานคามิมรรค โดยสูตรหลายสูตรเป็นลำดับไป
http://etipitaka.com/read/pali/18/452/?keywords=นิพฺพานคามิญฺจ
ในที่นี้จะยกมาเฉพาะชื่อธรรมที่ทรงแสดงเท่านั้น :- )
--กายคตาสติ
: ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
--สมถะและวิปัสสนา
: ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
--สวิตักกสวิจารสมาธิ อวิตักกวิจารมัตตสมาธิ อวิตักกอวิจารสมาธิ
: ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
--สุญญตสมาธิ อนิมิตตสมาธิ อัปปณิหิตสมาธิ
: ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
--สติปัฏฐานสี่
: ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
--สัมมัปปธานสี่
: ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
--อิทธิบาทสี่
: ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
--อินทรีย์ห้า
: ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
--พละห้า
: ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
--โพชฌงค์เจ็ด
: ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
--อริยอัฏฐังคิกมรรค
: ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า นิพพานคามิมรรค.
--ภิกษุ ท. ! ด้วยอาการอย่างนี้ นิพพานคามิมรรค เป็นอันว่าเราแสดงแล้ว.
--ภิกษุ ท. ! กิจอันใด ที่ศาสดาผู้เอ็นดู แสวงหาประโยชน์เกื้อกูลอาศัยความเอ็นดูแล้ว
จะพึงทำแก่สาวกทั้งหลาย, กิจอันนั้น เราได้ทำแล้วแก่พวกเธอทั้งหลาย.
+--ภิกษุ ท. ! นั้น โคนไม้ทั้งหลาย, นั่น เรือนว่างทั้งหลาย.
+--ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลายจงเพียรเผากิเลส, อย่าได้ประมาท.
พวกเธอทั้งหลาย อย่าได้เป็นที่ต้องร้อนใจ ในภายหลังเลย.
นี้แล #เป็นวาจาเครื่องพร่ำสอนพวกเธอทั้งหลายของเรา.
http://etipitaka.com/read/pali/18/453/?keywords=อนุสาสนีติ
--- สฬา. สํ. ๑๘/๔๔๑ - ๔๔๒/๖๗๔ - ๖๘๔.
http://etipitaka.com/read/pali/18/441/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%97%E0%B9%94
--- สฬา. สํ. ๑๘/๔๕๐ - ๔๕๓/๗๒๐ - ๗๕๑.
http://etipitaka.com/read/pali/18/450/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%92%E0%B9%90
--ทางโล่งอันแน่นอนไปสู่สัมมัติตตนิยาม
--ภิกษุ ท. ! บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๖ ประการ
แม้ฟังสัทธรรมอยู่ก็ไม่อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม (บทสรุปอันแน่นอน)
อันเป็นสัมมัตตะ (ภาวะแห่งความถูกต้อง) ในกุศลธรรมทั้งหลาย.*--๑
หกประการ อย่างไรเล่า ? หกประการ คือ เป็นผู้ : -
๑--ประกอบด้วยกัมมาวรณภาวะ (มีกรรมเป็นเครื่องกั้น) ;
๒--ประกอบด้วยกิเลสาวรณภาวะ (มีกิเลสเป็นเครื่องกั้น);
๓--ประกอบด้วยวิปากาวรณภาวะ (มีวิบากเป็นเครื่องกั้น);
๔--ไม่ประกอบด้วยศรัทธา ;
๕--ไม่ประกอบด้วยฉันทะ ; และ
๖--เป็นผู้มีปัญญาทราม(ทุปฺปญฺโญ).
http://etipitaka.com/read/pali/22/486/?keywords=ทุปฺปญฺโญ
*--๑. ภาวะแห่งความถูกต้องในกุศลธรรมทั้งหลาย ในที่นี้หมายถึงอัฏฐังคิกมรรคมีองค์แปดประการหรือจะขยายออกไปถึงสัมมาญาณะและสัมมาวิมุตติ อีก ๒ ประการ รวมเป็น ๑๐ ประการ ด้วยก็ได้.
กล่าวโดยย่อว่า ธรรม ๖ ประการแห่งสูตรนี้ เป็นทางโล่งเปิดตรงไปสู่หัวใจอัฎฐังคิกมรรค.
--ภิกษุ ท. ! บุคคลที่ประกอบด้วยหลักธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล
แม้ฟังสัทธรรมอยู่ก็ไม่อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม อันเป็นสัมมัตตะ ในกุศลธรรมทั้งหลาย.
--ภิกษุ ท. ! บุคคลที่ประกอบด้วยหลักธรรม ๖ ประการ
ฟังสัทธรรมอยู่ก็อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม อันเป็นสัมมัตตะ ในกุศลธรรมทั้งหลาย.
หกประการอย่างไรเล่า ? หกประการคือ เป็นผู้ :-
๑--ไม่ประกอบด้วยกัมมาวรณภาวะ ;
๒--ไม่ประกอบด้วยกิเลสาวรณภาวะ;
๓--ไม่ประกอบด้วยวิปากาวรณภาวะ;
๔--ประกอบด้วยศรัทธา;
๕--ประกอบด้วยฉันทะ; และ
๖--เป็นผู้ที่มีปัญญา.
http://etipitaka.com/read/pali/22/486/?keywords=ปญฺญวา
--ภิกษุ ท. ! บุคคลที่ประกอบด้วยหลักธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล แม้ฟังสัทธรรมอยู่ ก็อาจก้าวลงสู่นิยามธรรม อันเป็นสัมมัตตะ ในกุศลธรรมทั้งหลาย.-
(กัมมาวรณภาวะ - มีกรรมเป็นเครื่องกั้น หมายถึง วิปฏิสารแห่งจิต เพราะได้ทำกรรมชั่วไว้,
กิเลสาวรณภาวะ - มีกิเลสเป็นเครื่องกั้น หมายถึง กิเลสโดยเฉพาะคือ มิจฉาทิฏฐิที่เป็นพื้นฐานแห่งจิต,
วิปากาวรณภาวะ - หมายถึง วิบากที่ทำให้เกิดเป็นสัตว์ที่ไม่อาจจะเข้าใจธรรมได้).
#ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/388/357.
http://etipitaka.com/read/thai/22/388/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%97
อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๘๖/๓๕๗.
http://etipitaka.com/read/pali/22/486/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%97
ศึกษาเพิ่มเติม..
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83&id=970
https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=83
ลำดับสาธยายธรรม : 83 ฟังเสียงอ่าน...
http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_83.mp3