• 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 5 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 7 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 7 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 6 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 7 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 6 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 6 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 7 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 6 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 7 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 15 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 9 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🤠#ปูตินพูดถึงเลนิน#ความผิดพลาดครั้งใหญ่ที่สุดคือการเปลี่ยนประเทศที่เป็นเอกภาพให้เป็นสหภาพรัฐ🤠

    หากรัสเซียไม่สามารถเอาชนะความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครนในปัจจุบันได้ ก็มีแนวโน้มมากที่รัสเซียจะต้องเผชิญวิกฤติการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี ค.ศ.1991 อีกครั้ง และนี่ไม่ใช่การพูดเกินจริงเลย

    😎สหภาพโซเวียตล่มสลายได้อย่างไร?😎 นี่เป็นปัญหาข้ามศตวรรษซึ่งยังคงค้างคาอยู่ในจิตใจของนักประวัติศาสตร์นับตั้งแต่การล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปีค.ศ. 1991

    “อาณาเขตอันกว้างใหญ่ อุตสาหกรรมหนักที่พัฒนาแล้ว และความแข็งแกร่งทางการทหารครั้งหนึ่งเคยทำให้ชาวอเมริกันที่หยิ่งยโสหวาดกลัว”

    จนถึงทุกวันนี้ ในทุกมุมของโลก ยังมีผู้คนจำนวนนับไม่ถ้วนที่คิดถึงอาณาจักรสีแดงในอดีต

    ในฐานะสมาชิกของอดีตจักรวรรดิโซเวียตอันยิ่งใหญ่ และในฐานะหัวหน้ารัฐบาลรัสเซียในปัจจุบัน 😎ปูตินพูดไม่ออกและพูดนับครั้งไม่ถ้วนเมื่อเผชิญการสัมภาษณ์ : ใครก็ตามที่ไม่รู้สึกเสียใจต่อกรณีสหภาพโซเวียตย่อมไม่มีจิตสำนึกในมโนธรรม😎

    แต่ในขณะเดียวกัน ปูตินก็กล่าวอย่างไม่เกรงอกเกรงใจดังนี้ว่า

    😎“โศกนาฏกรรมของสหภาพโซเวียตถึงวาระกำหนดไว้แล้วตั้งแต่แรกเริ่ม คือ เลนินเองที่เป็นผู้เปลี่ยนประเทศทั้งประเทศให้กลายเป็นพันธมิตรที่เบื้องหน้าดูเหมือนจะกลมกลืนกัน” 😎

    🤠แล้วอะไรคือเหตุผลว่าทำไมปูตินจึงประเมินอดีตสหภาพโซเวียตและเลนินอย่างเปลือยเปล่าและเปิดเผยต่อสาธารณะ? การล่มสลายของสหภาพโซเวียตเป็นเมล็ดพันธุ์แห่งโศกนาฏกรรมที่เลนินหว่านเพาะไว้จริง ๆ หรือไม่?🤠

    🥰หนึ่ง🥰

    ในปีค.ศ. 1914 เริ่มแรกเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ในยุโรป

    แม้ว่าการสู้รบจะดุเดือดในภายนอก แต่ภายในรัสเซียในขณะนั้น ยังคงมีความขัดแย้งอย่างรุนแรงในประเด็นที่ว่าใครครอบครองอยู่ในอำนาจปกครอง รัฐบาลเฉพาะกาลชนชั้นกระฎุมพีหรือว่ารัฐบาลโซเวียต

    ในเวลานี้ เลนินยังส่งเสริมแนวคิดเรื่องชนชั้นกรรมาชีพทั่วประเทศอย่างต่อเนื่อง

    ในขณะที่รัฐบาลเฉพาะกาลในรัสเซียประสบความพ่ายแพ้อันน่าสลดใจในสงครามโลกครั้งที่ 1 ผู้คนก็เริ่มออกมาเดินขบวนประท้วงตามท้องถนนเพื่อต่อต้านการไร้ความสามารถของรัฐบาลเฉพาะกาล

    เมื่อต้องเผชิญกับผู้ประท้วงจำนวนมาก รัฐบาลชั่วคราวของรัสเซียจึงเลือกที่จะใช้กำลังเพื่อปราบปรามพวกเขา แม้ว่าสังคมจะเงียบสงบชั่วคราว แต่พวกเขาไม่รู้เลยว่าพายุการเมืองลูกใหญ่กำลังจะโจมตี

    เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม ค.ศ. 1917 ภายใต้เสียงปลุกระดมของเลนิน ชนชั้นแรงงานในรัสเซียเริ่มโจมตีรัฐบาลเฉพาะกาลชนชั้นกระฎุมพี

    ชั่วข้ามคืน รัฐบาลเฉพาะกาลถอนตัวออกจากเวทีประวัติศาสตร์โดยสิ้นเชิง ตามมาด้วยการกำเนิดสาธารณรัฐโซเวียตใหม่ ตั้งแต่คืนนี้เป็นต้นไป ประวัติศาสตร์ของมนุษย์ชาติได้พลิกโฉมหน้าใหม่

    การกำเนิดของโซเวียตรัสเซียได้สร้างแบบอย่างและแรงบันดาลใจมากมายให้กับประเทศเล็กๆ หลายแห่งซึ่งแต่เดิมถูกควบคุมโดยซาร์รัสเซีย

    🥰สอง🥰

    ในการประชุมรัฐสภาโซเวียตครั้งแรกในปี ค.ศ. 1922 เลนินละทิ้งประวัติศาสตร์ของซาร์รัสเซีย และเลือกที่จะไม่สถาปนารัฐที่มีหลายเชื้อชาติเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน กลับเลือกที่จะสร้างสถาปนาแนวร่วมของรัฐต่างๆแทน

    ดังนั้นการดำรงอยู่ของซาร์รัสเซียที่มีหลายเชื้อชาติเป็นหนึ่งเดียวมันเป็นการดำรงเหลือคงอยู่แบบใด?

    ในศตวรรษที่ 13 กองทัพม้าของ โกลเดนฮอร์ด (Golden Horde金帐汗国)ชาวมองโกเลียเหยียบย่ำเข้าไปในดินแดนที่ปัจจุบันคือรัสเซีย ดังนั้นในช่วงเวลาอันยาวนานที่ซาร์รัสเซียจึงถือเอาการได้โค่นล้มการปกครองของมองโกเลียเป็นเรื่องราวระดับชาติของพวกเขา

    ในช่วงการกบฏอำนาจของอาณาเขตมอสโกค่อยๆเติบโต เริ่มค่อยๆพยายามแยกตัวออกจากการปกครองของมองโกล

    ในปีค.ศ. 1480 อีวานที่ 3 วาซีลเยวิช(Ivan III Vasilyevich伊凡三世·瓦西里耶维奇) แห่งมอสโกได้นำประชาชนฟื้นฟูการปกครองที่เป็นอิสระอย่างเป็นทางการ

    😎นั่นคือต่อมาเป็นซาร์รัสเซียนั่นเอง😎

    หลังจากผ่านช่วงเวลาความเจริญขึ้นๆ ลงๆ เป็นเวลาหลายร้อยปี การถือกำเนิดของจักรพรรดิปีเตอร์มหาราช (Peter the Great彼得一世)ได้นำพารัสเซียไปสู่จุดสูงสุดอีกครั้ง

    สิ่งควรค่าที่จะกล่าวภึงคือ ในปีค.ศ. 1721 หลังจากที่จักรพรรดิปีเตอร์มหาราช (Peter the Great彼得一世)นำประชาชนของเขาเอาชนะสวีเดน เขาก็ประสบความสำเร็จในการยืนหยัดอยู่ท่ามกลางประเทศมหาอำนาจของโลก

    เพื่อบรรลุถึงความทะเยอทะยานที่ยิ่งใหญ่ของพวกเขายิ่งขึ้น และยังเพื่อที่รักษาความมั่นคงตำแหน่งอำนาจของพวกเขา วุฒิสภารัสเซียจึงได้สวมมงกุฎแก่ปีเตอร์มหาราช (Peter the Great彼得一世)เป็นจักรพรรดิ

    😎ตั้งแต่เวลานี้เป็นต้นไปที่ซาร์รัสเซียกลายเป็นจักรวรรดิรัสเซียอย่างเป็นทางการ😎

    🤠กล่าวคือ ภายใต้ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์เช่นนี้ ซาร์รัสเซียไม่เคยได้เป็นพันธมิตรระหว่างประเทศ แต่เป็นประเทศที่มีหลายเชื้อชาติรวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันมาโดยตลอด🤠

    🥰สาม🥰

    ปูตินเป็นคนเข้มแข็ง เขาสนับสนุนการเมืองที่เข้มแข็ง และแนวคิดเรื่องความสามัคคีนั้นหยั่งรากลึกอยู่ในกระดูกของเขา ในมุมมองของเขา ตัวเขาเองใช้เวลาทั้งชีวิตทำงานอย่างหนักเพื่อให้รัสเซียสามัคคีเป็นหนึ่งเดียวกันและก้าวไปข้างหน้า

    เขาชื่นชมการเมืองที่เข้มแข็งของสตาลิน และเขาไม่เห็นด้วยกับแนวทางการสร้างชาติของเลนิน

    ไม่ต้องสงสัยเลยว่าเลนินได้สร้างพันธมิตรที่ใหญ่ที่สุดในโลกและเป็นครั้งแรกที่ชาวสลาฟรู้สึกถึงความภาคภูมิใจและความภาคภูมิใจที่ได้ยืนอยู่ที่หัวสะพานของโลก

    แต่ในทางกลับกัน และเป็นเพราะการรวมตัวแบบที่มีความหลวมตัวของพันธมิตรของประเทศต่างๆ ที่ก่อตั้งโดยเลนินนั่นเอง ทำให้หลายประเทศในปัจจุบันสามารถแยกตัวออกจากรัสเซียได้อย่างรวดเร็ว และแม้กระทั่งหันไปทางตะวันตกโดยสิ้นเชิง เช่น ยูเครนในปัจจุบัน

    แต่เมื่อเรามองย้อนกลับไปในประวัติศาสตร์ ก็ไม่ยากเลยที่จะเห็นว่า ไม่ใช่ว่าเลนินไม่ได้คิดถึงผลที่ตามมาของการเปลี่ยนแปลงไปสู่พันธมิตรระดับชาติ หากเลนินมีชีวิตอยู่ต่อไปอีกสองสามปี บางทีเขาอาจจะหลีกเลี่ยงโศกนาฏกรรมจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียตได้

    ในเวลานั้น สหภาพโซเวียต เชชเนีย ยูเครน และภูมิภาคอื่นๆ มักเรียกร้องเอกราช แม้จะต้องแลกกับการสู้รบก็ตาม

    สหภาพโซเวียตซึ่งเพิ่งโผล่ออกมาจากควันแห่งความพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่ 1 ไม่สามารถต้านทานวิกฤติการแยกตัวออกใหม่หรือจุดประกายสงครามอีกครั้งได้

    เมื่อถูกบังคับกดดันจนไม่มีหนทางที่เหมาะสม เลนินทำได้แค่แนวทางสายเฉลี่ยปานกลางเท่านั้น นั่นก็คือในรูปแบบของพันธมิตรระดับชาติ ซึ่งก็คือการยึดรักษากลุ่มชาติพันธุ์และภูมิภาคที่มีอาการไม่สงบเหล่านี้ไว้อย่างมั่นคงให้อยู่ภายใต้เคียวสีแดงของสหภาพโซเวียต

    🥰สี่🥰

    การล่มสลายของสหภาพโซเวียตมีสาเหตุหลายประการ และไม่สามารถนำมาประกอบว่าเป็นสาเหตุอย่างง่ายๆเนื่องจากบุคคลคนเดียวหรือปัจจัยนอกอาณาเขตอื่นๆ ได้

    😎ประการที่หนึ่ง คือ ความแข็งแกร่งของระบบ😎

    : เลนินออกแบบพิมพ์เขียวอันยิ่งใหญ่สำหรับอนาคตของสหภาพโซเวียต แต่มันก็มีอุดมคติมากเกินไป สิ่งนี้ทำให้สตาลินถึงกับเยาะเย้ยดูแคลนสิ่งดังกล่าวเพื่อที่จะกลายเป็นมหาอำนาจที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวในโลกอย่างรวดเร็ว

    สตาลินเลือกที่จะให้ความสำคัญกับการพัฒนาอุตสาหกรรมหนัก และกำลังคนและทรัพยากรทั้งหมดถูกบังคับให้เอียงเทไปด้านหนึ่ง

    แม้ว่าการพัฒนาอย่างรวดเร็วจะเกิดขึ้นได้ในระยะสั้น แต่ในระยะยาว สหภาพโซเวียตยักษ์ใหญ่ตนนี้เดินด้วยขาเดียวซึ่งไม่มั่นคง

    ดังนั้น เมื่อกองกำลังอิทธิพลตะวันตกบุกเข้ามา เพียงแค่วิวัฒนาการอย่างสันติเพียงอย่างเดียวก็เพียงพอที่จะทำลายขาอีกข้างของสหภาพโซเวียตและทำให้เป็นอัมพาตโดยสิ้นเชิง

    😎ประการที่สอง คือ การสูญเสียการสำรวจตรวจสอบ😎

    🤠เติ้งกง(邓公)เคยกล่าวไว้ว่า สังคมนิยมแท้จริงแล้วมีลักษณะเป็นอย่างไร?สหภาพโซเวียตทำสิ่งนี้มาหลายทศวรรษแล้ว ยังไม่เข้าใจว่าเป็นอย่างไร เพียงแค่ประโยคเดียว เขาก็เข้าถึงประเด็นสำคัญของสหภาพโซเวียตอย่างแม่นยำ🤠

    ตั้งแต่สตาลินไปจนถึงครุสชอฟไปจนถึงเบรจเนฟและแม้แต่กอร์บาชอฟ พวกเขาต่างพยายามสำรวจว่าลัทธิสังคมนิยมในจินตนาการจะเป็นอย่างไร

    แต่เมื่อได้เห็นลักษณะลีลาร้อยแปดพันเก้าต่างๆ ของชาติตะวันตกแล้ว พวกเขาก็เริ่มมีความสั่นคลอนอุดมคติและความเชื่อมั่นของตน เกี่ยวการสำรวจและปฏิบัติทางสังคมนิยมจึงหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะออกนอกเส้นทาง

    🤯โปรดติดตามบทความที่น่าสนใจต่อไป.ในโอกาสหน้า🤯

    🥰กราบขออภัยในความผิดพลาดและกราบขอบพระคุณของข้อชี้แนะ🥰

    🤠#ปูตินพูดถึงเลนิน#ความผิดพลาดครั้งใหญ่ที่สุดคือการเปลี่ยนประเทศที่เป็นเอกภาพให้เป็นสหภาพรัฐ🤠 หากรัสเซียไม่สามารถเอาชนะความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครนในปัจจุบันได้ ก็มีแนวโน้มมากที่รัสเซียจะต้องเผชิญวิกฤติการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี ค.ศ.1991 อีกครั้ง และนี่ไม่ใช่การพูดเกินจริงเลย 😎สหภาพโซเวียตล่มสลายได้อย่างไร?😎 นี่เป็นปัญหาข้ามศตวรรษซึ่งยังคงค้างคาอยู่ในจิตใจของนักประวัติศาสตร์นับตั้งแต่การล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปีค.ศ. 1991 “อาณาเขตอันกว้างใหญ่ อุตสาหกรรมหนักที่พัฒนาแล้ว และความแข็งแกร่งทางการทหารครั้งหนึ่งเคยทำให้ชาวอเมริกันที่หยิ่งยโสหวาดกลัว” จนถึงทุกวันนี้ ในทุกมุมของโลก ยังมีผู้คนจำนวนนับไม่ถ้วนที่คิดถึงอาณาจักรสีแดงในอดีต ในฐานะสมาชิกของอดีตจักรวรรดิโซเวียตอันยิ่งใหญ่ และในฐานะหัวหน้ารัฐบาลรัสเซียในปัจจุบัน 😎ปูตินพูดไม่ออกและพูดนับครั้งไม่ถ้วนเมื่อเผชิญการสัมภาษณ์ : ใครก็ตามที่ไม่รู้สึกเสียใจต่อกรณีสหภาพโซเวียตย่อมไม่มีจิตสำนึกในมโนธรรม😎 แต่ในขณะเดียวกัน ปูตินก็กล่าวอย่างไม่เกรงอกเกรงใจดังนี้ว่า 😎“โศกนาฏกรรมของสหภาพโซเวียตถึงวาระกำหนดไว้แล้วตั้งแต่แรกเริ่ม คือ เลนินเองที่เป็นผู้เปลี่ยนประเทศทั้งประเทศให้กลายเป็นพันธมิตรที่เบื้องหน้าดูเหมือนจะกลมกลืนกัน” 😎 🤠แล้วอะไรคือเหตุผลว่าทำไมปูตินจึงประเมินอดีตสหภาพโซเวียตและเลนินอย่างเปลือยเปล่าและเปิดเผยต่อสาธารณะ? การล่มสลายของสหภาพโซเวียตเป็นเมล็ดพันธุ์แห่งโศกนาฏกรรมที่เลนินหว่านเพาะไว้จริง ๆ หรือไม่?🤠 🥰หนึ่ง🥰 ในปีค.ศ. 1914 เริ่มแรกเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ในยุโรป แม้ว่าการสู้รบจะดุเดือดในภายนอก แต่ภายในรัสเซียในขณะนั้น ยังคงมีความขัดแย้งอย่างรุนแรงในประเด็นที่ว่าใครครอบครองอยู่ในอำนาจปกครอง รัฐบาลเฉพาะกาลชนชั้นกระฎุมพีหรือว่ารัฐบาลโซเวียต ในเวลานี้ เลนินยังส่งเสริมแนวคิดเรื่องชนชั้นกรรมาชีพทั่วประเทศอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่รัฐบาลเฉพาะกาลในรัสเซียประสบความพ่ายแพ้อันน่าสลดใจในสงครามโลกครั้งที่ 1 ผู้คนก็เริ่มออกมาเดินขบวนประท้วงตามท้องถนนเพื่อต่อต้านการไร้ความสามารถของรัฐบาลเฉพาะกาล เมื่อต้องเผชิญกับผู้ประท้วงจำนวนมาก รัฐบาลชั่วคราวของรัสเซียจึงเลือกที่จะใช้กำลังเพื่อปราบปรามพวกเขา แม้ว่าสังคมจะเงียบสงบชั่วคราว แต่พวกเขาไม่รู้เลยว่าพายุการเมืองลูกใหญ่กำลังจะโจมตี เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม ค.ศ. 1917 ภายใต้เสียงปลุกระดมของเลนิน ชนชั้นแรงงานในรัสเซียเริ่มโจมตีรัฐบาลเฉพาะกาลชนชั้นกระฎุมพี ชั่วข้ามคืน รัฐบาลเฉพาะกาลถอนตัวออกจากเวทีประวัติศาสตร์โดยสิ้นเชิง ตามมาด้วยการกำเนิดสาธารณรัฐโซเวียตใหม่ ตั้งแต่คืนนี้เป็นต้นไป ประวัติศาสตร์ของมนุษย์ชาติได้พลิกโฉมหน้าใหม่ การกำเนิดของโซเวียตรัสเซียได้สร้างแบบอย่างและแรงบันดาลใจมากมายให้กับประเทศเล็กๆ หลายแห่งซึ่งแต่เดิมถูกควบคุมโดยซาร์รัสเซีย 🥰สอง🥰 ในการประชุมรัฐสภาโซเวียตครั้งแรกในปี ค.ศ. 1922 เลนินละทิ้งประวัติศาสตร์ของซาร์รัสเซีย และเลือกที่จะไม่สถาปนารัฐที่มีหลายเชื้อชาติเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน กลับเลือกที่จะสร้างสถาปนาแนวร่วมของรัฐต่างๆแทน ดังนั้นการดำรงอยู่ของซาร์รัสเซียที่มีหลายเชื้อชาติเป็นหนึ่งเดียวมันเป็นการดำรงเหลือคงอยู่แบบใด? ในศตวรรษที่ 13 กองทัพม้าของ โกลเดนฮอร์ด (Golden Horde金帐汗国)ชาวมองโกเลียเหยียบย่ำเข้าไปในดินแดนที่ปัจจุบันคือรัสเซีย ดังนั้นในช่วงเวลาอันยาวนานที่ซาร์รัสเซียจึงถือเอาการได้โค่นล้มการปกครองของมองโกเลียเป็นเรื่องราวระดับชาติของพวกเขา ในช่วงการกบฏอำนาจของอาณาเขตมอสโกค่อยๆเติบโต เริ่มค่อยๆพยายามแยกตัวออกจากการปกครองของมองโกล ในปีค.ศ. 1480 อีวานที่ 3 วาซีลเยวิช(Ivan III Vasilyevich伊凡三世·瓦西里耶维奇) แห่งมอสโกได้นำประชาชนฟื้นฟูการปกครองที่เป็นอิสระอย่างเป็นทางการ 😎นั่นคือต่อมาเป็นซาร์รัสเซียนั่นเอง😎 หลังจากผ่านช่วงเวลาความเจริญขึ้นๆ ลงๆ เป็นเวลาหลายร้อยปี การถือกำเนิดของจักรพรรดิปีเตอร์มหาราช (Peter the Great彼得一世)ได้นำพารัสเซียไปสู่จุดสูงสุดอีกครั้ง สิ่งควรค่าที่จะกล่าวภึงคือ ในปีค.ศ. 1721 หลังจากที่จักรพรรดิปีเตอร์มหาราช (Peter the Great彼得一世)นำประชาชนของเขาเอาชนะสวีเดน เขาก็ประสบความสำเร็จในการยืนหยัดอยู่ท่ามกลางประเทศมหาอำนาจของโลก เพื่อบรรลุถึงความทะเยอทะยานที่ยิ่งใหญ่ของพวกเขายิ่งขึ้น และยังเพื่อที่รักษาความมั่นคงตำแหน่งอำนาจของพวกเขา วุฒิสภารัสเซียจึงได้สวมมงกุฎแก่ปีเตอร์มหาราช (Peter the Great彼得一世)เป็นจักรพรรดิ 😎ตั้งแต่เวลานี้เป็นต้นไปที่ซาร์รัสเซียกลายเป็นจักรวรรดิรัสเซียอย่างเป็นทางการ😎 🤠กล่าวคือ ภายใต้ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์เช่นนี้ ซาร์รัสเซียไม่เคยได้เป็นพันธมิตรระหว่างประเทศ แต่เป็นประเทศที่มีหลายเชื้อชาติรวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันมาโดยตลอด🤠 🥰สาม🥰 ปูตินเป็นคนเข้มแข็ง เขาสนับสนุนการเมืองที่เข้มแข็ง และแนวคิดเรื่องความสามัคคีนั้นหยั่งรากลึกอยู่ในกระดูกของเขา ในมุมมองของเขา ตัวเขาเองใช้เวลาทั้งชีวิตทำงานอย่างหนักเพื่อให้รัสเซียสามัคคีเป็นหนึ่งเดียวกันและก้าวไปข้างหน้า เขาชื่นชมการเมืองที่เข้มแข็งของสตาลิน และเขาไม่เห็นด้วยกับแนวทางการสร้างชาติของเลนิน ไม่ต้องสงสัยเลยว่าเลนินได้สร้างพันธมิตรที่ใหญ่ที่สุดในโลกและเป็นครั้งแรกที่ชาวสลาฟรู้สึกถึงความภาคภูมิใจและความภาคภูมิใจที่ได้ยืนอยู่ที่หัวสะพานของโลก แต่ในทางกลับกัน และเป็นเพราะการรวมตัวแบบที่มีความหลวมตัวของพันธมิตรของประเทศต่างๆ ที่ก่อตั้งโดยเลนินนั่นเอง ทำให้หลายประเทศในปัจจุบันสามารถแยกตัวออกจากรัสเซียได้อย่างรวดเร็ว และแม้กระทั่งหันไปทางตะวันตกโดยสิ้นเชิง เช่น ยูเครนในปัจจุบัน แต่เมื่อเรามองย้อนกลับไปในประวัติศาสตร์ ก็ไม่ยากเลยที่จะเห็นว่า ไม่ใช่ว่าเลนินไม่ได้คิดถึงผลที่ตามมาของการเปลี่ยนแปลงไปสู่พันธมิตรระดับชาติ หากเลนินมีชีวิตอยู่ต่อไปอีกสองสามปี บางทีเขาอาจจะหลีกเลี่ยงโศกนาฏกรรมจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียตได้ ในเวลานั้น สหภาพโซเวียต เชชเนีย ยูเครน และภูมิภาคอื่นๆ มักเรียกร้องเอกราช แม้จะต้องแลกกับการสู้รบก็ตาม สหภาพโซเวียตซึ่งเพิ่งโผล่ออกมาจากควันแห่งความพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่ 1 ไม่สามารถต้านทานวิกฤติการแยกตัวออกใหม่หรือจุดประกายสงครามอีกครั้งได้ เมื่อถูกบังคับกดดันจนไม่มีหนทางที่เหมาะสม เลนินทำได้แค่แนวทางสายเฉลี่ยปานกลางเท่านั้น นั่นก็คือในรูปแบบของพันธมิตรระดับชาติ ซึ่งก็คือการยึดรักษากลุ่มชาติพันธุ์และภูมิภาคที่มีอาการไม่สงบเหล่านี้ไว้อย่างมั่นคงให้อยู่ภายใต้เคียวสีแดงของสหภาพโซเวียต 🥰สี่🥰 การล่มสลายของสหภาพโซเวียตมีสาเหตุหลายประการ และไม่สามารถนำมาประกอบว่าเป็นสาเหตุอย่างง่ายๆเนื่องจากบุคคลคนเดียวหรือปัจจัยนอกอาณาเขตอื่นๆ ได้ 😎ประการที่หนึ่ง คือ ความแข็งแกร่งของระบบ😎 : เลนินออกแบบพิมพ์เขียวอันยิ่งใหญ่สำหรับอนาคตของสหภาพโซเวียต แต่มันก็มีอุดมคติมากเกินไป สิ่งนี้ทำให้สตาลินถึงกับเยาะเย้ยดูแคลนสิ่งดังกล่าวเพื่อที่จะกลายเป็นมหาอำนาจที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวในโลกอย่างรวดเร็ว สตาลินเลือกที่จะให้ความสำคัญกับการพัฒนาอุตสาหกรรมหนัก และกำลังคนและทรัพยากรทั้งหมดถูกบังคับให้เอียงเทไปด้านหนึ่ง แม้ว่าการพัฒนาอย่างรวดเร็วจะเกิดขึ้นได้ในระยะสั้น แต่ในระยะยาว สหภาพโซเวียตยักษ์ใหญ่ตนนี้เดินด้วยขาเดียวซึ่งไม่มั่นคง ดังนั้น เมื่อกองกำลังอิทธิพลตะวันตกบุกเข้ามา เพียงแค่วิวัฒนาการอย่างสันติเพียงอย่างเดียวก็เพียงพอที่จะทำลายขาอีกข้างของสหภาพโซเวียตและทำให้เป็นอัมพาตโดยสิ้นเชิง 😎ประการที่สอง คือ การสูญเสียการสำรวจตรวจสอบ😎 🤠เติ้งกง(邓公)เคยกล่าวไว้ว่า สังคมนิยมแท้จริงแล้วมีลักษณะเป็นอย่างไร?สหภาพโซเวียตทำสิ่งนี้มาหลายทศวรรษแล้ว ยังไม่เข้าใจว่าเป็นอย่างไร เพียงแค่ประโยคเดียว เขาก็เข้าถึงประเด็นสำคัญของสหภาพโซเวียตอย่างแม่นยำ🤠 ตั้งแต่สตาลินไปจนถึงครุสชอฟไปจนถึงเบรจเนฟและแม้แต่กอร์บาชอฟ พวกเขาต่างพยายามสำรวจว่าลัทธิสังคมนิยมในจินตนาการจะเป็นอย่างไร แต่เมื่อได้เห็นลักษณะลีลาร้อยแปดพันเก้าต่างๆ ของชาติตะวันตกแล้ว พวกเขาก็เริ่มมีความสั่นคลอนอุดมคติและความเชื่อมั่นของตน เกี่ยวการสำรวจและปฏิบัติทางสังคมนิยมจึงหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะออกนอกเส้นทาง 🤯โปรดติดตามบทความที่น่าสนใจต่อไป.ในโอกาสหน้า🤯 🥰กราบขออภัยในความผิดพลาดและกราบขอบพระคุณของข้อชี้แนะ🥰
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 373 มุมมอง 0 รีวิว
  • 1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 8 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 10 มุมมอง 0 รีวิว
  • เบื่อ บ้านเมืองแบบนี้ ตายหนีไปเลยดีปะ
    เบื่อ บ้านเมืองแบบนี้ ตายหนีไปเลยดีปะ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 20 มุมมอง 0 รีวิว
  • บอกทางรอด​จากวัคซีน​ทดลอง​ bioweapon​💀💉
    https://line.me/ti/g2/OjTOv55dZ07Li9Yg0ABZqoZ6-1tAxO5tLRSQdw?utm_source=invitation&utm_medium=link_copy&utm_campaign=default
    บอกทางรอด​จากวัคซีน​ทดลอง​ bioweapon​💀💉 https://line.me/ti/g2/OjTOv55dZ07Li9Yg0ABZqoZ6-1tAxO5tLRSQdw?utm_source=invitation&utm_medium=link_copy&utm_campaign=default
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 205 มุมมอง 0 รีวิว
  • #สวนเตี๋ยวตำ,รามอินทรา40นวลจันทร์
    ก๋วยเตี๋ยวเรือหมู 50บาท คุณภาพราคาไม่แพง น้ำก๋วยเตี๋ยวต้มไก่รสกลมกล่อม เพิ่มเผ็ดอย่างเดียวหากชอบเผ็ด
    #สวนเตี๋ยวตำ,รามอินทรา40นวลจันทร์ ก๋วยเตี๋ยวเรือหมู 50บาท คุณภาพราคาไม่แพง น้ำก๋วยเตี๋ยวต้มไก่รสกลมกล่อม เพิ่มเผ็ดอย่างเดียวหากชอบเผ็ด
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 44 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 7 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 21 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 7 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 8 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 5 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 6 มุมมอง 0 รีวิว
  • วัคซีน​มรณะ​ :mRNA​ Vaccine​💉💉
    สาเหตุการตายของคนไทยราวกับใบไม้ร่วง
    หลังจากการระดมฉีดวัคซีน​กัน​เต็ม​อัตราศึก
    เหยื่อวัคซีน​ทดลอง​ 99% ร่างกายไม่เหมือนเดิม
    โรควูบ​ เสียชีวิต​กระทันหัน​ มะเร็ง​เทอร์โบ​
    ไตวายเรื้อรัง​ ไตวาย​เฉียบพลัน​ ตับอักเสบ​
    ตับอ่อนอักเสบ​ ภูมิ​แพ้เรื้อรัง​ ภูมิ​แพ้​เฉียบพลัน
    ​โรคผิวหนัง​ โรคสะเก็ด​เงิน​ ไทรอยด์​เป็นพิษ​
    จอประสาทตาอักเสบ​ ตาบอด​ มะเร็งดวงตา
    ประจำเดือนมาผิดปกติ​ เลือดกำเดาไหลบ่อยๆ
    เลือดออกไม่หยุด​ เลือดแข็งตัวช้า​ เกล็ดเลือด​ต่ำ
    ลิ่มเลือด​อุดตัน​ หลอดเลือด​โป่งพอง​ ความจำเสื่อม​
    อัลไซเมอร์​ พาร์​กินสัน​ โรคซึมเศร้า​ชนิด​รุนแรง​
    โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง​ สโตรก​ อัมพฤกษ์​ อัมพาต​
    หรือป่วยติดเตียง​และโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง​ 1291​ โรค
    ที่เกิดจากผลข้างเคียงของวัคซีน​ทดลอง
    https://line.me/ti/g2/TIbVxkMbPikSRYKuSwncEV4XsrE2rlQ_JSyrZQ?utm_source=invitation&utm_medium=link_copy&utm_campaign=default
    วัคซีน​มรณะ​ :mRNA​ Vaccine​💉💉 สาเหตุการตายของคนไทยราวกับใบไม้ร่วง หลังจากการระดมฉีดวัคซีน​กัน​เต็ม​อัตราศึก เหยื่อวัคซีน​ทดลอง​ 99% ร่างกายไม่เหมือนเดิม โรควูบ​ เสียชีวิต​กระทันหัน​ มะเร็ง​เทอร์โบ​ ไตวายเรื้อรัง​ ไตวาย​เฉียบพลัน​ ตับอักเสบ​ ตับอ่อนอักเสบ​ ภูมิ​แพ้เรื้อรัง​ ภูมิ​แพ้​เฉียบพลัน ​โรคผิวหนัง​ โรคสะเก็ด​เงิน​ ไทรอยด์​เป็นพิษ​ จอประสาทตาอักเสบ​ ตาบอด​ มะเร็งดวงตา ประจำเดือนมาผิดปกติ​ เลือดกำเดาไหลบ่อยๆ เลือดออกไม่หยุด​ เลือดแข็งตัวช้า​ เกล็ดเลือด​ต่ำ ลิ่มเลือด​อุดตัน​ หลอดเลือด​โป่งพอง​ ความจำเสื่อม​ อัลไซเมอร์​ พาร์​กินสัน​ โรคซึมเศร้า​ชนิด​รุนแรง​ โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง​ สโตรก​ อัมพฤกษ์​ อัมพาต​ หรือป่วยติดเตียง​และโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง​ 1291​ โรค ที่เกิดจากผลข้างเคียงของวัคซีน​ทดลอง https://line.me/ti/g2/TIbVxkMbPikSRYKuSwncEV4XsrE2rlQ_JSyrZQ?utm_source=invitation&utm_medium=link_copy&utm_campaign=default
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 278 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 6 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 7 มุมมอง 0 รีวิว
  • ตักบาตร >>> วันที่ 1,633
    วันอาทิตย์: แรม ๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๖๗ (22 September 2024)

    ใส่บาตร 44 รูป ทำบุญ 20 บาท เป็นเงิน 416 บาท
    วัดชลประทานรังสฤษดิ์ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี

    สิ่งของใส่บาตร ชุดละ 9 บาท
    1. นมถั่วเหลือง ดีน่า สูตรงาดำ 110ml. (4 บาท)
    2. คุกกี้ ราดช็อกโกแลตนม ครีมโอ 13g. (2 บาท)
    3. แครกเกอร์ เมจิก ช็อกโกแลต 15g. (2 บาท)
    4. ลูกอม เมนทอส รสมิ้นต์ 2.7g. 4 เม็ด (1 บาท)
    #ทำบุญตักบาตรโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๓ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ตักบาตร >>> วันที่ 1,633 วันอาทิตย์: แรม ๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๖๗ (22 September 2024) ใส่บาตร 44 รูป ทำบุญ 20 บาท เป็นเงิน 416 บาท วัดชลประทานรังสฤษดิ์ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี สิ่งของใส่บาตร ชุดละ 9 บาท 1. นมถั่วเหลือง ดีน่า สูตรงาดำ 110ml. (4 บาท) 2. คุกกี้ ราดช็อกโกแลตนม ครีมโอ 13g. (2 บาท) 3. แครกเกอร์ เมจิก ช็อกโกแลต 15g. (2 บาท) 4. ลูกอม เมนทอส รสมิ้นต์ 2.7g. 4 เม็ด (1 บาท) #ทำบุญตักบาตรโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๓ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 109 มุมมอง 0 รีวิว
  • สำหรับคนที่ชอบพระเครื่องและเครื่องรางนะครับ แอดมาได้เลยครับ
    เป็นเพื่อนกัน ผมจะลงทุกวันครับ
    มีของมาแบ่งปันให้พี่ๆแน่นอน
    สำหรับคนที่ชอบพระเครื่องและเครื่องรางนะครับ แอดมาได้เลยครับ เป็นเพื่อนกัน ผมจะลงทุกวันครับ มีของมาแบ่งปันให้พี่ๆแน่นอน
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 53 มุมมอง 0 รีวิว
  • ตักบาตร >>> วันที่ 1,633
    วันอาทิตย์: แรม ๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๖๗ (22 September 2024)

    ใส่บาตร 44 รูป ทำบุญ 20 บาท เป็นเงิน 416 บาท
    วัดชลประทานรังสฤษดิ์ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี

    สิ่งของใส่บาตร ชุดละ 9 บาท
    1. นมถั่วเหลือง ดีน่า สูตรงาดำ 110ml. (4 บาท)
    2. คุกกี้ ราดช็อกโกแลตนม ครีมโอ 13g. (2 บาท)
    3. แครกเกอร์ เมจิก ช็อกโกแลต 15g. (2 บาท)
    4. ลูกอม เมนทอส รสมิ้นต์ 2.7g. 4 เม็ด (1 บาท)
    #ทำบุญตักบาตรโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๓ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ตักบาตร >>> วันที่ 1,633 วันอาทิตย์: แรม ๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๖๗ (22 September 2024) ใส่บาตร 44 รูป ทำบุญ 20 บาท เป็นเงิน 416 บาท วัดชลประทานรังสฤษดิ์ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี สิ่งของใส่บาตร ชุดละ 9 บาท 1. นมถั่วเหลือง ดีน่า สูตรงาดำ 110ml. (4 บาท) 2. คุกกี้ ราดช็อกโกแลตนม ครีมโอ 13g. (2 บาท) 3. แครกเกอร์ เมจิก ช็อกโกแลต 15g. (2 บาท) 4. ลูกอม เมนทอส รสมิ้นต์ 2.7g. 4 เม็ด (1 บาท) #ทำบุญตักบาตรโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๓ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 106 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 139 มุมมอง 53 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 140 มุมมอง 58 0 รีวิว
  • ปล่อยปลา >>> ครั้งที่ 294
    วันอาทิตย์: แรม ๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๖๗ (22 September 2024)

    ปล่อยปลาหมอ ที่แม่น้ำเจ้าพระยา 12 ตัว 120 บาท
    บริเวณสะพานพระราม ๔ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๓ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ปล่อยปลา >>> ครั้งที่ 294 วันอาทิตย์: แรม ๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๖๗ (22 September 2024) ปล่อยปลาหมอ ที่แม่น้ำเจ้าพระยา 12 ตัว 120 บาท บริเวณสะพานพระราม ๔ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๓ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 82 มุมมอง 0 รีวิว
  • ปล่อยปลา >>> ครั้งที่ 294
    วันอาทิตย์: แรม ๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๖๗ (22 September 2024)

    ปล่อยปลาหมอ ที่แม่น้ำเจ้าพระยา 12 ตัว 120 บาท
    บริเวณสะพานพระราม ๔ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๓ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ปล่อยปลา >>> ครั้งที่ 294 วันอาทิตย์: แรม ๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๖๗ (22 September 2024) ปล่อยปลาหมอ ที่แม่น้ำเจ้าพระยา 12 ตัว 120 บาท บริเวณสะพานพระราม ๔ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๓ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 87 มุมมอง 0 รีวิว
  • ปล่อยปลา >>> ครั้งที่ 294
    วันอาทิตย์: แรม ๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๖๗ (22 September 2024)

    ปล่อยปลาหมอ ที่แม่น้ำเจ้าพระยา 12 ตัว 120 บาท
    บริเวณสะพานพระราม ๔ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๓ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ปล่อยปลา >>> ครั้งที่ 294 วันอาทิตย์: แรม ๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๖๗ (22 September 2024) ปล่อยปลาหมอ ที่แม่น้ำเจ้าพระยา 12 ตัว 120 บาท บริเวณสะพานพระราม ๔ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๓ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 231 มุมมอง 74 0 รีวิว
  • ปล่อยปลา >>> ครั้งที่ 294
    วันอาทิตย์: แรม ๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๖๗ (22 September 2024)

    ปล่อยปลาหมอ ที่แม่น้ำเจ้าพระยา 12 ตัว 120 บาท
    บริเวณสะพานพระราม ๔ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๓ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ปล่อยปลา >>> ครั้งที่ 294 วันอาทิตย์: แรม ๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๖๗ (22 September 2024) ปล่อยปลาหมอ ที่แม่น้ำเจ้าพระยา 12 ตัว 120 บาท บริเวณสะพานพระราม ๔ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๓ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 228 มุมมอง 72 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 21 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 235
    วันอาทิตย์: แรม ๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๖๗ (22 September 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๒ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ
    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.

    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง
    ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา
    นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ
    สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ
    นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ
    สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา
    วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ
    อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ.

    บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 18: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ ,
    นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ ,
    สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ ,
    อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ

    บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.

    บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง
    อะหัง สุขิโต โหมิ
    อะหัง นิททุกโข โหมิ
    อะหัง อะเวโร โหมิ
    อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ
    สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ.
    ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ.

    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๓ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddh
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 235 วันอาทิตย์: แรม ๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๖๗ (22 September 2024) บทสวดมนต์ ๒๒ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ. บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 18: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง อะหัง สุขิโต โหมิ อะหัง นิททุกโข โหมิ อะหัง อะเวโร โหมิ อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ. ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ. * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๓ วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddh
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 235 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 235
    วันอาทิตย์: แรม ๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๖๗ (22 September 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๒ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ
    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.

    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง
    ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา
    นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ
    สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ
    นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ
    สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา
    วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ
    อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ.

    บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 18: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ ,
    นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ ,
    สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ ,
    อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ

    บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.

    บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง
    อะหัง สุขิโต โหมิ
    อะหัง นิททุกโข โหมิ
    อะหัง อะเวโร โหมิ
    อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ
    สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ.
    ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ.

    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๓ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddh
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 235 วันอาทิตย์: แรม ๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๖๗ (22 September 2024) บทสวดมนต์ ๒๒ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: อิติปิโสถอยหลัง ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิฯ. บทที่ 11: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 12: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 16: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 17: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 18: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 19: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ บทที่ 20: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 21: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. บทที่ 22: แผ่เมตตาให้ตนเอง อะหัง สุขิโต โหมิ อะหัง นิททุกโข โหมิ อะหัง อะเวโร โหมิ อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ. ~~~∆ด้วยความศรัทธาและวิริยะ. * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๔๓ วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddh
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 240 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 22 มุมมอง 0 รีวิว
  • Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 22 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 9 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 9 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 7 มุมมอง 0 รีวิว
  • Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 155 มุมมอง 147 0 รีวิว
  • Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 11 มุมมอง 0 รีวิว
  • อิจิบังราเมน
    อิจิบังราเมน
    Yay
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 160 มุมมอง 150 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 6 มุมมอง 0 รีวิว
  • Small Party.
    Small Party.
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 23 มุมมอง 0 รีวิว
  • Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 7 มุมมอง 0 รีวิว
  • แม้เขาจะเต็มใจช่วย แต่บ่อยครั้งเข้า หลายเรื่องเข้า เราก็ควรเกรงใจเขามากๆ เอาที่พอเหมาะพอดี
    แม้เขาจะเต็มใจช่วย แต่บ่อยครั้งเข้า หลายเรื่องเข้า เราก็ควรเกรงใจเขามากๆ เอาที่พอเหมาะพอดี
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 33 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 9 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 9 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 7 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 14 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 14 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 7 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 13 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 13 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 13 มุมมอง 0 รีวิว