• https://www.facebook.com/share/p/4hBxAJEUZiUw1DSt/?
    https://www.facebook.com/share/p/4hBxAJEUZiUw1DSt/?
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 20 มุมมอง 0 รีวิว
  • ร้านหอมปลาเผา ร้านอาหารไทย-อีสาน ซีฟู้ด สุดแซ่บที่ตั้งอยู่ในซอยรัชดา 18 แยก 20 มิถุนา บรรยากาศร้านนั่งสบาย สไตล์อีสาน พร้อมที่จอดรถสะดวก นอกจากนี้เมนูเด็ดในร้านก็มีให้เลือกหลากหลายเมนูเอาใจขาส้มตำสุดๆ โดยเฉพาะตำถาดกุ้งสด และตำถาดหอยแครงลาว ที่แซ่บเด็ด เผ็ดสุดๆ พร้อมเมี่ยงปลาทับทิมรสชาติดี ตบท้ายด้วยไอศกรีมลอดช่องกะทิสด บอกเลยว่า ใช่ !

    พิกัด : ซอยรัชดา 18 (แยก 20 มิถุนา) ถนนรัชดาภิเษก
    ร้านเปิดบริการ : จันทร์-ศุกร์ 16.00-23.00 น. และ เสาร์-อาทิตย์-วันหยุดนักขัตฤกษ์ 11.00-23.00 น.
    โทร : 08-9893-2735

    #ส้มตำในกรุงเทพ #กินสารระนัวร์ #ของอร่อย #Thaitimes
    ร้านหอมปลาเผา ร้านอาหารไทย-อีสาน ซีฟู้ด สุดแซ่บที่ตั้งอยู่ในซอยรัชดา 18 แยก 20 มิถุนา บรรยากาศร้านนั่งสบาย สไตล์อีสาน พร้อมที่จอดรถสะดวก นอกจากนี้เมนูเด็ดในร้านก็มีให้เลือกหลากหลายเมนูเอาใจขาส้มตำสุดๆ โดยเฉพาะตำถาดกุ้งสด และตำถาดหอยแครงลาว ที่แซ่บเด็ด เผ็ดสุดๆ พร้อมเมี่ยงปลาทับทิมรสชาติดี ตบท้ายด้วยไอศกรีมลอดช่องกะทิสด บอกเลยว่า ใช่ ! พิกัด : ซอยรัชดา 18 (แยก 20 มิถุนา) ถนนรัชดาภิเษก ร้านเปิดบริการ : จันทร์-ศุกร์ 16.00-23.00 น. และ เสาร์-อาทิตย์-วันหยุดนักขัตฤกษ์ 11.00-23.00 น. โทร : 08-9893-2735 #ส้มตำในกรุงเทพ #กินสารระนัวร์ #ของอร่อย #Thaitimes
    Like
    Yay
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 612 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 8 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 8 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 6 มุมมอง 0 รีวิว
  • ร้านอร่อยชื่อดัง ที่ทั้งปังและแซ่บ นิตยาไก่ย่าง ที่มีหลายสาขาทั่วกรุงเทพฯ การันตีความอร่อยเด็ดยาวนานมาเป็น 10 ปี มีทั้งอาหารไทย และอาหารอีสานหลายเมนู ส้มตำ ไก่ย่างสูตรเฉพาะที่หลายคนไปแล้วต้องติดใจ ปลาช่อนริมสวน น้ำพริกหนุ่ม ไส้อั่ว และภายในร้านยังสะอาด นั่งสบายอีกด้วย เหมาะกับมื้อร่อยของครอบครัวมากๆ ทีเดียว

    พิกัด : สาขาห้างธัญญาพาร์ค ถ.ศรีนครินทร์, สาขาถนนประชาชื่น, สาขาสี่แยกประชานุกูล, สาขาแยกสะพานพระนั่งเกล้า, สาขาเมืองทองธานี, สาขาพหลโยธิน 8 (ซอยสายลม), สาขาปิ่นเกล้า, สาขารังสิต คลอง 2 ธัญบุรี, สาขาถนนนวมินทร์ 53, สาขาปตท. ไลฟ์พลาซ่า ถนนกาญจนาภิเษก, สาขาเดอะคริสตัล ปตท. (ชั้น 1) ถนนชัยพฤกษ์, สาขาสวนเพลิน มาร์เก็ต (ชั้น 1) ถนนพระราม 4
    ร้านเปิดบริการ : 10.00-21.30 น.
    โทร : 08-9135-1230

    #ส้มตำในกรุงเทพ #กินสารระนัวร์ #ของอร่อย #Thaitimes
    ร้านอร่อยชื่อดัง ที่ทั้งปังและแซ่บ นิตยาไก่ย่าง ที่มีหลายสาขาทั่วกรุงเทพฯ การันตีความอร่อยเด็ดยาวนานมาเป็น 10 ปี มีทั้งอาหารไทย และอาหารอีสานหลายเมนู ส้มตำ ไก่ย่างสูตรเฉพาะที่หลายคนไปแล้วต้องติดใจ ปลาช่อนริมสวน น้ำพริกหนุ่ม ไส้อั่ว และภายในร้านยังสะอาด นั่งสบายอีกด้วย เหมาะกับมื้อร่อยของครอบครัวมากๆ ทีเดียว พิกัด : สาขาห้างธัญญาพาร์ค ถ.ศรีนครินทร์, สาขาถนนประชาชื่น, สาขาสี่แยกประชานุกูล, สาขาแยกสะพานพระนั่งเกล้า, สาขาเมืองทองธานี, สาขาพหลโยธิน 8 (ซอยสายลม), สาขาปิ่นเกล้า, สาขารังสิต คลอง 2 ธัญบุรี, สาขาถนนนวมินทร์ 53, สาขาปตท. ไลฟ์พลาซ่า ถนนกาญจนาภิเษก, สาขาเดอะคริสตัล ปตท. (ชั้น 1) ถนนชัยพฤกษ์, สาขาสวนเพลิน มาร์เก็ต (ชั้น 1) ถนนพระราม 4 ร้านเปิดบริการ : 10.00-21.30 น. โทร : 08-9135-1230 #ส้มตำในกรุงเทพ #กินสารระนัวร์ #ของอร่อย #Thaitimes
    Like
    Yay
    6
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 631 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 8 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 6 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 6 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/GvYjAF6dhfI?si=MFq_dRUAJBhwmBLz
    https://youtu.be/GvYjAF6dhfI?si=MFq_dRUAJBhwmBLz
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 12 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 7 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 9 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 6 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 7 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 8 มุมมอง 0 รีวิว
  • Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 16 มุมมอง 0 รีวิว
  • วันที่ 20 กันยายน นายณรงวิทย์ ชดช้อย ผู้อำนวยการสวนสัตว์เปิดเขาเขียว เปิดเผยว่า สวนสัตว์เปิดเขาเขียว ได้เปิดไลฟ์สตรีม 24 ชม. เพื่อให้แฟนคลับของ หมูเด้ง ได้ดูหมูเด้งได้ 24 ชั่วโมง โดยดูได้ที่
    》》
    https://www.zoodio.live/th/live-streaming
    《《
    วันที่ 20 กันยายน นายณรงวิทย์ ชดช้อย ผู้อำนวยการสวนสัตว์เปิดเขาเขียว เปิดเผยว่า สวนสัตว์เปิดเขาเขียว ได้เปิดไลฟ์สตรีม 24 ชม. เพื่อให้แฟนคลับของ หมูเด้ง ได้ดูหมูเด้งได้ 24 ชั่วโมง โดยดูได้ที่ 》》 https://www.zoodio.live/th/live-streaming 《《
    Zoodio
    Beautifully designed components built with Radix UI and Tailwind CSS.
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 130 มุมมอง 0 รีวิว
  • ยังมาเรื่อยๆๆ
    ยังมาเรื่อยๆๆ
    Sad
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 18 มุมมอง 0 รีวิว
  • ในบางความขัดแย้ง เข้าไปยุ่งมากไม่ได้จริงๆ
    เพราะเราไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้อง และอยู่ในทุกเหตุการณ์
    #ปล่อยวาง
    ในบางความขัดแย้ง เข้าไปยุ่งมากไม่ได้จริงๆ เพราะเราไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้อง และอยู่ในทุกเหตุการณ์ #ปล่อยวาง
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 26 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 9 มุมมอง 0 รีวิว
  • แน่ และ ทรู คือ Nature ธรรมะ/ชาติ ครับ
    แน่ และ ทรู คือ Nature ธรรมะ/ชาติ ครับ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 30 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 9 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 9 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 9 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 8 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 13 มุมมอง 0 รีวิว
  • VMT ; Vej Mol Tra..,เวทย์มลตรา!!!
    @ ชุดเบญจมหากาฬ =>> “หนุมาน เสือ สิงห์ ลิง แพะ”
    =============================
    “คาถาน่ะไม่ขลังหรอก เขาเอาไว้ท่องเอาไว้เป็นองค์ภาวนาเพื่อให้จิตเป็นหนึ่งต่างหาก เหมือนเราจะเดินข้ามแม่น้ำที่ไหลเชี่ยว
    เปรียบเหมือนกำลังจิตที่ไม่เป็นระเบียบ ไม่เป็นอำนาจอันมหาศาล ต้องอาศัยการภาวนาคาถาเพื่อให้จิตเป็นหนึ่ง ใช้คาถานั่นแหละเป็นองค์ภาวนาต่างสะพานข้ามฟากไป
    พอจิตข้ามฟากไปถึงจุดหมายปลายทาง คือเป็นหนึ่งเป็นพลังมหาศาลแล้วก็รื้อสะพาน คือคาถาที่ภาวนาทิ้งไป จิตเป็นหนึ่งเป็นพลังมหาศาล แล้วเขาเรียกว่าจิตตานุภาพ
    ฉันจึงไม่ต้องท่องคาถา แต่ใช้เจริญจิตให้เป็นหนึ่งแล้วเป่าลมปราณ อธิษฐานให้เขาสมหวังว่า เพี้ยง ดี เพี้ยง ดี เข้าใจหรือยังล่ะ ไปท่องต่อไป ท่องให้จิตมันข้ามฟากให้ได้”
    <<< ท่านอาจารย์ปู่ หลวงพ่อเดิม พุทธสโร >>>
    (ถ่ายทอดโดย หลวงพ่อจรัญ ฐิตธัมโม)
    VMT ; Vej Mol Tra..,เวทย์มลตรา!!! @ ชุดเบญจมหากาฬ =>> “หนุมาน เสือ สิงห์ ลิง แพะ” ============================= “คาถาน่ะไม่ขลังหรอก เขาเอาไว้ท่องเอาไว้เป็นองค์ภาวนาเพื่อให้จิตเป็นหนึ่งต่างหาก เหมือนเราจะเดินข้ามแม่น้ำที่ไหลเชี่ยว เปรียบเหมือนกำลังจิตที่ไม่เป็นระเบียบ ไม่เป็นอำนาจอันมหาศาล ต้องอาศัยการภาวนาคาถาเพื่อให้จิตเป็นหนึ่ง ใช้คาถานั่นแหละเป็นองค์ภาวนาต่างสะพานข้ามฟากไป พอจิตข้ามฟากไปถึงจุดหมายปลายทาง คือเป็นหนึ่งเป็นพลังมหาศาลแล้วก็รื้อสะพาน คือคาถาที่ภาวนาทิ้งไป จิตเป็นหนึ่งเป็นพลังมหาศาล แล้วเขาเรียกว่าจิตตานุภาพ ฉันจึงไม่ต้องท่องคาถา แต่ใช้เจริญจิตให้เป็นหนึ่งแล้วเป่าลมปราณ อธิษฐานให้เขาสมหวังว่า เพี้ยง ดี เพี้ยง ดี เข้าใจหรือยังล่ะ ไปท่องต่อไป ท่องให้จิตมันข้ามฟากให้ได้” <<< ท่านอาจารย์ปู่ หลวงพ่อเดิม พุทธสโร >>> (ถ่ายทอดโดย หลวงพ่อจรัญ ฐิตธัมโม)
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 75 มุมมอง 0 รีวิว
  • ด้านมืด "กามิน" กับ แก๊งฟอกเงินใน TikTok

    เปิดโปง “ขบวนการกิมจิ๊ ข้ามชาติ”
    ยกทัพต้มตุ๋น ดูดเงินคนไทย

    #sondhitalk #sondhix #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #สนธิทอร์ค #แก๊งเกาหลี #กามิน #ฟอกเงิน #tiktok
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 14 มุมมอง 30172 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 8 มุมมอง 0 รีวิว
  • Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 32 มุมมอง 0 รีวิว
  • ♣ โทนี่-ธร ล่อเสือออกจากถ้ำ ด้วยการนิรโทษฯล้างผิด และแก้รธน.ห้ามยุบพรรค
    #7ดอกจิก
    ♣ โทนี่-ธร ล่อเสือออกจากถ้ำ ด้วยการนิรโทษฯล้างผิด และแก้รธน.ห้ามยุบพรรค #7ดอกจิก
    Like
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 290 มุมมอง 208 0 รีวิว
  • Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 30 มุมมอง 0 รีวิว
  • 1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 10 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 8 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 7 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 7 มุมมอง 0 รีวิว
  • Yay
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 16 มุมมอง 0 รีวิว
  • เทคโนโลยีใหม่ ที่มียอดการรับชมเกือบ 4 หมื่นครั้ง https://youtu.be/CUN8ATM7uBQ #chatgpt #แปลภาษา
    เทคโนโลยีใหม่ ที่มียอดการรับชมเกือบ 4 หมื่นครั้ง https://youtu.be/CUN8ATM7uBQ #chatgpt #แปลภาษา
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 33 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 7 มุมมอง 0 รีวิว
  • Time to say goodbye
    Time to say goodbye
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 104 มุมมอง 37 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 14 มุมมอง 0 รีวิว
  • เทปวันนี้สนุกมากค่ะ ... ขำก๊ากเลยตอนที่คุณสนธิบอกว่า "...กูขึ้นศาลมาตั้งแต่มึงยังแก้ผ้าเล่นน้ำฝนอยู่เลย!" 🤣

    https://www.youtube.com/watch?v=xUo8tNUV6p4
    เทปวันนี้สนุกมากค่ะ ... ขำก๊ากเลยตอนที่คุณสนธิบอกว่า "...กูขึ้นศาลมาตั้งแต่มึงยังแก้ผ้าเล่นน้ำฝนอยู่เลย!" 🤣 https://www.youtube.com/watch?v=xUo8tNUV6p4
    Like
    1
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 900 มุมมอง 0 รีวิว
  • บุคคลผู้หนึ่งซึ่งเป็นฆราวาสตื่นธรรม ท่านถามว่าทำไมต้องสร้างวัตถุมงคลเพื่อหาเงินไปสร้างวัดด้วย ? ไปอยู่ป่าก็ได้..! รู้สึกว่าท่านจะตอบแบบมักง่าย และยกตนเองว่าเป็นผู้ใฝ่สันโดษ หรือว่าปฏิบัติถูกต้องตามพระธรรมวินัยอยู่คนเดียว

    ตรงจุดนี้ท่านทั้งหลายต้องเข้าใจว่า แม้แต่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็ไม่ประทานพระบรมพุทธานุญาตตามที่พระเทวทัตขอ ว่าให้พระภิกษุทั้งหมดอยู่ป่า ห้ามอยู่ในบ้านในเมือง โดยพระองค์ตรัสว่า ผู้ที่ใคร่จะอยู่ป่าก็จงอยู่ป่า ผู้ที่ใคร่จะอยู่ในเมืองก็จงอยู่ในเมือง

    เนื่องเพราะพระองค์มีวิสัยทัศน์อันยาวไกล หรือว่ามีพระสัพพัญญุตญาณที่รู้ อดีต ปัจจุบัน และอนาคต รู้ดีว่าโลกภายภาคหน้าจะเปลี่ยนแปลงไปขนาดไหน ทำให้พระภิกษุสงฆ์ถ้าหากว่าประพฤติวัตรปฏิบัติธรรมด้วยการอยู่ป่าอย่างเดียว จะกลายเป็นไม่มีที่อยู่ก็ได้..!

    โดยเฉพาะในปัจจุบันนี้ผืนป่าต่าง ๆ ซึ่งเป็นที่อยู่ได้นั้นไม่มีเหลืออีกแล้ว ยกเว้นวัดต่าง ๆ ที่สร้างขึ้นมาก่อน แล้วยังคงความเป็นวัดป่าอยู่ก็พอที่จะมีพื้นที่ป่าเหลืออยู่บ้าง ไม่ต้องอื่นไกลที่ไหน แค่อำเภอทองผาภูมิที่กระผม/อาตมภาพอยู่นี่แหละ บรรดาพระภิกษุผู้อยู่ป่านับร้อย ๆ ราย โดนเจ้าหน้าที่นิมนต์ออกจากป่ามาทั้งหมด เนื่องเพราะว่าสถานที่เหล่านั้นเป็นอุทยานแห่งชาติบ้าง เป็นเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าบ้าง แม้ว่าจะประกาศขึ้นทีหลัง โดยที่พระท่านไปอยู่ก่อนแล้วก็ตาม แต่ก็โดนนิมนต์ออกมาจนเกือบจะหมด ยกเว้นท่านที่ได้รับการตั้งขึ้นเป็นวัดหรือสำนักสงฆ์อย่างถูกต้องแล้วเท่านั้น
    ดังนั้น..ท่านที่พูดชุ่ย ๆ ว่าไม่จำเป็นที่จะต้องสร้างวัด ให้พระภิกษุไปอยู่ป่าอย่างเดียว ถ้าอย่างนั้นตั้งแต่โบราณมา เราก็คงไม่มีพระคามวาสีคือฝ่ายที่อยู่วัด และอรัญวาสีคือฝ่ายที่อยู่ป่า ในเมื่อบ้านเรามีการแยกวัดบ้านและวัดป่าอย่างชัดเจนแบบนี้ แล้วท่านยังจะให้ปฏิบัติตามปฏิปทาของพระเทวทัตอยู่อีกหรือ ?

    กระผม/อาตมภาพคาดว่าไม่มีใครอยากเป็นลูกศิษย์พระเทวทัต มีแต่อยากจะเป็นลูกศิษย์พระพุทธเจ้าเท่านั้น ดังนั้น..สิ่งที่ท่านได้กล่าวมาก็ขอให้กล่าวโดยรอบคอบกว่านี้ ดูบริบทของสังคมเราด้วยว่าเปลี่ยนแปลงไปขนาดไหนแล้ว

    สมัยพุทธกาลมีบรรดาเจ้าพระยามหากษัตริย์หรือว่ามหาเศรษฐี ท่านปวารณาสร้างวัดวาอารามให้ แม้แต่ในยุคสมัยต่อ ๆ มาในประเทศไทยของเราตั้งแต่ปรากฏประวัติศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็นยุคกรุงสุโขทัย ยุคกรุงศรีอยุธยา ยุคกรุงธนบุรี มาถึงยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น ก็มีการสร้างวัดเพื่อบุญกุศลในวิหารทาน ในขณะเดียวกันก็มีคำพูดประเภทว่า บรรดาเจ้าใหญ่นายโตนั้น "สร้างวัดเพื่อให้ลูกหลานได้มีที่สำหรับวิ่งเล่น..!"

    ในเมื่อยุคต่อ ๆ มา บริบทของสังคมเปลี่ยนแปลงไป ผู้คนได้เข้าสู่ส่วนของการใช้แรงงานต่าง ๆ มากมาย จนกระทั่งไม่มีเวลาที่จะไปช่วยเหลือวัด แม้กระทั่งผู้ที่ร่ำรวยด้วยเงินด้วยทองก็ติดหน้าที่การงานต่าง ๆ จนถึงขนาดไม่มีเวลาให้วัด ยกตัวอย่างบุคคลท่านหนึ่ง นามสกุลของท่านถ้าบอกไปแล้วต้องรู้จักกันทั้งประเทศไทย ท่านปวารณาเอาไว้ว่า กระผม/อาตมภาพจะสร้างหนี้เท่าไรก็ได้ ทุกสิ้นปีให้แจ้งไป ท่านจะจัดการ "เคลียร์หนี้" ให้ แต่เมื่อกระผม/อาตมภาพแจ้งไปแล้ว ปรากฏว่าท่านมักจะติดด้วยงานด้วยการ ไม่สามารถที่จะปลีกตัวได้

    ตอนนั้นกระผม/อาตมภาพยังรับสังฆทานอยู่ที่บ้านอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ท่านมีเวลาแค่โทรศัพท์มาว่าตอนนี้วิ่งมาใกล้จะถึงแล้ว ให้กระผม/อาตมภาพลงไปรอในบริเวณนั้นบริเวณนี้ เมื่อท่านมาถึงแล้วก็เปิดหน้าต่างรถ ส่งเงินให้แล้วก็วิ่งต่อไป กระผม/อาตมภาพเจอแบบนั้นเข้าสองครั้ง ก็ไม่กล้าที่จะรบกวนอีกเลย..!

    ดังนั้น..ต่อให้ปวารณาไว้โดยที่ท่านร่ำรวยขนาดไหนก็ตาม กระผม/อาตมภาพก็แกล้งลืมเบอร์โทรศัพท์ไม่โทรไปหาอีก เนื่องเพราะเคยได้ยินมาว่าท่านเคยโทรสั่งโบรกเกอร์ช้าไปนาทีเดียว แล้วเสียหุ้นไป ๒๐ ล้านบาทโดยประมาณ..! ในเมื่อเป็นเช่นนั้น ใครจะกล้าไปรบกวนเวลาของท่านอีก..!
    ในเมื่อบุคคลที่มีฐานะเพียงพอที่จะช่วยเหลือในการบูรณปฏิสังขรณ์วัดวาอาราม ส่วนใหญ่ก็ติดด้วยภาระหน้าที่ต่าง ๆ จึงมักจะนำเงินนำทองไปมอบให้กับพระภิกษุ โดยเฉพาะหลวงปู่หลวงพ่อเจ้าอาวาส ท่านได้จัดการบูรณปฏิสังขรณ์วัดเอง ตรงส่วนนี้จึงทำให้สภาพสังคมเปลี่ยนแปลงไป วัดที่มีผู้ปวารณาไว้ก็ยังคงต้องทำงานด้วยตนเอง แต่วัดที่ไม่มีผู้ปวารณาไว้ ก็ต้องหาเงินหาทองมาเพื่อบูรณะก็คือทำของเก่าให้ดีขึ้น และปฏิสังขรณ์คือสร้างของใหม่ให้เพียงพอต่อการใช้งาน

    ไม่เช่นนั้นแล้วหลวงปู่หลวงพ่อเจ้าอาวาสนั่นแหละ ที่ท่านเป็นเจ้าพนักงานโดยกฎหมาย จะกลายเป็นละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ ก็คือไม่ปกครองสอดส่องฆราวาสก็ยังพอทน แต่การไม่บูรณปฏิสังขรณ์วัดวาอาราม เพื่อให้มั่นคงแข็งแรงสมกับเป็นอารามในพระพุทธศาสนา ให้พุทธศาสนิกชนได้เข้าไปบำเพ็ญกุศลโดยสะดวก ก็กลายเป็นว่านอกจากจะผิดทางโลกแล้ว ยังผิดทางธรรมอีกด้วย

    ในทางโลกก็คือผิดกฎหมายในฐานะเจ้าพนักงานละเว้นปฏิบัติหน้าที่ ในทางธรรมก็คือบุคคลที่เว้นจากหน้าที่ซึ่งตนรับผิดชอบนั้น ต้องบอกว่าเป็นผู้ที่ไม่มีหลักธรรมประจำใจ ก็คือขาดไปเสียทุกส่วน ไม่เช่นนั้นแล้วอย่างน้อยก็ต้องทำความสะอาดวัดวาอารามให้น่าอยู่น่าอาศัย

    ประการต่อไปก็คือพุทธศาสนิกชนคนไทยของเรา ซึ่งมีอยู่ ๙๐ กว่าเปอร์เซ็นต์ ท่านผู้กล่าวว่าให้พระภิกษุสงฆ์ไปอยู่ป่า แล้วจะให้พุทธศาสนิกชนทั้งหลายเหล่านั้นตะเกียกตะกายเข้าป่าไปทำบุญกัน แล้วท่านคิดว่าจะใช่หรือไม่ ?
    ในเรื่องของธรรมะนั้น ไม่ใช่พูดชุ่ย ๆ แบบ "ตีหัวเข้าบ้าน" ปราศจากความรับผิดชอบ เพราะว่าเรื่องทั้งหลายเหล่านี้นั้นเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อน กำลังใจของคนแต่ละระดับไม่เท่ากัน ใครที่ชอบคำพูดดุเดือดหยาบคาย ไปฟังท่านแล้วชอบใจ ก็ถือว่ามีจริตนิสัยใกล้เคียงกัน ท่านสามารถสอนเขาให้ตื่นรู้ได้ก็สอนไปเถิด

    แต่ว่าบุคคลที่เป็นส่วนใหญ่ของประเทศ ไม่ใช่แค่หยิบมือเดียวอย่างที่ท่านสอนอยู่ จะให้ทุกคนเป็นเหมือนกันย่อมเป็นไปไม่ได้ ท่านทำอาหารรสชาติที่เผ็ดกระโดดจนกระทั่งคนกินไปร้องไห้ไป แล้วท่านจะไปยัดเยียดให้ทุกคนกินอาหารรสชาตินั้นก็ย่อมเป็นไปไม่ได้

    ดังนั้น..ในเรื่องของธรรมะ กระผม/อาตมภาพจึงได้กล่าวเอาไว้ว่า ไม่เคยให้ราคาสำหรับฆราวาสผู้สอนธรรม เนื่องเพราะว่าฆราวาสที่เก่งจริงนั้นตายไปหมดแล้ว..! เหตุที่เป็นเช่นนั้นก็เพราะว่าถ้าบุคคลที่เก่งจริง เข้าถึงธรรมจริง ๆ คุณงามความดีทั้งหลายเหล่านั้นมากเกินกว่าที่จะทรงอยู่ในร่างฆราวาสได้ เพราะว่าอาจจะเป็นทุกข์เป็นโทษให้กับผู้อื่น จึงต้องโดนตัดให้ตายลงไป ในเมื่อท่านยังทรงความเป็นฆราวาสอยู่ได้ ก็แปลว่ายังเข้าไม่ถึงธรรมอย่างแท้จริงนั่นเอง

    ถ้าหากว่าสิ่งที่ว่ากล่าวไปนี้ มีอะไรที่ทำให้ท่านเห็นว่าไม่ถูกต้องถูกใจ ก็สามารถที่จะโต้แย้งได้ แต่ให้โต้แย้งโดยหลักธรรม อย่าได้เอาทิฏฐิหรือว่าโทสะในส่วนความเห็นเฉพาะตนมาโต้แย้ง เพราะว่ามีแต่จะทำให้เสียเวล่ำเวลา ไปนั่งภาวนาเสียยังจะดีกว่า
    พระครูวิลาศกาญจนธรรม, ดร.
    เสียงธรรมจากวัดท่าขนุน
    วันเสาร์ที่ ๒๑ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๖๗
    (ถอดจากเสียงเป็นอักษร โดย เผือกน้อย)
    __________________
    บุคคลผู้หนึ่งซึ่งเป็นฆราวาสตื่นธรรม ท่านถามว่าทำไมต้องสร้างวัตถุมงคลเพื่อหาเงินไปสร้างวัดด้วย ? ไปอยู่ป่าก็ได้..! รู้สึกว่าท่านจะตอบแบบมักง่าย และยกตนเองว่าเป็นผู้ใฝ่สันโดษ หรือว่าปฏิบัติถูกต้องตามพระธรรมวินัยอยู่คนเดียว ตรงจุดนี้ท่านทั้งหลายต้องเข้าใจว่า แม้แต่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็ไม่ประทานพระบรมพุทธานุญาตตามที่พระเทวทัตขอ ว่าให้พระภิกษุทั้งหมดอยู่ป่า ห้ามอยู่ในบ้านในเมือง โดยพระองค์ตรัสว่า ผู้ที่ใคร่จะอยู่ป่าก็จงอยู่ป่า ผู้ที่ใคร่จะอยู่ในเมืองก็จงอยู่ในเมือง เนื่องเพราะพระองค์มีวิสัยทัศน์อันยาวไกล หรือว่ามีพระสัพพัญญุตญาณที่รู้ อดีต ปัจจุบัน และอนาคต รู้ดีว่าโลกภายภาคหน้าจะเปลี่ยนแปลงไปขนาดไหน ทำให้พระภิกษุสงฆ์ถ้าหากว่าประพฤติวัตรปฏิบัติธรรมด้วยการอยู่ป่าอย่างเดียว จะกลายเป็นไม่มีที่อยู่ก็ได้..! โดยเฉพาะในปัจจุบันนี้ผืนป่าต่าง ๆ ซึ่งเป็นที่อยู่ได้นั้นไม่มีเหลืออีกแล้ว ยกเว้นวัดต่าง ๆ ที่สร้างขึ้นมาก่อน แล้วยังคงความเป็นวัดป่าอยู่ก็พอที่จะมีพื้นที่ป่าเหลืออยู่บ้าง ไม่ต้องอื่นไกลที่ไหน แค่อำเภอทองผาภูมิที่กระผม/อาตมภาพอยู่นี่แหละ บรรดาพระภิกษุผู้อยู่ป่านับร้อย ๆ ราย โดนเจ้าหน้าที่นิมนต์ออกจากป่ามาทั้งหมด เนื่องเพราะว่าสถานที่เหล่านั้นเป็นอุทยานแห่งชาติบ้าง เป็นเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าบ้าง แม้ว่าจะประกาศขึ้นทีหลัง โดยที่พระท่านไปอยู่ก่อนแล้วก็ตาม แต่ก็โดนนิมนต์ออกมาจนเกือบจะหมด ยกเว้นท่านที่ได้รับการตั้งขึ้นเป็นวัดหรือสำนักสงฆ์อย่างถูกต้องแล้วเท่านั้น ดังนั้น..ท่านที่พูดชุ่ย ๆ ว่าไม่จำเป็นที่จะต้องสร้างวัด ให้พระภิกษุไปอยู่ป่าอย่างเดียว ถ้าอย่างนั้นตั้งแต่โบราณมา เราก็คงไม่มีพระคามวาสีคือฝ่ายที่อยู่วัด และอรัญวาสีคือฝ่ายที่อยู่ป่า ในเมื่อบ้านเรามีการแยกวัดบ้านและวัดป่าอย่างชัดเจนแบบนี้ แล้วท่านยังจะให้ปฏิบัติตามปฏิปทาของพระเทวทัตอยู่อีกหรือ ? กระผม/อาตมภาพคาดว่าไม่มีใครอยากเป็นลูกศิษย์พระเทวทัต มีแต่อยากจะเป็นลูกศิษย์พระพุทธเจ้าเท่านั้น ดังนั้น..สิ่งที่ท่านได้กล่าวมาก็ขอให้กล่าวโดยรอบคอบกว่านี้ ดูบริบทของสังคมเราด้วยว่าเปลี่ยนแปลงไปขนาดไหนแล้ว สมัยพุทธกาลมีบรรดาเจ้าพระยามหากษัตริย์หรือว่ามหาเศรษฐี ท่านปวารณาสร้างวัดวาอารามให้ แม้แต่ในยุคสมัยต่อ ๆ มาในประเทศไทยของเราตั้งแต่ปรากฏประวัติศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็นยุคกรุงสุโขทัย ยุคกรุงศรีอยุธยา ยุคกรุงธนบุรี มาถึงยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น ก็มีการสร้างวัดเพื่อบุญกุศลในวิหารทาน ในขณะเดียวกันก็มีคำพูดประเภทว่า บรรดาเจ้าใหญ่นายโตนั้น "สร้างวัดเพื่อให้ลูกหลานได้มีที่สำหรับวิ่งเล่น..!" ในเมื่อยุคต่อ ๆ มา บริบทของสังคมเปลี่ยนแปลงไป ผู้คนได้เข้าสู่ส่วนของการใช้แรงงานต่าง ๆ มากมาย จนกระทั่งไม่มีเวลาที่จะไปช่วยเหลือวัด แม้กระทั่งผู้ที่ร่ำรวยด้วยเงินด้วยทองก็ติดหน้าที่การงานต่าง ๆ จนถึงขนาดไม่มีเวลาให้วัด ยกตัวอย่างบุคคลท่านหนึ่ง นามสกุลของท่านถ้าบอกไปแล้วต้องรู้จักกันทั้งประเทศไทย ท่านปวารณาเอาไว้ว่า กระผม/อาตมภาพจะสร้างหนี้เท่าไรก็ได้ ทุกสิ้นปีให้แจ้งไป ท่านจะจัดการ "เคลียร์หนี้" ให้ แต่เมื่อกระผม/อาตมภาพแจ้งไปแล้ว ปรากฏว่าท่านมักจะติดด้วยงานด้วยการ ไม่สามารถที่จะปลีกตัวได้ ตอนนั้นกระผม/อาตมภาพยังรับสังฆทานอยู่ที่บ้านอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ท่านมีเวลาแค่โทรศัพท์มาว่าตอนนี้วิ่งมาใกล้จะถึงแล้ว ให้กระผม/อาตมภาพลงไปรอในบริเวณนั้นบริเวณนี้ เมื่อท่านมาถึงแล้วก็เปิดหน้าต่างรถ ส่งเงินให้แล้วก็วิ่งต่อไป กระผม/อาตมภาพเจอแบบนั้นเข้าสองครั้ง ก็ไม่กล้าที่จะรบกวนอีกเลย..! ดังนั้น..ต่อให้ปวารณาไว้โดยที่ท่านร่ำรวยขนาดไหนก็ตาม กระผม/อาตมภาพก็แกล้งลืมเบอร์โทรศัพท์ไม่โทรไปหาอีก เนื่องเพราะเคยได้ยินมาว่าท่านเคยโทรสั่งโบรกเกอร์ช้าไปนาทีเดียว แล้วเสียหุ้นไป ๒๐ ล้านบาทโดยประมาณ..! ในเมื่อเป็นเช่นนั้น ใครจะกล้าไปรบกวนเวลาของท่านอีก..! ในเมื่อบุคคลที่มีฐานะเพียงพอที่จะช่วยเหลือในการบูรณปฏิสังขรณ์วัดวาอาราม ส่วนใหญ่ก็ติดด้วยภาระหน้าที่ต่าง ๆ จึงมักจะนำเงินนำทองไปมอบให้กับพระภิกษุ โดยเฉพาะหลวงปู่หลวงพ่อเจ้าอาวาส ท่านได้จัดการบูรณปฏิสังขรณ์วัดเอง ตรงส่วนนี้จึงทำให้สภาพสังคมเปลี่ยนแปลงไป วัดที่มีผู้ปวารณาไว้ก็ยังคงต้องทำงานด้วยตนเอง แต่วัดที่ไม่มีผู้ปวารณาไว้ ก็ต้องหาเงินหาทองมาเพื่อบูรณะก็คือทำของเก่าให้ดีขึ้น และปฏิสังขรณ์คือสร้างของใหม่ให้เพียงพอต่อการใช้งาน ไม่เช่นนั้นแล้วหลวงปู่หลวงพ่อเจ้าอาวาสนั่นแหละ ที่ท่านเป็นเจ้าพนักงานโดยกฎหมาย จะกลายเป็นละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ ก็คือไม่ปกครองสอดส่องฆราวาสก็ยังพอทน แต่การไม่บูรณปฏิสังขรณ์วัดวาอาราม เพื่อให้มั่นคงแข็งแรงสมกับเป็นอารามในพระพุทธศาสนา ให้พุทธศาสนิกชนได้เข้าไปบำเพ็ญกุศลโดยสะดวก ก็กลายเป็นว่านอกจากจะผิดทางโลกแล้ว ยังผิดทางธรรมอีกด้วย ในทางโลกก็คือผิดกฎหมายในฐานะเจ้าพนักงานละเว้นปฏิบัติหน้าที่ ในทางธรรมก็คือบุคคลที่เว้นจากหน้าที่ซึ่งตนรับผิดชอบนั้น ต้องบอกว่าเป็นผู้ที่ไม่มีหลักธรรมประจำใจ ก็คือขาดไปเสียทุกส่วน ไม่เช่นนั้นแล้วอย่างน้อยก็ต้องทำความสะอาดวัดวาอารามให้น่าอยู่น่าอาศัย ประการต่อไปก็คือพุทธศาสนิกชนคนไทยของเรา ซึ่งมีอยู่ ๙๐ กว่าเปอร์เซ็นต์ ท่านผู้กล่าวว่าให้พระภิกษุสงฆ์ไปอยู่ป่า แล้วจะให้พุทธศาสนิกชนทั้งหลายเหล่านั้นตะเกียกตะกายเข้าป่าไปทำบุญกัน แล้วท่านคิดว่าจะใช่หรือไม่ ? ในเรื่องของธรรมะนั้น ไม่ใช่พูดชุ่ย ๆ แบบ "ตีหัวเข้าบ้าน" ปราศจากความรับผิดชอบ เพราะว่าเรื่องทั้งหลายเหล่านี้นั้นเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อน กำลังใจของคนแต่ละระดับไม่เท่ากัน ใครที่ชอบคำพูดดุเดือดหยาบคาย ไปฟังท่านแล้วชอบใจ ก็ถือว่ามีจริตนิสัยใกล้เคียงกัน ท่านสามารถสอนเขาให้ตื่นรู้ได้ก็สอนไปเถิด แต่ว่าบุคคลที่เป็นส่วนใหญ่ของประเทศ ไม่ใช่แค่หยิบมือเดียวอย่างที่ท่านสอนอยู่ จะให้ทุกคนเป็นเหมือนกันย่อมเป็นไปไม่ได้ ท่านทำอาหารรสชาติที่เผ็ดกระโดดจนกระทั่งคนกินไปร้องไห้ไป แล้วท่านจะไปยัดเยียดให้ทุกคนกินอาหารรสชาตินั้นก็ย่อมเป็นไปไม่ได้ ดังนั้น..ในเรื่องของธรรมะ กระผม/อาตมภาพจึงได้กล่าวเอาไว้ว่า ไม่เคยให้ราคาสำหรับฆราวาสผู้สอนธรรม เนื่องเพราะว่าฆราวาสที่เก่งจริงนั้นตายไปหมดแล้ว..! เหตุที่เป็นเช่นนั้นก็เพราะว่าถ้าบุคคลที่เก่งจริง เข้าถึงธรรมจริง ๆ คุณงามความดีทั้งหลายเหล่านั้นมากเกินกว่าที่จะทรงอยู่ในร่างฆราวาสได้ เพราะว่าอาจจะเป็นทุกข์เป็นโทษให้กับผู้อื่น จึงต้องโดนตัดให้ตายลงไป ในเมื่อท่านยังทรงความเป็นฆราวาสอยู่ได้ ก็แปลว่ายังเข้าไม่ถึงธรรมอย่างแท้จริงนั่นเอง ถ้าหากว่าสิ่งที่ว่ากล่าวไปนี้ มีอะไรที่ทำให้ท่านเห็นว่าไม่ถูกต้องถูกใจ ก็สามารถที่จะโต้แย้งได้ แต่ให้โต้แย้งโดยหลักธรรม อย่าได้เอาทิฏฐิหรือว่าโทสะในส่วนความเห็นเฉพาะตนมาโต้แย้ง เพราะว่ามีแต่จะทำให้เสียเวล่ำเวลา ไปนั่งภาวนาเสียยังจะดีกว่า พระครูวิลาศกาญจนธรรม, ดร. เสียงธรรมจากวัดท่าขนุน วันเสาร์ที่ ๒๑ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๖๗ (ถอดจากเสียงเป็นอักษร โดย เผือกน้อย) __________________
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 353 มุมมอง 0 รีวิว
  • บุคคลผู้หนึ่งซึ่งเป็นฆราวาสตื่นธรรม ท่านถามว่าทำไมต้องสร้างวัตถุมงคลเพื่อหาเงินไปสร้างวัดด้วย ? ไปอยู่ป่าก็ได้..! รู้สึกว่าท่านจะตอบแบบมักง่าย และยกตนเองว่าเป็นผู้ใฝ่สันโดษ หรือว่าปฏิบัติถูกต้องตามพระธรรมวินัยอยู่คนเดียว

    ตรงจุดนี้ท่านทั้งหลายต้องเข้าใจว่า แม้แต่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็ไม่ประทานพระบรมพุทธานุญาตตามที่พระเทวทัตขอ ว่าให้พระภิกษุทั้งหมดอยู่ป่า ห้ามอยู่ในบ้านในเมือง โดยพระองค์ตรัสว่า ผู้ที่ใคร่จะอยู่ป่าก็จงอยู่ป่า ผู้ที่ใคร่จะอยู่ในเมืองก็จงอยู่ในเมือง

    เนื่องเพราะพระองค์มีวิสัยทัศน์อันยาวไกล หรือว่ามีพระสัพพัญญุตญาณที่รู้ อดีต ปัจจุบัน และอนาคต รู้ดีว่าโลกภายภาคหน้าจะเปลี่ยนแปลงไปขนาดไหน ทำให้พระภิกษุสงฆ์ถ้าหากว่าประพฤติวัตรปฏิบัติธรรมด้วยการอยู่ป่าอย่างเดียว จะกลายเป็นไม่มีที่อยู่ก็ได้..!

    โดยเฉพาะในปัจจุบันนี้ผืนป่าต่าง ๆ ซึ่งเป็นที่อยู่ได้นั้นไม่มีเหลืออีกแล้ว ยกเว้นวัดต่าง ๆ ที่สร้างขึ้นมาก่อน แล้วยังคงความเป็นวัดป่าอยู่ก็พอที่จะมีพื้นที่ป่าเหลืออยู่บ้าง ไม่ต้องอื่นไกลที่ไหน แค่อำเภอทองผาภูมิที่กระผม/อาตมภาพอยู่นี่แหละ บรรดาพระภิกษุผู้อยู่ป่านับร้อย ๆ ราย โดนเจ้าหน้าที่นิมนต์ออกจากป่ามาทั้งหมด เนื่องเพราะว่าสถานที่เหล่านั้นเป็นอุทยานแห่งชาติบ้าง เป็นเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าบ้าง แม้ว่าจะประกาศขึ้นทีหลัง โดยที่พระท่านไปอยู่ก่อนแล้วก็ตาม แต่ก็โดนนิมนต์ออกมาจนเกือบจะหมด ยกเว้นท่านที่ได้รับการตั้งขึ้นเป็นวัดหรือสำนักสงฆ์อย่างถูกต้องแล้วเท่านั้น
    ดังนั้น..ท่านที่พูดชุ่ย ๆ ว่าไม่จำเป็นที่จะต้องสร้างวัด ให้พระภิกษุไปอยู่ป่าอย่างเดียว ถ้าอย่างนั้นตั้งแต่โบราณมา เราก็คงไม่มีพระคามวาสีคือฝ่ายที่อยู่วัด และอรัญวาสีคือฝ่ายที่อยู่ป่า ในเมื่อบ้านเรามีการแยกวัดบ้านและวัดป่าอย่างชัดเจนแบบนี้ แล้วท่านยังจะให้ปฏิบัติตามปฏิปทาของพระเทวทัตอยู่อีกหรือ ?

    กระผม/อาตมภาพคาดว่าไม่มีใครอยากเป็นลูกศิษย์พระเทวทัต มีแต่อยากจะเป็นลูกศิษย์พระพุทธเจ้าเท่านั้น ดังนั้น..สิ่งที่ท่านได้กล่าวมาก็ขอให้กล่าวโดยรอบคอบกว่านี้ ดูบริบทของสังคมเราด้วยว่าเปลี่ยนแปลงไปขนาดไหนแล้ว

    สมัยพุทธกาลมีบรรดาเจ้าพระยามหากษัตริย์หรือว่ามหาเศรษฐี ท่านปวารณาสร้างวัดวาอารามให้ แม้แต่ในยุคสมัยต่อ ๆ มาในประเทศไทยของเราตั้งแต่ปรากฏประวัติศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็นยุคกรุงสุโขทัย ยุคกรุงศรีอยุธยา ยุคกรุงธนบุรี มาถึงยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น ก็มีการสร้างวัดเพื่อบุญกุศลในวิหารทาน ในขณะเดียวกันก็มีคำพูดประเภทว่า บรรดาเจ้าใหญ่นายโตนั้น "สร้างวัดเพื่อให้ลูกหลานได้มีที่สำหรับวิ่งเล่น..!"

    ในเมื่อยุคต่อ ๆ มา บริบทของสังคมเปลี่ยนแปลงไป ผู้คนได้เข้าสู่ส่วนของการใช้แรงงานต่าง ๆ มากมาย จนกระทั่งไม่มีเวลาที่จะไปช่วยเหลือวัด แม้กระทั่งผู้ที่ร่ำรวยด้วยเงินด้วยทองก็ติดหน้าที่การงานต่าง ๆ จนถึงขนาดไม่มีเวลาให้วัด ยกตัวอย่างบุคคลท่านหนึ่ง นามสกุลของท่านถ้าบอกไปแล้วต้องรู้จักกันทั้งประเทศไทย ท่านปวารณาเอาไว้ว่า กระผม/อาตมภาพจะสร้างหนี้เท่าไรก็ได้ ทุกสิ้นปีให้แจ้งไป ท่านจะจัดการ "เคลียร์หนี้" ให้ แต่เมื่อกระผม/อาตมภาพแจ้งไปแล้ว ปรากฏว่าท่านมักจะติดด้วยงานด้วยการ ไม่สามารถที่จะปลีกตัวได้

    ตอนนั้นกระผม/อาตมภาพยังรับสังฆทานอยู่ที่บ้านอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ท่านมีเวลาแค่โทรศัพท์มาว่าตอนนี้วิ่งมาใกล้จะถึงแล้ว ให้กระผม/อาตมภาพลงไปรอในบริเวณนั้นบริเวณนี้ เมื่อท่านมาถึงแล้วก็เปิดหน้าต่างรถ ส่งเงินให้แล้วก็วิ่งต่อไป กระผม/อาตมภาพเจอแบบนั้นเข้าสองครั้ง ก็ไม่กล้าที่จะรบกวนอีกเลย..!

    ดังนั้น..ต่อให้ปวารณาไว้โดยที่ท่านร่ำรวยขนาดไหนก็ตาม กระผม/อาตมภาพก็แกล้งลืมเบอร์โทรศัพท์ไม่โทรไปหาอีก เนื่องเพราะเคยได้ยินมาว่าท่านเคยโทรสั่งโบรกเกอร์ช้าไปนาทีเดียว แล้วเสียหุ้นไป ๒๐ ล้านบาทโดยประมาณ..! ในเมื่อเป็นเช่นนั้น ใครจะกล้าไปรบกวนเวลาของท่านอีก..!
    ในเมื่อบุคคลที่มีฐานะเพียงพอที่จะช่วยเหลือในการบูรณปฏิสังขรณ์วัดวาอาราม ส่วนใหญ่ก็ติดด้วยภาระหน้าที่ต่าง ๆ จึงมักจะนำเงินนำทองไปมอบให้กับพระภิกษุ โดยเฉพาะหลวงปู่หลวงพ่อเจ้าอาวาส ท่านได้จัดการบูรณปฏิสังขรณ์วัดเอง ตรงส่วนนี้จึงทำให้สภาพสังคมเปลี่ยนแปลงไป วัดที่มีผู้ปวารณาไว้ก็ยังคงต้องทำงานด้วยตนเอง แต่วัดที่ไม่มีผู้ปวารณาไว้ ก็ต้องหาเงินหาทองมาเพื่อบูรณะก็คือทำของเก่าให้ดีขึ้น และปฏิสังขรณ์คือสร้างของใหม่ให้เพียงพอต่อการใช้งาน

    ไม่เช่นนั้นแล้วหลวงปู่หลวงพ่อเจ้าอาวาสนั่นแหละ ที่ท่านเป็นเจ้าพนักงานโดยกฎหมาย จะกลายเป็นละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ ก็คือไม่ปกครองสอดส่องฆราวาสก็ยังพอทน แต่การไม่บูรณปฏิสังขรณ์วัดวาอาราม เพื่อให้มั่นคงแข็งแรงสมกับเป็นอารามในพระพุทธศาสนา ให้พุทธศาสนิกชนได้เข้าไปบำเพ็ญกุศลโดยสะดวก ก็กลายเป็นว่านอกจากจะผิดทางโลกแล้ว ยังผิดทางธรรมอีกด้วย

    ในทางโลกก็คือผิดกฎหมายในฐานะเจ้าพนักงานละเว้นปฏิบัติหน้าที่ ในทางธรรมก็คือบุคคลที่เว้นจากหน้าที่ซึ่งตนรับผิดชอบนั้น ต้องบอกว่าเป็นผู้ที่ไม่มีหลักธรรมประจำใจ ก็คือขาดไปเสียทุกส่วน ไม่เช่นนั้นแล้วอย่างน้อยก็ต้องทำความสะอาดวัดวาอารามให้น่าอยู่น่าอาศัย

    ประการต่อไปก็คือพุทธศาสนิกชนคนไทยของเรา ซึ่งมีอยู่ ๙๐ กว่าเปอร์เซ็นต์ ท่านผู้กล่าวว่าให้พระภิกษุสงฆ์ไปอยู่ป่า แล้วจะให้พุทธศาสนิกชนทั้งหลายเหล่านั้นตะเกียกตะกายเข้าป่าไปทำบุญกัน แล้วท่านคิดว่าจะใช่หรือไม่ ?
    ในเรื่องของธรรมะนั้น ไม่ใช่พูดชุ่ย ๆ แบบ "ตีหัวเข้าบ้าน" ปราศจากความรับผิดชอบ เพราะว่าเรื่องทั้งหลายเหล่านี้นั้นเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อน กำลังใจของคนแต่ละระดับไม่เท่ากัน ใครที่ชอบคำพูดดุเดือดหยาบคาย ไปฟังท่านแล้วชอบใจ ก็ถือว่ามีจริตนิสัยใกล้เคียงกัน ท่านสามารถสอนเขาให้ตื่นรู้ได้ก็สอนไปเถิด

    แต่ว่าบุคคลที่เป็นส่วนใหญ่ของประเทศ ไม่ใช่แค่หยิบมือเดียวอย่างที่ท่านสอนอยู่ จะให้ทุกคนเป็นเหมือนกันย่อมเป็นไปไม่ได้ ท่านทำอาหารรสชาติที่เผ็ดกระโดดจนกระทั่งคนกินไปร้องไห้ไป แล้วท่านจะไปยัดเยียดให้ทุกคนกินอาหารรสชาตินั้นก็ย่อมเป็นไปไม่ได้

    ดังนั้น..ในเรื่องของธรรมะ กระผม/อาตมภาพจึงได้กล่าวเอาไว้ว่า ไม่เคยให้ราคาสำหรับฆราวาสผู้สอนธรรม เนื่องเพราะว่าฆราวาสที่เก่งจริงนั้นตายไปหมดแล้ว..! เหตุที่เป็นเช่นนั้นก็เพราะว่าถ้าบุคคลที่เก่งจริง เข้าถึงธรรมจริง ๆ คุณงามความดีทั้งหลายเหล่านั้นมากเกินกว่าที่จะทรงอยู่ในร่างฆราวาสได้ เพราะว่าอาจจะเป็นทุกข์เป็นโทษให้กับผู้อื่น จึงต้องโดนตัดให้ตายลงไป ในเมื่อท่านยังทรงความเป็นฆราวาสอยู่ได้ ก็แปลว่ายังเข้าไม่ถึงธรรมอย่างแท้จริงนั่นเอง

    ถ้าหากว่าสิ่งที่ว่ากล่าวไปนี้ มีอะไรที่ทำให้ท่านเห็นว่าไม่ถูกต้องถูกใจ ก็สามารถที่จะโต้แย้งได้ แต่ให้โต้แย้งโดยหลักธรรม อย่าได้เอาทิฏฐิหรือว่าโทสะในส่วนความเห็นเฉพาะตนมาโต้แย้ง เพราะว่ามีแต่จะทำให้เสียเวล่ำเวลา ไปนั่งภาวนาเสียยังจะดีกว่า
    พระครูวิลาศกาญจนธรรม, ดร.
    เสียงธรรมจากวัดท่าขนุน
    วันเสาร์ที่ ๒๑ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๖๗
    (ถอดจากเสียงเป็นอักษร โดย เผือกน้อย)
    __________________
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 36 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 14 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 14 มุมมอง 0 รีวิว
  • ♡คนเดียวก็เที่ยวได้♡
    ☆วันเดย์ทริป กรุงเทพฯ-สัตหีบ
    นั่งรถไฟไปเที่ยวทะเลหาดนางรำ-หาดนางรอง☆
    ■■■■■■■■■■■
    ●ค่าเดินทางไป 170 กลับ 170
    +รถสองแถว 40 = 380 บาท
    》》
    เฉพาะวันเสาร์ และ วันอาทิตย์
    ☆ขาไป
    》》997 ขบวนรถพิเศษโดยสาร (ปรับอากาศ)
    สถานีกรุงเทพ (หัวลำโพง)- สถานีจุกเสม็ด
    ●ออกจากสถานีกรุงเทพ (หัวลำโพง)
    เวลา 06.45 น.
    ถึง สถานีจุกเสม็ด
    เวลา 10:10​ น.
    ราคา 170 บาท
    ☆ขากลับ
    》》998 ขบวนรถพิเศษโดยสาร (ปรับอากาศ)
    สถานีจุกเสม็ด - สถานีรถไฟกรุงเทพ(หัวลำโพง)
    ●ออกจากสถานีรถไฟจุกเสม็ด
    เวลา 15:30​ น.
    ถึงสถานีรถไฟกรุงเทพ(หัวลำโพง)
    เวลา 18:55​ น.
    ราคา 170 บาท
    ■ควรจองตั๋วรถไฟล่วงหน้า ไป และ กลับ■
    •••••••••••••••••••
    ลงรถไฟก็ซื้อตั๋วรถสองแถว 40 บาท รับ+ส่ง(สถานีรถไฟจุกเสม็ด ส่ง หาดนางรำ หรือ จะไปชม เรือหลวงจักรีนฤเบศร ก่อนไปหาดนางรำก่อนก็ได้ ไม่ต้องจ่ายเงินเพิ่ม)
    ◇เวลา 14:30​ น. กลับมาขึ้นรถสองแถวเพื่อกลับมาสถานีรถไฟจุกเสม็ด◇
    ●●●●●●●●●●●
    ■ชมวีดีโอการเดินทาง
    Ep.1
    》》
       https://youtu.be/Uah8sapTUW0?si=n4yBIDQTx9ocl7ok
    《《
    Ep.2
    》》
     https://youtu.be/WtzyegEpseo?si=0IBwTeSJP7RpuX_a   
    《《
    ■■■■■■■■■■■

    #วันเดย์ทริปกรุงเทพฯไปสัตหีบ
    #นั่งรถไฟไปเที่ยวทะเล#ทะเลใกล้กรุงเทพฯ#รถไฟท่องเที่ยว#มะนาวก้าวเดิน#หาดนางรำ#ทริปเที่ยววันเสาร์อาทิตย์#ทริปประหยัดไม่ถึง500บาท#ทะเลใสใกล้กรุงเทพฯ#หาดนางรองสัตหีบ#ทะเลชลบุรี#คนเดียวก็เที่ยวได้#thaitimes #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesเที่ยวไทย #thaitimesmanowjourney
    ♡คนเดียวก็เที่ยวได้♡ ☆วันเดย์ทริป กรุงเทพฯ-สัตหีบ นั่งรถไฟไปเที่ยวทะเลหาดนางรำ-หาดนางรอง☆ ■■■■■■■■■■■ ●ค่าเดินทางไป 170 กลับ 170 +รถสองแถว 40 = 380 บาท 》》 เฉพาะวันเสาร์ และ วันอาทิตย์ ☆ขาไป 》》997 ขบวนรถพิเศษโดยสาร (ปรับอากาศ) สถานีกรุงเทพ (หัวลำโพง)- สถานีจุกเสม็ด ●ออกจากสถานีกรุงเทพ (หัวลำโพง) เวลา 06.45 น. ถึง สถานีจุกเสม็ด เวลา 10:10​ น. ราคา 170 บาท ☆ขากลับ 》》998 ขบวนรถพิเศษโดยสาร (ปรับอากาศ) สถานีจุกเสม็ด - สถานีรถไฟกรุงเทพ(หัวลำโพง) ●ออกจากสถานีรถไฟจุกเสม็ด เวลา 15:30​ น. ถึงสถานีรถไฟกรุงเทพ(หัวลำโพง) เวลา 18:55​ น. ราคา 170 บาท ■ควรจองตั๋วรถไฟล่วงหน้า ไป และ กลับ■ ••••••••••••••••••• ลงรถไฟก็ซื้อตั๋วรถสองแถว 40 บาท รับ+ส่ง(สถานีรถไฟจุกเสม็ด ส่ง หาดนางรำ หรือ จะไปชม เรือหลวงจักรีนฤเบศร ก่อนไปหาดนางรำก่อนก็ได้ ไม่ต้องจ่ายเงินเพิ่ม) ◇เวลา 14:30​ น. กลับมาขึ้นรถสองแถวเพื่อกลับมาสถานีรถไฟจุกเสม็ด◇ ●●●●●●●●●●● ■ชมวีดีโอการเดินทาง Ep.1 》》    https://youtu.be/Uah8sapTUW0?si=n4yBIDQTx9ocl7ok 《《 Ep.2 》》  https://youtu.be/WtzyegEpseo?si=0IBwTeSJP7RpuX_a    《《 ■■■■■■■■■■■ #วันเดย์ทริปกรุงเทพฯไปสัตหีบ​ #นั่งรถไฟไปเที่ยวทะเล​ #ทะเลใกล้กรุงเทพฯ​ #รถไฟท่องเที่ยว​ #มะนาวก้าวเดิน​ #หาดนางรำ​ #ทริปเที่ยววันเสาร์อาทิตย์​ #ทริปประหยัดไม่ถึง500บาท​ #ทะเลใสใกล้กรุงเทพฯ​ #หาดนางรองสัตหีบ​ #ทะเลชลบุรี​ #คนเดียวก็เที่ยวได้​ #thaitimes #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesเที่ยวไทย #thaitimesmanowjourney
    Like
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1087 มุมมอง 295 0 รีวิว
  • Má Vlast: No. 6, Blaník
    Má Vlast: No. 6, Blaník
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 101 มุมมอง 36 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 6 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 12 มุมมอง 0 รีวิว
  • Má Vlast: No. 5, Tábor
    Má Vlast: No. 5, Tábor
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 106 มุมมอง 28 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 9 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 5 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 5 มุมมอง 0 รีวิว
  • ประกาศ จาก อุทยานแห่งชาติดอยขุนตาล - doi khun tan national park
    เพจ
    》》
    https://www.facebook.com/share/yutPDXMWgvR6zcdH/?mibextid=qi2Omg
    《《
    ■■■■■■■■■■
    #thaitimes #thaitimesข่าวด่วนท่องเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney
    ประกาศ จาก อุทยานแห่งชาติดอยขุนตาล - doi khun tan national park เพจ 》》 https://www.facebook.com/share/yutPDXMWgvR6zcdH/?mibextid=qi2Omg 《《 ■■■■■■■■■■ #thaitimes #thaitimesข่าวด่วนท่องเที่ยวไทย #thaitimesมะนาวก้าวเดิน #thaitimesmanowjourney
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 988 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 6 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 236
    วันจันทร์: แรม ๖ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๖๗ (23 September 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๒ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ
    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.

    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง
    ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา
    นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ
    สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ
    นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ
    สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา
    วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ
    อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ.

    บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 18: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ ,
    นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ ,
    สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ ,
    อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ

    บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.

    บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง
    อะหัง สุขิโต โหมิ
    อะหัง นิททุกโข โหมิ
    อะหัง อะเวโร โหมิ
    อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ
    สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ.
    ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ.

    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๒ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddh
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 236 วันจันทร์: แรม ๖ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๖๗ (23 September 2024) บทสวดมนต์ ๒๒ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ. บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 18: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง อะหัง สุขิโต โหมิ อะหัง นิททุกโข โหมิ อะหัง อะเวโร โหมิ อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ. ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ. * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๒ วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddh
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 211 มุมมอง 0 รีวิว
  • จง​ปก​ป้อง​ลูกๆ​ ​ของ​คุณ​ 💉💉💀
    #Bioweapon
    #Vaccine​Injuries
    #Vaccine​Genocide
    #VaccineDeath
    #VaccineSideEffect
    #Pfizer
    #pfizervaccine
    #moderna
    #BillGates
    #joebiden
    #obama
    #kamalaharris
    #globalists
    #zionist
    #Rothchild
    #illuminati
    #freemasons
    #DeepState
    #Agenda2030
    #DepopulationAgenda
    #สงครามชีวภาพ
    #อาวุธ​ชีวภาพ
    #ลดประชากร​โลก
    📣✨เข้าร่วมกลุ่มไลน์​โอเพ่น​แชท​ 👇✨
    📌กลุ่มตื่นเถิด​ชาวไทย
    📌กลุ่มเอาชีวิต​รอดจากวัคซีน​มรณะ
    📌กลุ่มล้างพิษ​วัคซีน​คือ​ทางรอด​💛CDS​ THERAPY​
    จง​ปก​ป้อง​ลูกๆ​ ​ของ​คุณ​ 💉💉💀 #Bioweapon​ #Vaccine​Injuries #Vaccine​Genocide #VaccineDeath #VaccineSideEffect #Pfizer​ #pfizervaccine​ #moderna​ #BillGates​ #joebiden​ #obama​ #kamalaharris​ #globalists​ #zionist​ #Rothchild​ #illuminati​ #freemasons​ #DeepState #Agenda2030​ #DepopulationAgenda​ #สงครามชีวภาพ #อาวุธ​ชีวภาพ #ลดประชากร​โลก 📣✨เข้าร่วมกลุ่มไลน์​โอเพ่น​แชท​ 👇✨ 📌กลุ่มตื่นเถิด​ชาวไทย 📌กลุ่มเอาชีวิต​รอดจากวัคซีน​มรณะ 📌กลุ่มล้างพิษ​วัคซีน​คือ​ทางรอด​💛CDS​ THERAPY​
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 453 มุมมอง 250 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 6 มุมมอง 0 รีวิว