• “สนธิ ลิ้มทองกุล” ร่วมทำบุญวันคล้ายวันเกิด และก่อตั้งหนังสือพิมพ์ผู้จัดการ ครบรอบ 34 ปี โดยมีผู้บริหาร พนักงาน และอดีตพี่น้องพันธมิตรฯ ร่วมทำบุญตักบาตรพระสงฆ์ ณ บ้านพระอาทิตย์

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000107282

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    “สนธิ ลิ้มทองกุล” ร่วมทำบุญวันคล้ายวันเกิด และก่อตั้งหนังสือพิมพ์ผู้จัดการ ครบรอบ 34 ปี โดยมีผู้บริหาร พนักงาน และอดีตพี่น้องพันธมิตรฯ ร่วมทำบุญตักบาตรพระสงฆ์ ณ บ้านพระอาทิตย์ อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000107282 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Love
    Haha
    Yay
    32
    9 ความคิดเห็น 2 การแบ่งปัน 2354 มุมมอง 1 รีวิว
  • #การบูชาพระ

    การบูชาพระนี่จะสวดมนต์น้อย สวดมนต์มาก อันนี้ไม่สำคัญ
    🌸จะว่าเพียง นะโมตัสสะ
    🌸หรือ พุทธัง ธัมมัง สังฆัง จบเท่านี้ก็ใช้ได้
    หรืออย่างดีที่สุดจะต่อ
    🌸อิติปิ โส สักจบก็ดีมาก

    #แต่ว่าเวลาบูชาพระจริงๆ #ให้ตั้งใจเคารพพระพุทธเจ้าจริงๆ

    🌟นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ อย่างนี้แปลว่า
    🎯ข้าพเจ้าขอนมัสการองค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าผู้เป็นพระอรหันต์พระองค์นั้น คือไหว้พระพุทธเจ้า

    🌟พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ที่แปลว่า
    🎯ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่ง

    🌟ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    🎯ข้าพเจ้าขอถึงพระธรรมเป็นที่พึ่ง

    🌟สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    🎯ขอถึงพระสงฆ์เป็นที่พึ่ง เท่านี้ก็ได้นะ

    ถ้าจะมากกว่านี้ก็ได้ ตั้งใจเคารพด้วยความจริงใจ

    🏵#หากว่าท่านทำอย่างนี้ทุกวัน🏵#ถ้าวันไหนถึงเวลาแล้วไม่ได้บูชาพระ ⛔️#เกิดความห่วงว่าวันนี้ไม่ได้บูชาพระ

    ❣️#ถ้าจิตถึงระดับนี้❣️
    ขอบรรดาท่านพุทธบริษัทโปรดทราบว่า #เวลานี้จิตของท่านเป็นฌานในพุทธานุสสติ #ธัมมานุสสติ #สังฆานุสสติ แล้ว

    🌟#ถ้าจิตเป็นฌานอย่างนี้ท่านตกนรกไม่ได้‼️ ต้องใช้วิธีง่ายๆ

    📖 จากหนังสือ ธรรมปฏิบัติ เล่มที่ ๕ หน้าที่ ๘๐
    #การบูชาพระ การบูชาพระนี่จะสวดมนต์น้อย สวดมนต์มาก อันนี้ไม่สำคัญ 🌸จะว่าเพียง นะโมตัสสะ 🌸หรือ พุทธัง ธัมมัง สังฆัง จบเท่านี้ก็ใช้ได้ หรืออย่างดีที่สุดจะต่อ 🌸อิติปิ โส สักจบก็ดีมาก #แต่ว่าเวลาบูชาพระจริงๆ #ให้ตั้งใจเคารพพระพุทธเจ้าจริงๆ 🌟นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ อย่างนี้แปลว่า 🎯ข้าพเจ้าขอนมัสการองค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าผู้เป็นพระอรหันต์พระองค์นั้น คือไหว้พระพุทธเจ้า 🌟พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ที่แปลว่า 🎯ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่ง 🌟ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ 🎯ข้าพเจ้าขอถึงพระธรรมเป็นที่พึ่ง 🌟สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ 🎯ขอถึงพระสงฆ์เป็นที่พึ่ง เท่านี้ก็ได้นะ ถ้าจะมากกว่านี้ก็ได้ ตั้งใจเคารพด้วยความจริงใจ 🏵#หากว่าท่านทำอย่างนี้ทุกวัน🏵#ถ้าวันไหนถึงเวลาแล้วไม่ได้บูชาพระ ⛔️#เกิดความห่วงว่าวันนี้ไม่ได้บูชาพระ ❣️#ถ้าจิตถึงระดับนี้❣️ ขอบรรดาท่านพุทธบริษัทโปรดทราบว่า #เวลานี้จิตของท่านเป็นฌานในพุทธานุสสติ #ธัมมานุสสติ #สังฆานุสสติ แล้ว 🌟#ถ้าจิตเป็นฌานอย่างนี้ท่านตกนรกไม่ได้‼️ ต้องใช้วิธีง่ายๆ 📖 จากหนังสือ ธรรมปฏิบัติ เล่มที่ ๕ หน้าที่ ๘๐
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 198 มุมมอง 0 รีวิว
  • ผมเห็นด้วยนะ ที่คนตื่นธรรมเขาออกมาสอนธรรมะ คือความจริงของชีวิตในฐานะฆราวาส ให้ประชาชนฟัง เพราะพระสงฆ์ส่วนใหญ่ไม่สอนธรรมะกันแล้ว แถมหลายๆรูปยังสอนเรื่องงมงาย เพื่อหารายได้กันอย่างเดียว..
    ผมเห็นด้วยนะ ที่คนตื่นธรรมเขาออกมาสอนธรรมะ คือความจริงของชีวิตในฐานะฆราวาส ให้ประชาชนฟัง เพราะพระสงฆ์ส่วนใหญ่ไม่สอนธรรมะกันแล้ว แถมหลายๆรูปยังสอนเรื่องงมงาย เพื่อหารายได้กันอย่างเดียว..
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 59 มุมมอง 0 รีวิว
  • ⚜️ #อดีตชาติหลวงพ่อฤาษี 13 ชาติ..⚜️

    🔱#ที่เกิดตั้งแต่สมัยโยนกนคร #จนถึงรัตนโกสินทร์🔱

    ลงมาเกิดเพื่อรวมไทยให้เป็นปึกแผ่น และเพื่อช่วยเหลือคนไทย และช่วยให้พระพุทธศาสนามีอายุครบ 5000 ปี

    ✴️ #วาระที่ 1 เกิดเป็นพระเจ้ามังราย รัชกาลที่ 2 แห่งโยนกนคร เป็นลูกชายพระเจ้าอชุตราช ในชาตินั้นท่านเป็นผู้บรรจุพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้าที่ดอยตุง โดยการนำมาของพระมหากัสสปะพร้อมด้วยพระอรหันต์ 500 องค์

    ✴️ #วาระที่ 2 เกิดสมัยโยนก เป็นเณรน้อยอายุ 7 ปีทรงฌานสมาบัติ แต่ได้ถูกขอมดำกระทำย่ำยี เวลานั้นขอมดำมายึดเมืองโยนกนครได้แล้ว แล้วทำการกดขี่ข่มเหงรังแกคนไทย
    เณรจึงเข้าฌานสมาบัติ ตั้งจิตอธิษฐานว่า เกิดคราวหน้าขอให้ได้เกิดมาเป็นคนไทย และได้ช่วยคนไทยทุกแง่ทุกมุม
    มิไม่ใช่เฉพาะการรบ การเศรษฐกิจ การปกครอง แม้แต่การรบทุกอย่างให้ครบถ้วน ให้คนไทยพ้นจากความเป็นทาส "พอตั้งจิตอธิษฐานก็ไม่ถอนจากฌานสมาบัติ ก็นั่งทรงฌานอย่างนั้นจนตาย แล้วไปเกิดเป็นพรหม ชั้นที่ 11

    ✴️ #การเกิดครั้งที่3 หลังจากตายจากเณรน้อย ไปเป็นพรหมชั้นที่11ได้เพียง1ปีเศษ ก็ลงมาเกิดเป็น "พระเจ้าพรหม มหาราช" เป็นโอรสของพระเจ้าพังคราช รัชกาลที่ 37 ในสมัยโยนกนคร มีพี่ชายชื่อทุกภิขะ( บริเวณพระธาตุจอมกิตติ ดอยตุง เป็นเขตเมืองโยนกนคร) เกิดพร้อมสหชาติที่เป็นพรหม เทวดา ลงมาเกิดพร้อมกัน 250 คน ทั้ง 250 คน เกิดเป็นผู้ชายทั้งหมด พรหมอีกองค์นึงเกิดเป็นช้างประกายแก้ว ช้างคู่บารมีพระเจ้าพรหม ลงมาเกิดเพื่อกู้ชาติให้พ้นความเป็นทาสจากขอมดำ และทำสำเร็จด้วย ทุกวันนี้วันอาสาฬหบูชาที่วัดท่าซุงก็มีการแห่ชัยชนะพระเจ้าพรหมทุกๆปี

    ✴️ #การเกิดในวาระที่4 หลังจากที่ตายจากการเป็นพระเจ้าพรหมสมัยโยนก แล้วเข้าฌาณตาย กลับไปเป็นพรหม เวลาผ่านไปอีก 800 ปีลงมาเกิดเป็นพระร่วงโรจนฤทธิ์ ตอนเด็กมีนามว่าอรุณกุมาร เป็นผู้ที่มีฤทธิ์มาก มีวิชาอาคม มีวาจาสิทธิ์ สามารถเสกขอมให้เป็นหินได้ และขยายอาณาเขตของประเทศไทย (ตอนนั้นยังไม่เป็นเทศไทย )กว้างใหญ่ไพศาล ยึดมอญ พม่าขอมไว้ได้หมด อาณาจักรยาวเหยียด เวลานั้นคือก่อนเมืองสุโขทัย 700 ปีเศษ ก่อนหน้าพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ 700ประมาณปีเศษ

    ✴️ #วาระที่5 เกิดเป็น"พ่อขุนศรีเมืองมาน"( เป็นพ่อของพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ แห่งอณาจักรสุโขทัย) ตายจากพระร่วงโรจนฤทธิ์ก็เข้าฌานตาย กลับไปเป็นพรหมเช่นเดิม กลับมาเกิดวาระที่5 เป็นพ่อขุนศรีเมืองมาน มีสหชาติเกิดมาด้วยคือ พ่อขุนน้าวนําถมลงมาช่วยกู้ชาติไทยจากขอมดำ ขยายอาณาเขตประเทศไทยไปถึงสิงคโปร์ มีภรรยาชื่อพรรณวดีศรีโสภาศ เป็นเมียเอก และมีเมียราษฏร์อีก 29 คน พอเมียเอกตาย ก็บวชไม่สึกอีกเลย เข้าฌานตายแล้วไปเกิดเป็นพรหมตามเดิม

    ✴️ #วาระที่6 "ขุนหลวงพระงั่ว" รัชกาลที่ 3 แห่งกรุงศรีอยุธยา ต่อมาคนไทยเกิดแบ่งเป็น 2 พวก จึงต้องลงมาเกิดเพื่อรวมไทยให้เป็น1เดียว ลงมาเกิดในราชวงศ์อู่ทอง เป็น"ขุนหลวงพระงั่ว" มาปลุกจิตสำนึกคนไทยให้รู้จักบาปบุญคุณโทษ จึงนิมนต์พระสงฆ์มาร่าง"ไตรภูมิพระร่วง
    ไตรภูมิพระร่วง พระร่วงไม่ได้ทำ
    ท่านเป็นเพียงแต่ศาสนูปถัมภ์
    ไตรภูมิพระร่วง เป็นการร่วมมือกันระหว่างสุโขทัยและกรุงศรี
    และยังได้ร่วมกันสร้างพระพุทธชินราชพระพุทธชินสีห์ และพระศรีศากยมุนีขึ้นมาเป็นมิ่งขวัญของเมืองไทย เป็นการแสดงสัญลักษณ์ว่าประเทศไทยจะทรงตัวได้ด้วยเหตุ 3 อย่างด้วยกัน
    คือ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
    พระพุทธชินราช หมายถึง พระมหากษัตริย์ พระพุทธชินสีห์ หมายถึง พระศาสนา พระศากยมุนี หมายถึง ชาติ
    การสร้างครั้งนี้ก็เป็นหน้าที่ของท้าวโกสีย์สักกะเทวราชให้พระวิษณุกรรมมาช่วย ขุนหลวงพระงั่วได้มารวมสุโขทัยกับอยุธยาเป็นประเทศเดียวกัน

    ✴️ #เกิดวาระที่7 ต่อมาลงมาเกิดในสมัยรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงศรีฯ ครั้งนี้เป็นลูกชาวบ้าน แต่เป็นลูกมหาเศรษฐี มีแม่ชื่อปิ่นทอง พ่อชื่อกองแก้ว ท่านเองเป็นลูกชายชื่ออำไพ ลงมาช่วยคน ให้เงินให้ทอง ให้ที่ทำกิน ช่วยการเกษตร ช่วยทุกสิ่งทุกอย่าง ให้การศึกษา จนคนไทยเป็นปึกแผ่นแน่นหนาพอ ประชาชนมีความสุข และท่านก็ตายไปเกิดเป็นพรหมตามเดิม

    ✴️ #วาระที่ 8 เกิดมาในตระกูลของแม่ทัพสมเด็จพระพันวสา คือสมเด็จพระอินทราธิราช มีนามว่า "ขุนไกร" (#ขุนแผน) เป็นอันว่าชาตินี้ขุนแผนต้องรวบรวมไทยอาศัยที่มีวิชาการมาก เป็นนักรบเก่ง
    ล่องหนหายตัวได้ สะเดาะกลอนได้
    ทำหุ่นพยนต์ได้ ทำอะไรได้แปลกๆ
    การยกทัพไปก็ไม่ต้องใช้กำลังคนมาก
    ก็สามารถจะสู้ข้าศึกได้

    ✴️ #วาระที่ 9 เกิดมาเป็นลูกกษัตริย์ มีนามว่าพระบรมไตรโลกนาถ เมื่อพระบรมไตรโลกนาสวรรนคตก็ไปเป็นพรหมตามเดิมไม่ช้าไม่นานก็ต้องเสด็จลงมาเกิดอีก

    ✴️ #วาระที่10 เกิดสมัยพระนารายณ์ ท่านลงมาเกิดเป็น"ขุนเหล็ก"
    หรือพระยาโกษาเหล็ก เกิดควบคู่กับสมเด็จพระนารายณ์มหาราช รุ่นราวคราวเดียวกัน เป็นเพื่อนเล่นกัน ขุนเหล็กมีน้องชายชื่อว่าขุนปาน หรือพระยาโกษาปาน ทั้งสองพระองค์ เป็นที่ไว้วางใจของสมเด็จพระนารายณ์มาก
    #บั้นปลายชีวิตลากิจราชการไปจำศีลเจริญภาวนาวิปัสสนาญาณ ให้ทาน ตายจากเจ้าพระยาโกษาเหล็ก ก็เข้าฌานกลับไปเป็นพรหมตามเดิม
    (#ท่านไม่ได้ตายตามประวัติศาสตร์เขียนไว้หรอกนะ)

    ✴️ #วาระที่11 ลงมาเกิดมาเป็นขุนดาบคู่ใจของพระเจ้าตากสินมหาราช คือพระยาศรีสิทธิสงคราม อยู่ในกองทัพหลวงประจำองค์พระเจ้าตากสินมหาราชสมัยกรุงธนบุรี ก่อนกรุงศรีจะแตก เป็นกำนันจัน ชื่อว่า #จันหนวดเขี้ยว เป็นที่รักของประชาชน ต่อมาค่ายบางระจันแตก
    ✴️ #นายจันหนวดเขี้ยวไม่ได้ตายไปตามประวัติศาสตร์ที่เขียน
    นายจันหนวดเขี้ยวจึงมารวมกำลังกับพระเจ้าตากสินกู้ชาติ ต่อมาพระเจ้าตากสินจึงเปลี่ยนชื่อให้จากกำนันจัน มาเป็นพระยาศรีสิทธิสงคราม ประจำกองทัพหลวง (ด้วง- นายจันหนวดเขี้ยว- พระยาศรีสิทธิสงคราม -เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก-และ #สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก

    ✴️ #วาระที่12 มาเกิดเป็น รัชกาลที่ 5 แห่ง กรุงรัตนโกสินทร์

    ✴️ #วาระที่13 ชาติสุดท้ายเกิดมาเป็น
    หลวงพ่อพระราชพรหมยาน วัดท่าซุง

    🖋️📚หนังสือเรื่องจริงอิงนิทานพิเศษ
    ⚜️พระราชพรหมยานเถระ (หลวงพ่อฤาษี วัดท่าซุง)​⚜️
    🖋️📚คัดลอกแบ่งปันเป็นธรรมทานโดย
    🧘จิตหนึ่งประภัสสร สุดยอดคือพระนิพพาน
    ⚜️ #อดีตชาติหลวงพ่อฤาษี 13 ชาติ..⚜️ 🔱#ที่เกิดตั้งแต่สมัยโยนกนคร #จนถึงรัตนโกสินทร์🔱 ลงมาเกิดเพื่อรวมไทยให้เป็นปึกแผ่น และเพื่อช่วยเหลือคนไทย และช่วยให้พระพุทธศาสนามีอายุครบ 5000 ปี ✴️ #วาระที่ 1 เกิดเป็นพระเจ้ามังราย รัชกาลที่ 2 แห่งโยนกนคร เป็นลูกชายพระเจ้าอชุตราช ในชาตินั้นท่านเป็นผู้บรรจุพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้าที่ดอยตุง โดยการนำมาของพระมหากัสสปะพร้อมด้วยพระอรหันต์ 500 องค์ ✴️ #วาระที่ 2 เกิดสมัยโยนก เป็นเณรน้อยอายุ 7 ปีทรงฌานสมาบัติ แต่ได้ถูกขอมดำกระทำย่ำยี เวลานั้นขอมดำมายึดเมืองโยนกนครได้แล้ว แล้วทำการกดขี่ข่มเหงรังแกคนไทย เณรจึงเข้าฌานสมาบัติ ตั้งจิตอธิษฐานว่า เกิดคราวหน้าขอให้ได้เกิดมาเป็นคนไทย และได้ช่วยคนไทยทุกแง่ทุกมุม มิไม่ใช่เฉพาะการรบ การเศรษฐกิจ การปกครอง แม้แต่การรบทุกอย่างให้ครบถ้วน ให้คนไทยพ้นจากความเป็นทาส "พอตั้งจิตอธิษฐานก็ไม่ถอนจากฌานสมาบัติ ก็นั่งทรงฌานอย่างนั้นจนตาย แล้วไปเกิดเป็นพรหม ชั้นที่ 11 ✴️ #การเกิดครั้งที่3 หลังจากตายจากเณรน้อย ไปเป็นพรหมชั้นที่11ได้เพียง1ปีเศษ ก็ลงมาเกิดเป็น "พระเจ้าพรหม มหาราช" เป็นโอรสของพระเจ้าพังคราช รัชกาลที่ 37 ในสมัยโยนกนคร มีพี่ชายชื่อทุกภิขะ( บริเวณพระธาตุจอมกิตติ ดอยตุง เป็นเขตเมืองโยนกนคร) เกิดพร้อมสหชาติที่เป็นพรหม เทวดา ลงมาเกิดพร้อมกัน 250 คน ทั้ง 250 คน เกิดเป็นผู้ชายทั้งหมด พรหมอีกองค์นึงเกิดเป็นช้างประกายแก้ว ช้างคู่บารมีพระเจ้าพรหม ลงมาเกิดเพื่อกู้ชาติให้พ้นความเป็นทาสจากขอมดำ และทำสำเร็จด้วย ทุกวันนี้วันอาสาฬหบูชาที่วัดท่าซุงก็มีการแห่ชัยชนะพระเจ้าพรหมทุกๆปี ✴️ #การเกิดในวาระที่4 หลังจากที่ตายจากการเป็นพระเจ้าพรหมสมัยโยนก แล้วเข้าฌาณตาย กลับไปเป็นพรหม เวลาผ่านไปอีก 800 ปีลงมาเกิดเป็นพระร่วงโรจนฤทธิ์ ตอนเด็กมีนามว่าอรุณกุมาร เป็นผู้ที่มีฤทธิ์มาก มีวิชาอาคม มีวาจาสิทธิ์ สามารถเสกขอมให้เป็นหินได้ และขยายอาณาเขตของประเทศไทย (ตอนนั้นยังไม่เป็นเทศไทย )กว้างใหญ่ไพศาล ยึดมอญ พม่าขอมไว้ได้หมด อาณาจักรยาวเหยียด เวลานั้นคือก่อนเมืองสุโขทัย 700 ปีเศษ ก่อนหน้าพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ 700ประมาณปีเศษ ✴️ #วาระที่5 เกิดเป็น"พ่อขุนศรีเมืองมาน"( เป็นพ่อของพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ แห่งอณาจักรสุโขทัย) ตายจากพระร่วงโรจนฤทธิ์ก็เข้าฌานตาย กลับไปเป็นพรหมเช่นเดิม กลับมาเกิดวาระที่5 เป็นพ่อขุนศรีเมืองมาน มีสหชาติเกิดมาด้วยคือ พ่อขุนน้าวนําถมลงมาช่วยกู้ชาติไทยจากขอมดำ ขยายอาณาเขตประเทศไทยไปถึงสิงคโปร์ มีภรรยาชื่อพรรณวดีศรีโสภาศ เป็นเมียเอก และมีเมียราษฏร์อีก 29 คน พอเมียเอกตาย ก็บวชไม่สึกอีกเลย เข้าฌานตายแล้วไปเกิดเป็นพรหมตามเดิม ✴️ #วาระที่6 "ขุนหลวงพระงั่ว" รัชกาลที่ 3 แห่งกรุงศรีอยุธยา ต่อมาคนไทยเกิดแบ่งเป็น 2 พวก จึงต้องลงมาเกิดเพื่อรวมไทยให้เป็น1เดียว ลงมาเกิดในราชวงศ์อู่ทอง เป็น"ขุนหลวงพระงั่ว" มาปลุกจิตสำนึกคนไทยให้รู้จักบาปบุญคุณโทษ จึงนิมนต์พระสงฆ์มาร่าง"ไตรภูมิพระร่วง ไตรภูมิพระร่วง พระร่วงไม่ได้ทำ ท่านเป็นเพียงแต่ศาสนูปถัมภ์ ไตรภูมิพระร่วง เป็นการร่วมมือกันระหว่างสุโขทัยและกรุงศรี และยังได้ร่วมกันสร้างพระพุทธชินราชพระพุทธชินสีห์ และพระศรีศากยมุนีขึ้นมาเป็นมิ่งขวัญของเมืองไทย เป็นการแสดงสัญลักษณ์ว่าประเทศไทยจะทรงตัวได้ด้วยเหตุ 3 อย่างด้วยกัน คือ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ พระพุทธชินราช หมายถึง พระมหากษัตริย์ พระพุทธชินสีห์ หมายถึง พระศาสนา พระศากยมุนี หมายถึง ชาติ การสร้างครั้งนี้ก็เป็นหน้าที่ของท้าวโกสีย์สักกะเทวราชให้พระวิษณุกรรมมาช่วย ขุนหลวงพระงั่วได้มารวมสุโขทัยกับอยุธยาเป็นประเทศเดียวกัน ✴️ #เกิดวาระที่7 ต่อมาลงมาเกิดในสมัยรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงศรีฯ ครั้งนี้เป็นลูกชาวบ้าน แต่เป็นลูกมหาเศรษฐี มีแม่ชื่อปิ่นทอง พ่อชื่อกองแก้ว ท่านเองเป็นลูกชายชื่ออำไพ ลงมาช่วยคน ให้เงินให้ทอง ให้ที่ทำกิน ช่วยการเกษตร ช่วยทุกสิ่งทุกอย่าง ให้การศึกษา จนคนไทยเป็นปึกแผ่นแน่นหนาพอ ประชาชนมีความสุข และท่านก็ตายไปเกิดเป็นพรหมตามเดิม ✴️ #วาระที่ 8 เกิดมาในตระกูลของแม่ทัพสมเด็จพระพันวสา คือสมเด็จพระอินทราธิราช มีนามว่า "ขุนไกร" (#ขุนแผน) เป็นอันว่าชาตินี้ขุนแผนต้องรวบรวมไทยอาศัยที่มีวิชาการมาก เป็นนักรบเก่ง ล่องหนหายตัวได้ สะเดาะกลอนได้ ทำหุ่นพยนต์ได้ ทำอะไรได้แปลกๆ การยกทัพไปก็ไม่ต้องใช้กำลังคนมาก ก็สามารถจะสู้ข้าศึกได้ ✴️ #วาระที่ 9 เกิดมาเป็นลูกกษัตริย์ มีนามว่าพระบรมไตรโลกนาถ เมื่อพระบรมไตรโลกนาสวรรนคตก็ไปเป็นพรหมตามเดิมไม่ช้าไม่นานก็ต้องเสด็จลงมาเกิดอีก ✴️ #วาระที่10 เกิดสมัยพระนารายณ์ ท่านลงมาเกิดเป็น"ขุนเหล็ก" หรือพระยาโกษาเหล็ก เกิดควบคู่กับสมเด็จพระนารายณ์มหาราช รุ่นราวคราวเดียวกัน เป็นเพื่อนเล่นกัน ขุนเหล็กมีน้องชายชื่อว่าขุนปาน หรือพระยาโกษาปาน ทั้งสองพระองค์ เป็นที่ไว้วางใจของสมเด็จพระนารายณ์มาก #บั้นปลายชีวิตลากิจราชการไปจำศีลเจริญภาวนาวิปัสสนาญาณ ให้ทาน ตายจากเจ้าพระยาโกษาเหล็ก ก็เข้าฌานกลับไปเป็นพรหมตามเดิม (#ท่านไม่ได้ตายตามประวัติศาสตร์เขียนไว้หรอกนะ) ✴️ #วาระที่11 ลงมาเกิดมาเป็นขุนดาบคู่ใจของพระเจ้าตากสินมหาราช คือพระยาศรีสิทธิสงคราม อยู่ในกองทัพหลวงประจำองค์พระเจ้าตากสินมหาราชสมัยกรุงธนบุรี ก่อนกรุงศรีจะแตก เป็นกำนันจัน ชื่อว่า #จันหนวดเขี้ยว เป็นที่รักของประชาชน ต่อมาค่ายบางระจันแตก ✴️ #นายจันหนวดเขี้ยวไม่ได้ตายไปตามประวัติศาสตร์ที่เขียน นายจันหนวดเขี้ยวจึงมารวมกำลังกับพระเจ้าตากสินกู้ชาติ ต่อมาพระเจ้าตากสินจึงเปลี่ยนชื่อให้จากกำนันจัน มาเป็นพระยาศรีสิทธิสงคราม ประจำกองทัพหลวง (ด้วง- นายจันหนวดเขี้ยว- พระยาศรีสิทธิสงคราม -เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก-และ #สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ✴️ #วาระที่12 มาเกิดเป็น รัชกาลที่ 5 แห่ง กรุงรัตนโกสินทร์ ✴️ #วาระที่13 ชาติสุดท้ายเกิดมาเป็น หลวงพ่อพระราชพรหมยาน วัดท่าซุง 🖋️📚หนังสือเรื่องจริงอิงนิทานพิเศษ ⚜️พระราชพรหมยานเถระ (หลวงพ่อฤาษี วัดท่าซุง)​⚜️ 🖋️📚คัดลอกแบ่งปันเป็นธรรมทานโดย 🧘จิตหนึ่งประภัสสร สุดยอดคือพระนิพพาน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 461 มุมมอง 0 รีวิว
  • ท่านก็นับถือว่ากฐินเป็นใหญ่ (บางคนก็พยายามทำลายพุทธศาสนา พูดไปทางลบ)

    กฐิน (บาลี: กฐิน) เป็นศัพท์ในพระวินัยปิฎกเถรวาท เป็นชื่อเรียกผ้าไตรจีวรที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้ภิกษุผู้อยู่จำพรรษาครบ 3 เดือนแล้ว สามารถรับมานุ่งห่มได้ โดยคำว่าการทอดกฐินหรือการกรานกฐิน จัดเป็นสังฆกรรมประเภทหนึ่งตามพระวินัยบัญญัติเถรวาทที่มีกำหนดเวลา คือพระสงฆ์สามารถกระทำสังฆกรรมนี้ได้นับแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ไป
    ท่านก็นับถือว่ากฐินเป็นใหญ่ (บางคนก็พยายามทำลายพุทธศาสนา พูดไปทางลบ) กฐิน (บาลี: กฐิน) เป็นศัพท์ในพระวินัยปิฎกเถรวาท เป็นชื่อเรียกผ้าไตรจีวรที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้ภิกษุผู้อยู่จำพรรษาครบ 3 เดือนแล้ว สามารถรับมานุ่งห่มได้ โดยคำว่าการทอดกฐินหรือการกรานกฐิน จัดเป็นสังฆกรรมประเภทหนึ่งตามพระวินัยบัญญัติเถรวาทที่มีกำหนดเวลา คือพระสงฆ์สามารถกระทำสังฆกรรมนี้ได้นับแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ไป
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 27 มุมมอง 0 รีวิว
  • กำหนดการพิธีฌาปนกิจ
    คุณโสภณ องค์การณ์
    ณ วัดโสมนัสราชวรวิหาร ศาลา ๑๐
    วันอังคารที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๖๗
    ๑๐.๐๐ น. พระสงฆ์แสดงพระธรรมเทศนา
    ๑๐.๓๐ น. พระสงฆ์สวดพระพุทธมนต์
    ๑๑.๐๐ น. ถวายภัตตาหารเพล
    ๑๓.๐๐ น.
    เวียนเมรุ
    ๑๓.๓๐ น. อ่านประวัติผู้วายชนม์
    ทอดผ้าบังสกุล
    ยืนไว้อาลัย
    ๑๔.๐๐ น. ประชุมเพลิง
    เรียนเชิญด้วยความเคารพนับถือ
    (เจ้าภาพขออภัยที่มิได้มาเรียนเชิญด้วยตนเอง)

    #Thaitimes
    กำหนดการพิธีฌาปนกิจ คุณโสภณ องค์การณ์ ณ วัดโสมนัสราชวรวิหาร ศาลา ๑๐ วันอังคารที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๖๗ ๑๐.๐๐ น. พระสงฆ์แสดงพระธรรมเทศนา ๑๐.๓๐ น. พระสงฆ์สวดพระพุทธมนต์ ๑๑.๐๐ น. ถวายภัตตาหารเพล ๑๓.๐๐ น. เวียนเมรุ ๑๓.๓๐ น. อ่านประวัติผู้วายชนม์ ทอดผ้าบังสกุล ยืนไว้อาลัย ๑๔.๐๐ น. ประชุมเพลิง เรียนเชิญด้วยความเคารพนับถือ (เจ้าภาพขออภัยที่มิได้มาเรียนเชิญด้วยตนเอง) #Thaitimes
    Sad
    Like
    Love
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 551 มุมมอง 0 รีวิว
  • ..ฟังๆไปเถอะ ถูกใจบ้าง ไม่ถูกใจบ้าง ผิดบ้าง ถูกบ้าง เข้าใจในแบบเราชัด ไม่เข้าใจในแบบเราชัด แบบบางที่เจอกับตัวใครมันที่พระเครื่องมีพุทธคุณใส่คอคนถูกผีสิงผีเข้าคน คนนั้นตื่นคืนสติจริงก็ชัดเจนในตัวเราท่านเธอที่ประสบเจอจริง อ.เบียร์อาจหมายไปทางดีอื่น ไม่เคยเจอกับตัวด้านนี้จึงว่าพระเครื่องนั้นนี้ไม่มีพุทธคุณ แต่หมายทางคำสอนถึงคุณพระพุทธพระธรรมพระสงฆ์ก็ว่าไป,ข้ามๆส่วนผิดน้อยๆไปเถอะ,คนเราเก่งรู้ต่างกัน ใช่เข้าใจจริงถึงธรรมหมด,อย่างน้อยก็มาร่วมปกป้องพระพุทธศาสนาให้ทรงทางสายปกติก็ดีแล้วร่วมกัน,หายากที่จะอยู่กลางแสง ถูกอีแร้งรอบทิศสะกัดดาวรุ้ง ,ทางนี้ยังงๆในการท้าทายอ.เบียร์เลย กระทบวาทะวลีคำกันหลายความเลย,สรุปอ.มาดีหรือมาร้ายในช่วงเปิดตัวใหม่ๆเลย จนอาจารย์สายดีงามรับรองว่า อย่างถือสาท่าน ถูกผิดกรรมใดๆตกแก่ผู้กระทำเองล่ะ,เราผู้ไปฟังก็ไตร่ตรองอย่างมีสติปัญญาเอง แยกแยะวิเคราะห์ธรรมฝ่ายดีฝ่ายชั่วเองก่อนกินดื่มเข้าไปได้,อย่าพึ่งเชื่อแม้ท่านคืออาจารย์ของเราก็ว่า,ยุคนี้สมัยนี้คนเราหยาบหนานักด้วยฝ่ายปกครองดึงตำราเรียนของทางพระพุทธศาสนาออกไปจากกระทรวงศึกษาในการสอนเด็กๆก็ย้อนกลับมาอีลิทสายซาตานท่านลอร์ดยิวอีกล่ะจะล้างสมองเยาวชนไทยมิให้รู้ดีรู้ชั่วทั้งตำราศีลธรรมจริยธรรมออกจากหลักสูตรการเรียนการสอนของโรงเรียนไทยเรา,หน้าที่พลเรือนพลเมืองไทยก็ด้วย,ต้องไปคุยสายต่อต้านลัทธิทะเลทรายยิวแรปทีเลี่ยนเขา คนไทยจึงขาดการศึกษาศีลธรรมจริยธรรม&หน้าที่พลเมืองของชาติการรักชาติบ้านเมืองตนออกไป,สส.สว.นักการเมืองจึงสะดวกในการคตโกงเพราะคนไทยไม่ว่าเรื่องจริยธรรมแล้วด้วยไม่ได้เรียนได้รู้ว่าถ้านักการเมืองทำแบบนี้ผิดจริยธรรมตามตำราที่เล่าเรียนมาร่วมกันนะ ต้องสำเนียงพึ่งระวังละอายใจตนเองในฐานะสส.สว.ด้วย ต้องละอาย&เกรงกลัวในบาปในชั่วด้วยเป็นแบบอย่างเยี่ยงอย่างเยาวชนที่ดีด้วย,มันเห็นตรงนี้จึงถอดออกจากการเรียนการสอนในอดีตเลย เพื่อจะได้พูดให้นักการเมืองนักปกครองแบบพวกมันไม่ได้ จนกระอักเลือดตายแบบหนังจีนได้เพราะรับคำด่าตำหนิไม่ได้ด้วยคนไทยเหล่าเรียนจนมีวิชาแกร่งกล้าเต็มภูมิกันทุกๆคน ซวยต่อการโกง&ลำบากต่อการทำชั่ว,
    ..อ.เบียร์ในช่วงนี้จึงเหมาะแก่ยุคสมัยคนหยาบๆหนาๆออกหูซ้ายทะลุหัวขวาจึงโดนกระโถนแก่ตีเข้าก็ว่า,
    ..เยาวชนไทยเราหลายคนมาหันฟังสิ่งดีๆสู่ประตูทางธรรม เดินขึ้นสู่ทางที่ถูกที่ควรร่วมกันดำรงชาติไทยพัฒนาชาติเรามิให้หลงทางตามฝรั่งซาตานมารปีศาจได้นะดีแล้ว.
    ..ฟังๆไปเถอะ ถูกใจบ้าง ไม่ถูกใจบ้าง ผิดบ้าง ถูกบ้าง เข้าใจในแบบเราชัด ไม่เข้าใจในแบบเราชัด แบบบางที่เจอกับตัวใครมันที่พระเครื่องมีพุทธคุณใส่คอคนถูกผีสิงผีเข้าคน คนนั้นตื่นคืนสติจริงก็ชัดเจนในตัวเราท่านเธอที่ประสบเจอจริง อ.เบียร์อาจหมายไปทางดีอื่น ไม่เคยเจอกับตัวด้านนี้จึงว่าพระเครื่องนั้นนี้ไม่มีพุทธคุณ แต่หมายทางคำสอนถึงคุณพระพุทธพระธรรมพระสงฆ์ก็ว่าไป,ข้ามๆส่วนผิดน้อยๆไปเถอะ,คนเราเก่งรู้ต่างกัน ใช่เข้าใจจริงถึงธรรมหมด,อย่างน้อยก็มาร่วมปกป้องพระพุทธศาสนาให้ทรงทางสายปกติก็ดีแล้วร่วมกัน,หายากที่จะอยู่กลางแสง ถูกอีแร้งรอบทิศสะกัดดาวรุ้ง ,ทางนี้ยังงๆในการท้าทายอ.เบียร์เลย กระทบวาทะวลีคำกันหลายความเลย,สรุปอ.มาดีหรือมาร้ายในช่วงเปิดตัวใหม่ๆเลย จนอาจารย์สายดีงามรับรองว่า อย่างถือสาท่าน ถูกผิดกรรมใดๆตกแก่ผู้กระทำเองล่ะ,เราผู้ไปฟังก็ไตร่ตรองอย่างมีสติปัญญาเอง แยกแยะวิเคราะห์ธรรมฝ่ายดีฝ่ายชั่วเองก่อนกินดื่มเข้าไปได้,อย่าพึ่งเชื่อแม้ท่านคืออาจารย์ของเราก็ว่า,ยุคนี้สมัยนี้คนเราหยาบหนานักด้วยฝ่ายปกครองดึงตำราเรียนของทางพระพุทธศาสนาออกไปจากกระทรวงศึกษาในการสอนเด็กๆก็ย้อนกลับมาอีลิทสายซาตานท่านลอร์ดยิวอีกล่ะจะล้างสมองเยาวชนไทยมิให้รู้ดีรู้ชั่วทั้งตำราศีลธรรมจริยธรรมออกจากหลักสูตรการเรียนการสอนของโรงเรียนไทยเรา,หน้าที่พลเรือนพลเมืองไทยก็ด้วย,ต้องไปคุยสายต่อต้านลัทธิทะเลทรายยิวแรปทีเลี่ยนเขา คนไทยจึงขาดการศึกษาศีลธรรมจริยธรรม&หน้าที่พลเมืองของชาติการรักชาติบ้านเมืองตนออกไป,สส.สว.นักการเมืองจึงสะดวกในการคตโกงเพราะคนไทยไม่ว่าเรื่องจริยธรรมแล้วด้วยไม่ได้เรียนได้รู้ว่าถ้านักการเมืองทำแบบนี้ผิดจริยธรรมตามตำราที่เล่าเรียนมาร่วมกันนะ ต้องสำเนียงพึ่งระวังละอายใจตนเองในฐานะสส.สว.ด้วย ต้องละอาย&เกรงกลัวในบาปในชั่วด้วยเป็นแบบอย่างเยี่ยงอย่างเยาวชนที่ดีด้วย,มันเห็นตรงนี้จึงถอดออกจากการเรียนการสอนในอดีตเลย เพื่อจะได้พูดให้นักการเมืองนักปกครองแบบพวกมันไม่ได้ จนกระอักเลือดตายแบบหนังจีนได้เพราะรับคำด่าตำหนิไม่ได้ด้วยคนไทยเหล่าเรียนจนมีวิชาแกร่งกล้าเต็มภูมิกันทุกๆคน ซวยต่อการโกง&ลำบากต่อการทำชั่ว, ..อ.เบียร์ในช่วงนี้จึงเหมาะแก่ยุคสมัยคนหยาบๆหนาๆออกหูซ้ายทะลุหัวขวาจึงโดนกระโถนแก่ตีเข้าก็ว่า, ..เยาวชนไทยเราหลายคนมาหันฟังสิ่งดีๆสู่ประตูทางธรรม เดินขึ้นสู่ทางที่ถูกที่ควรร่วมกันดำรงชาติไทยพัฒนาชาติเรามิให้หลงทางตามฝรั่งซาตานมารปีศาจได้นะดีแล้ว.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 272 มุมมอง 26 0 รีวิว
  • รองเจ้าคณะจังหวัดขอนแก่น ยืนยันไม่มีพระสงฆ์ในปกครอง มจร. เข้าอบรมลงทุนเทรด WCF หรือแชร์แครอทแม้แต่รูปเดียว โดยภาพการเรียนการสอนในห้องเรียนถูกโยงกับข้อความที่บิดเบือนแล้วโพสต์ว่อนโซเชียล จนเกิดความเข้าใจผิด ที่สำคัญไม่ได้รับอนุญาตก่อนนำไปใช้ หากสร้างความเสียหายก็จะดำเนินการตาม กฏหมาย

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000102232

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    รองเจ้าคณะจังหวัดขอนแก่น ยืนยันไม่มีพระสงฆ์ในปกครอง มจร. เข้าอบรมลงทุนเทรด WCF หรือแชร์แครอทแม้แต่รูปเดียว โดยภาพการเรียนการสอนในห้องเรียนถูกโยงกับข้อความที่บิดเบือนแล้วโพสต์ว่อนโซเชียล จนเกิดความเข้าใจผิด ที่สำคัญไม่ได้รับอนุญาตก่อนนำไปใช้ หากสร้างความเสียหายก็จะดำเนินการตาม กฏหมาย อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000102232 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Haha
    Angry
    10
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 2945 มุมมอง 0 รีวิว
  • ขบวนพยุหยาตราทางชลมารคมรดกชาติไทย-มรดกของโลก
    .
    เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดขบวนพยุหยาตราทางชลมารค ในการพระราชพิธีเสด็จพระราชดำเนินถวายผ้าพระกฐิน ณ วัดอรุณราชวรารามราชวรวิหาร ในวันอาทิตย์ที่ 27 ตุลาคม 2567
    .
    ทั้งนี้ เป็นพระราชพิธีสำคัญที่คนไทยทั้งประเทศต่างรอคอยชมความงดงามของริ้วขบวนเรือพระราชพิธี ดังจะเห็นได้จากในช่วงการซ้อมใหญ่ที่ผ่านมา ได้มีประชาชนจับจองพื้นที่สองฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาที่ขบวนเรือเคลื่อนผ่านเป็นจำนวนมาก
    .
    สาเหตุหนึ่งที่ทำให้ประชาชนให้ความสนใจกับขบวนพยุหยาตราทางชลมารค เป็นอย่างมากนั้นส่วนหนึ่งเป็นเพราะเป็นโบราณราชประเพณีที่ไม่ได้เกิดขึ้นบ่อยครั้งนัก แต่จะมีขึ้นเฉพาะในห้วงเวลาที่ประเทศไทยมีโอกาสสำคัญเท่านั้น อย่างล่าสุดที่คนไทยได้เห็นขบวนพยุหยาตราทางชลมารค คือ การเสด็จพระราชดำเนินเลียบพระนคร โดยขบวนพยุหยาตราทางชลมารค เนื่องในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก เมื่อปีพ.ศ.2562
    .
    พระราชพิธีขบวนพยุหยาตราทางชลมารค ไม่ได้มีความสำคัญเฉพาะในมิติของการเป็นพิธีการหนึ่งของรัฐเท่านั้น แต่เป็นการสะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมของคนไทยที่ผูกพันกับสายน้ำอีกด้วย โดยสารคดีเฉลิมพระเกียรติ มรดกศิลป์ แผ่นดินไทย ตอนที่ 1 เรือไทยคู่สายน้ำ และ ตอนที่ 2 ขบวนพยุหยาตราทางชลมารค ซึ่งเป็นข้อมูลที่จัดทำโดยคณะกรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์งานพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ได้อธิบายถึงความสำคัญของขบวนพยุหยาตราทางชลมารคไว้อย่างน่าสนใจตอนหนึ่งดังนี้
    .
    "นับแต่อดีตชาวไทยมีวิถีชีวิตผูกพันอยู่กับสายน้ำ เปรียบเสมือนสายชีวิตที่หล่อเลี้ยงทุกสรรพสิ่ง เป็นเหตุผลที่ทำให้คนในสมัยโบราณ นิยมสร้างบ้านเรือนใกล้ริมน้ำกันเป็นส่วนมาก ทั้งนี้ เพื่อความสะดวกต่อการดำรงชีวิตประจำวัน ดังนั้น เรือ จึงเป็นพาหนะ สำคัญที่ใช้ในการสัญจรทางน้ำ การต่อเรือแต่ละลำ จึงคำนึงถึงความเหมาะสมของการใช้งาน ...และยิ่งเป็นการบำเพ็ญพระราชกุศลของพระมหากษัตริย์ด้วยแล้ว จะมีการจัดริ้วขบวนเรืออย่างสมพระเกียรติ ริ้วขบวนเรือนี้ เรียกว่า ขบวนพยุหยาตราทางชลมารค"
    .
    สำหรับการจัดขบวนพยุหยาตราทางชลมารคนี้ มีวิวัฒนาการมาจากการจัดขบวนทัพเรือในยามที่ว่างศึก เพื่อเป็นการฝึกซ้อมเรียกระดมพล โดยที่กองเรือเหล่านี้จะตกแต่งอย่างสวยงาม มีการประโคมดนตรีไปในขบวน เพื่อความเพลิดเพลินสนุกสนาน และพลพายเกิดความฮึกเหิมเป็นการแสดงออก ถึงความเป็นเอกลักษณ์ ทางด้านวัฒนธรรมประเพณีอย่างหนึ่งของชาติแสดงถึงพระบารมีแผ่ไพศาลของพระมหากษัตริย์อันเป็นที่แซ่ซ้องสรรเสริญ และเป็นที่พึ่งแด่พสกนิกรทั้งชาวไทย และชาวต่างประเทศ ที่เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร
    .
    โดยประเพณีเสด็จพระราชดาเนินถวายผ้าพระกฐินโดยกระบวนพยุหยาตราทางชลมารคนั้น ได้รับการฟื้นฟูตั้งแต่ปี 2500 หลังจากว่างเว้นมานานถึง 50 ปี นับตั้งแต่การสมโภชน์กรุงรัตนโกสินทร์ 150 ปี ซึ่งการจัดขบวนพยุหยาตราทางชลมารคครั้งแรกในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ 9) เกิดขึ้นในปี พ.ศ.2500 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของงานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ โดยได้จัดให้มีขบวนเรือพระราชพิธี อัญเชิญพระพุทธรูป ไตรปิฏก และพระสงฆ์ เคลื่อนไปตามลำน้ำเจ้าพระยา
    .
    นับตั้งแต่ พ.ศ.2500 จนถึง พ.ศ.2555 ได้มีการจัดขบวนพยุหยาตราทางชลมารค จำนวน 15 ครั้ง และจัดขบวนเรือพระราชพิธี จำนวน 2 ครั้ง โดยสิ่งที่เป็นเครื่องตอกย้ำถึงความงดงามและยิ่งใหญ่ของพระราชพิธีทางน้ำของประเทศไทย คือ การที่องค์การเรือโลก (World Ship Trust) แห่งสหราชอาณาจักรได้มอบรางวัล “มรดกเรือโลก” แก่เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ เมื่อปี 2535
    .
    ดังนั้น พระราชพิธีที่จะเกิดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 27 ตุลาคม จึงเป็นอีกหนึ่งหน้าประวัติศาสตร์ของประเทศไทยอย่างไม่อาจปฏิเสธได้
    ..............
    Sondhi X
    ขบวนพยุหยาตราทางชลมารคมรดกชาติไทย-มรดกของโลก . เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดขบวนพยุหยาตราทางชลมารค ในการพระราชพิธีเสด็จพระราชดำเนินถวายผ้าพระกฐิน ณ วัดอรุณราชวรารามราชวรวิหาร ในวันอาทิตย์ที่ 27 ตุลาคม 2567 . ทั้งนี้ เป็นพระราชพิธีสำคัญที่คนไทยทั้งประเทศต่างรอคอยชมความงดงามของริ้วขบวนเรือพระราชพิธี ดังจะเห็นได้จากในช่วงการซ้อมใหญ่ที่ผ่านมา ได้มีประชาชนจับจองพื้นที่สองฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาที่ขบวนเรือเคลื่อนผ่านเป็นจำนวนมาก . สาเหตุหนึ่งที่ทำให้ประชาชนให้ความสนใจกับขบวนพยุหยาตราทางชลมารค เป็นอย่างมากนั้นส่วนหนึ่งเป็นเพราะเป็นโบราณราชประเพณีที่ไม่ได้เกิดขึ้นบ่อยครั้งนัก แต่จะมีขึ้นเฉพาะในห้วงเวลาที่ประเทศไทยมีโอกาสสำคัญเท่านั้น อย่างล่าสุดที่คนไทยได้เห็นขบวนพยุหยาตราทางชลมารค คือ การเสด็จพระราชดำเนินเลียบพระนคร โดยขบวนพยุหยาตราทางชลมารค เนื่องในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก เมื่อปีพ.ศ.2562 . พระราชพิธีขบวนพยุหยาตราทางชลมารค ไม่ได้มีความสำคัญเฉพาะในมิติของการเป็นพิธีการหนึ่งของรัฐเท่านั้น แต่เป็นการสะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมของคนไทยที่ผูกพันกับสายน้ำอีกด้วย โดยสารคดีเฉลิมพระเกียรติ มรดกศิลป์ แผ่นดินไทย ตอนที่ 1 เรือไทยคู่สายน้ำ และ ตอนที่ 2 ขบวนพยุหยาตราทางชลมารค ซึ่งเป็นข้อมูลที่จัดทำโดยคณะกรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์งานพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ได้อธิบายถึงความสำคัญของขบวนพยุหยาตราทางชลมารคไว้อย่างน่าสนใจตอนหนึ่งดังนี้ . "นับแต่อดีตชาวไทยมีวิถีชีวิตผูกพันอยู่กับสายน้ำ เปรียบเสมือนสายชีวิตที่หล่อเลี้ยงทุกสรรพสิ่ง เป็นเหตุผลที่ทำให้คนในสมัยโบราณ นิยมสร้างบ้านเรือนใกล้ริมน้ำกันเป็นส่วนมาก ทั้งนี้ เพื่อความสะดวกต่อการดำรงชีวิตประจำวัน ดังนั้น เรือ จึงเป็นพาหนะ สำคัญที่ใช้ในการสัญจรทางน้ำ การต่อเรือแต่ละลำ จึงคำนึงถึงความเหมาะสมของการใช้งาน ...และยิ่งเป็นการบำเพ็ญพระราชกุศลของพระมหากษัตริย์ด้วยแล้ว จะมีการจัดริ้วขบวนเรืออย่างสมพระเกียรติ ริ้วขบวนเรือนี้ เรียกว่า ขบวนพยุหยาตราทางชลมารค" . สำหรับการจัดขบวนพยุหยาตราทางชลมารคนี้ มีวิวัฒนาการมาจากการจัดขบวนทัพเรือในยามที่ว่างศึก เพื่อเป็นการฝึกซ้อมเรียกระดมพล โดยที่กองเรือเหล่านี้จะตกแต่งอย่างสวยงาม มีการประโคมดนตรีไปในขบวน เพื่อความเพลิดเพลินสนุกสนาน และพลพายเกิดความฮึกเหิมเป็นการแสดงออก ถึงความเป็นเอกลักษณ์ ทางด้านวัฒนธรรมประเพณีอย่างหนึ่งของชาติแสดงถึงพระบารมีแผ่ไพศาลของพระมหากษัตริย์อันเป็นที่แซ่ซ้องสรรเสริญ และเป็นที่พึ่งแด่พสกนิกรทั้งชาวไทย และชาวต่างประเทศ ที่เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร . โดยประเพณีเสด็จพระราชดาเนินถวายผ้าพระกฐินโดยกระบวนพยุหยาตราทางชลมารคนั้น ได้รับการฟื้นฟูตั้งแต่ปี 2500 หลังจากว่างเว้นมานานถึง 50 ปี นับตั้งแต่การสมโภชน์กรุงรัตนโกสินทร์ 150 ปี ซึ่งการจัดขบวนพยุหยาตราทางชลมารคครั้งแรกในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ 9) เกิดขึ้นในปี พ.ศ.2500 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของงานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ โดยได้จัดให้มีขบวนเรือพระราชพิธี อัญเชิญพระพุทธรูป ไตรปิฏก และพระสงฆ์ เคลื่อนไปตามลำน้ำเจ้าพระยา . นับตั้งแต่ พ.ศ.2500 จนถึง พ.ศ.2555 ได้มีการจัดขบวนพยุหยาตราทางชลมารค จำนวน 15 ครั้ง และจัดขบวนเรือพระราชพิธี จำนวน 2 ครั้ง โดยสิ่งที่เป็นเครื่องตอกย้ำถึงความงดงามและยิ่งใหญ่ของพระราชพิธีทางน้ำของประเทศไทย คือ การที่องค์การเรือโลก (World Ship Trust) แห่งสหราชอาณาจักรได้มอบรางวัล “มรดกเรือโลก” แก่เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ เมื่อปี 2535 . ดังนั้น พระราชพิธีที่จะเกิดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 27 ตุลาคม จึงเป็นอีกหนึ่งหน้าประวัติศาสตร์ของประเทศไทยอย่างไม่อาจปฏิเสธได้ .............. Sondhi X
    Like
    Love
    7
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 890 มุมมอง 0 รีวิว
  • คุณพระ !! "แชร์น้องแครอท" ล้ม พระสงฆ์เจ๊งพันล้าน ! 21/10/67 #น้องแครอท #พระสงฆ์เจ๊งพันล้าน #แชร์ลูกโซ่
    คุณพระ !! "แชร์น้องแครอท" ล้ม พระสงฆ์เจ๊งพันล้าน ! 21/10/67 #น้องแครอท #พระสงฆ์เจ๊งพันล้าน #แชร์ลูกโซ่
    Like
    6
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 979 มุมมอง 366 0 รีวิว
  • กระทู้ที่ 1 วันที่ 21 ตุลาคม 2567
    แรม 4 ค่ำ เดือน 11 ปีมะโรง
    เรื่อง ความเป็นมาของ คาถาอาคม ในประเทศไทย
    ในอดีตทียังไม่เป็นประเทศไทยเหมือนในปัจจุบันอิทธิพลศาสนาฮินดูได้มีอิทธิพลต่อผู้นำในอดีต ผู้นำในอดีตได้รับเอาพิธีกรรมทางศาสนาฮินดูมาเป็นที่ยึดเหนี่ยว วัฒนธรรมฮินดูในประเทศอินเดียมีมาช้านานก่อนศสนาพุทธ จะเห็นได้ในยุคขอมเรืองอำนาจ จะเห็นได้จากปราสาทขอมที่ทิ้งไว้ให้ปรากฎในปัจจุบัน เมื่อพระพุทธศาสนาได้เข้าในยุคที่พระเจ้าอโศกส่งพระธรรมทูตเข้าเผยแพร่ในแผ่นดินที่เรียกว่าประเทศไทยในปัจจุบันผู้ปกครองในยุคต่อมาค่อยเปลี่ยนแปลงและนำเอาพระพุทธศาสนามาผสมประสานเข้ากับศาสนาฮินดู ในศาสนาฮินดูมีพิธีกรรมต่างๆมีบทสวดมากมายเป็นการร้องขอความช่วยเหลือต่างๆกับเทพเจ้าที่เชื่อว่าจะดลบันดาลให้สมความปรารถนา ต่อมาพระสงฆ์ทางพระพุทธศาสนาผู้ทรงภูมปัญญาได้คิดวิธีการโดยอาศัยแบบอย่างของศาสนาฮินดูแต่แตกต่างโดยการแต่งมนต์โดยใช้บทสวดในทางพระพุทธศาสนามาเป็นมนต์คาถา ซึ่งเรียกว่าพระพุทธมนต์ การจะแต่งพระพุทธมนต์นั้นไม่ใช่จับแพะชนแกะ บูรพาจารผู้แต่งต้องแตกฉานในปริยัติ และต้องเข้าถึงการปฏิบัติจนได้ฌาณสมาบัติ ซึ่งเป็นความรู้ขั้นสูงจึงสามารถร้อยเรียงพุทธมนต์ขึ้นมาได้ แม้แต่การลงอักขระเลขยันต์ล้วนแล้วแต่ผ่านการคิดค้นออกมาจากบูรพาจารย์ผู้ทรงฌาณทั้งสิ้น พระพุทธมนต์เลขยันต์ต่างๆที่มีการจดบันทึกมานั้นนับเป็นพันตำหรับ การจะเขียนยันต์ในแต่ละตัวเขามีสูตรการลงไว้ไม่ใช่เขียนส่งเดชแล้วก็ใช้ได้ วันนี้ทดลองเขียนกระทู้ใน thaitimes ครั้งแรก เอาไว้ตอนต่อไปค่อยว่ากันใหม่ สวัสดี
    กระทู้ที่ 1 วันที่ 21 ตุลาคม 2567 แรม 4 ค่ำ เดือน 11 ปีมะโรง เรื่อง ความเป็นมาของ คาถาอาคม ในประเทศไทย ในอดีตทียังไม่เป็นประเทศไทยเหมือนในปัจจุบันอิทธิพลศาสนาฮินดูได้มีอิทธิพลต่อผู้นำในอดีต ผู้นำในอดีตได้รับเอาพิธีกรรมทางศาสนาฮินดูมาเป็นที่ยึดเหนี่ยว วัฒนธรรมฮินดูในประเทศอินเดียมีมาช้านานก่อนศสนาพุทธ จะเห็นได้ในยุคขอมเรืองอำนาจ จะเห็นได้จากปราสาทขอมที่ทิ้งไว้ให้ปรากฎในปัจจุบัน เมื่อพระพุทธศาสนาได้เข้าในยุคที่พระเจ้าอโศกส่งพระธรรมทูตเข้าเผยแพร่ในแผ่นดินที่เรียกว่าประเทศไทยในปัจจุบันผู้ปกครองในยุคต่อมาค่อยเปลี่ยนแปลงและนำเอาพระพุทธศาสนามาผสมประสานเข้ากับศาสนาฮินดู ในศาสนาฮินดูมีพิธีกรรมต่างๆมีบทสวดมากมายเป็นการร้องขอความช่วยเหลือต่างๆกับเทพเจ้าที่เชื่อว่าจะดลบันดาลให้สมความปรารถนา ต่อมาพระสงฆ์ทางพระพุทธศาสนาผู้ทรงภูมปัญญาได้คิดวิธีการโดยอาศัยแบบอย่างของศาสนาฮินดูแต่แตกต่างโดยการแต่งมนต์โดยใช้บทสวดในทางพระพุทธศาสนามาเป็นมนต์คาถา ซึ่งเรียกว่าพระพุทธมนต์ การจะแต่งพระพุทธมนต์นั้นไม่ใช่จับแพะชนแกะ บูรพาจารผู้แต่งต้องแตกฉานในปริยัติ และต้องเข้าถึงการปฏิบัติจนได้ฌาณสมาบัติ ซึ่งเป็นความรู้ขั้นสูงจึงสามารถร้อยเรียงพุทธมนต์ขึ้นมาได้ แม้แต่การลงอักขระเลขยันต์ล้วนแล้วแต่ผ่านการคิดค้นออกมาจากบูรพาจารย์ผู้ทรงฌาณทั้งสิ้น พระพุทธมนต์เลขยันต์ต่างๆที่มีการจดบันทึกมานั้นนับเป็นพันตำหรับ การจะเขียนยันต์ในแต่ละตัวเขามีสูตรการลงไว้ไม่ใช่เขียนส่งเดชแล้วก็ใช้ได้ วันนี้ทดลองเขียนกระทู้ใน thaitimes ครั้งแรก เอาไว้ตอนต่อไปค่อยว่ากันใหม่ สวัสดี
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 179 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🔥🔥อยากรู้ว่า พระสงฆ์ที่เข้าไปลงทุน
    ในธุรกิจแชร์ลูกโซ่ กับบริษัท เทรด Forex (อัตราแลกเปลี่ยน)
    แล้วเกิดความเสียหายรวมกว่า 1,000 ล้านบาท
    ท่านจะกล้าไปแจ้งความมั้ย?
    คำถามต่อมาคือ พระสงฆ์สามารถซื้อหุ้น
    หรือ ไปลงทุนใน Forex ได้เหรอ? 🤔

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #thaitimes
    🔥🔥อยากรู้ว่า พระสงฆ์ที่เข้าไปลงทุน ในธุรกิจแชร์ลูกโซ่ กับบริษัท เทรด Forex (อัตราแลกเปลี่ยน) แล้วเกิดความเสียหายรวมกว่า 1,000 ล้านบาท ท่านจะกล้าไปแจ้งความมั้ย? คำถามต่อมาคือ พระสงฆ์สามารถซื้อหุ้น หรือ ไปลงทุนใน Forex ได้เหรอ? 🤔 #หุ้นติดดอย #การลงทุน #thaitimes
    Like
    1
    2 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 268 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🔥🔥สะเทือนวงการพระสงฆ์!!!
    เพจอีซ้อขยี้ข่าวระบุ
    วงการแชร์ลูกโซ่ของพระสงฆ์ภาคอีสาน
    พบผู้เสียหายส่วนใหญ่คือพระสงฆ์เกือบทั้งหมด
    หลังหลอกพระสงฆ์ที่อยู่ในภาคอีสานเข้าร่วมลงทุนเทรด
    กับบริษัทขายฝัน อ้างไม่เกิน 5 ปี ได้บ้าน ได้รถ
    ตอนนี้มูลค่าความเสียหายเบื้องต้นกว่า 1,000 ล้านบาท

    ที่มา : เพจอีซ้อขยี้ข่าว

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #thaitimes
    🔥🔥สะเทือนวงการพระสงฆ์!!! เพจอีซ้อขยี้ข่าวระบุ วงการแชร์ลูกโซ่ของพระสงฆ์ภาคอีสาน พบผู้เสียหายส่วนใหญ่คือพระสงฆ์เกือบทั้งหมด หลังหลอกพระสงฆ์ที่อยู่ในภาคอีสานเข้าร่วมลงทุนเทรด กับบริษัทขายฝัน อ้างไม่เกิน 5 ปี ได้บ้าน ได้รถ ตอนนี้มูลค่าความเสียหายเบื้องต้นกว่า 1,000 ล้านบาท ที่มา : เพจอีซ้อขยี้ข่าว #หุ้นติดดอย #การลงทุน #thaitimes
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 261 มุมมอง 0 รีวิว
  • ร้อง บช.ก.ตรวจสอบ "ดิไอคอนกรุ๊ป" โยกเงินเกือบหมื่นล้านเข้ากระเป๋าดิจิทัล ด้าน รอง ผบช.ก.เผยมอบหมายให้ ตำรวจปอศ.ตรวจสอบแล้ว ลั่นล็อตสองหากสาวถึงดารา-พระสงฆ์ จับดำเนินคดีไม่มีละเว้น

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000100714

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    ร้อง บช.ก.ตรวจสอบ "ดิไอคอนกรุ๊ป" โยกเงินเกือบหมื่นล้านเข้ากระเป๋าดิจิทัล ด้าน รอง ผบช.ก.เผยมอบหมายให้ ตำรวจปอศ.ตรวจสอบแล้ว ลั่นล็อตสองหากสาวถึงดารา-พระสงฆ์ จับดำเนินคดีไม่มีละเว้น อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000100714 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Angry
    Wow
    21
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 2288 มุมมอง 1 รีวิว
  • พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    ข้าพเจ้าขอถือเอาพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งที่ระลึก
    ข้าพเจ้าขอถือเอาพระธรรมเป็นที่พึ่งที่ระลึก
    ข้าพเจ้าขอถือเอาพระสงฆ์เป็นที่พึ่งที่ระลึก

    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้าขอถือเอาพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งที่ระลึก
    แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้าขอถือเอาพระธรรมเป็นที่พึ่งที่ระลึก
    แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้าขอถือเอาพระสงฆ์เป็นที่พึ่งที่ระลึก

    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    แม้ครั้งที่สาม ข้าพเจ้าขอถือเอาพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งที่ระลึก
    แม้ครั้งที่สาม ข้าพเจ้าขอถือเอาพระธรรมเป็นที่พึ่งที่ระลึก
    แม้ครั้งที่สาม ข้าพเจ้าขอถือเอาพระสงฆ์เป็นที่พึ่งที่ระลึก
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ข้าพเจ้าขอถือเอาพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งที่ระลึก ข้าพเจ้าขอถือเอาพระธรรมเป็นที่พึ่งที่ระลึก ข้าพเจ้าขอถือเอาพระสงฆ์เป็นที่พึ่งที่ระลึก ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้าขอถือเอาพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้าขอถือเอาพระธรรมเป็นที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้าขอถือเอาพระสงฆ์เป็นที่พึ่งที่ระลึก ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ แม้ครั้งที่สาม ข้าพเจ้าขอถือเอาพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่สาม ข้าพเจ้าขอถือเอาพระธรรมเป็นที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่สาม ข้าพเจ้าขอถือเอาพระสงฆ์เป็นที่พึ่งที่ระลึก
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 116 มุมมอง 0 รีวิว
  • สมเด็จพระสังฆราช #สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ #พระสงฆ์
    สมเด็จพระสังฆราช #สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ #พระสงฆ์
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 114 มุมมอง 14 0 รีวิว
  • บาป 18 ประการ คนตื่นธรรม
    กรณีคนตื่นธรรม สอนธรรมออนไลน์ในสื่อโซเชียล มีลักษณะการใช้คำพูดหยาบคาย ด้อยค่าด่ากราด ไม่ประนีประนอมเพื่อให้คนเข้าถึงธรรมะที่แท้จริง ตื่นรู้จากอวิชชา เดรัจฉานวิชา ปลุกเสก ได้สร้างบาป 18 ประการขึ้น คือในการสอนธรรม มีข้อผิดพลาดที่เป็นปัญหาควรต้องพิจารณาและปรับปรุง เพราะกระทบต่อภาพลักษณ์ของพุทธสาสนา และสร้างสัทธรรมปฏิรูปขึ้นแก่ชาวพุทธ เป็นบาปใหญ่หลวง

    1. ใช้วจีทุจริต ไม่เป็นสัมมาวาจา ไม่เป็นวาจาสุภาษิต (ตามแนวทางมรรค ๘)
    มีการใช้คำพูดด่า ดูถูก กดข่มผู้ฟัง เช่น มึงมันโง่ ไอ้ปัญญาอ่อน มึงปัญญาอ่อนไง โดยกล่าวอ้างว่า ธรรมแท้ไม่มีประนีประนอม ในหลักของมรรคมีองค์ ๘ ครอบคลุมอยู่ในทุกเรื่องของการกระทำ จึงจะถือว่าเป็นการปฏิบัติตามคำสอนในพระพุทธศาสนา การสอนโดยใช้วาจาไม่เป็นสัมมาวาจานั้น เป็นวจีทุจริต เป็นบาป ผิดหลักมรรคมีองค์ ๘

    2. สอนขัดแย้งกันเอง ยกธรรมตีธรรม เพราะไม่รอบรู้ไม่เข้าใจหลักเหตุผล มักจะเอาธรรมข้อใดข้อหนึ่งยกขึ้นมา ตีธรรมะข้ออื่นในชุดธรรมเดียวกัน หรือชุดอื่น เพื่อสร้างภาพว่าตนรู้ทั่วถึงธรรมวินัยดี อันไหนธรรมแท้ ธรรมถูก เช่น การกล่าวว่าการรู้อดีต รู้อนาคต ไม่ได้ทำให้เข้าใจปัจจุบัน ไม่มีประโยชน์
    ถือเป็นดูหมิ่นด้อยค่า คำสอน วิชชา 3 มี ปุพเพนิวาสนุสสติญาณ จุตูปปาตญาณ อาสวักขยญาณ โดยคำลักษณะนี้เป็นการบอกว่า ญาณ 2 อย่างข้างต้นไม่มีความสำคัญ ในขณะที่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ การระลึกรู้อดีตชาติของพระพุทธเจ้า ได้เป็นการประจักษ์แจ้งการเวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏฏ์ ทำให้รู้จุตูปปาตญาณ รู้ผลของการกระทำกรรม และนำสู่อาสวักขยญาณ ปัญญารู้ทำอาสวะกิเลสให้หมดสิ้นได้ และข้อธรรมอื่นก็คล้ายกัน ไม่รู้จักเหตุผล พุทธเจ้าแสดงธรรมเป็นชุดเหตุผล เป็นลำดับ

    3. พุทธคุณไม่มีอยู่จริง นอกจากพระบริสุทธิคุณ ปัญญาคุณ มหากรุณาคุณ
    ความจริงคุณของพระพุทธเจ้ามีหลายประการ ทั้งนวหรคุณ 9 อย่าง อะระหํ(เป็นพระอรหันต์) สัมมาสัมพุทโธ(ตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง) วิชชาจรณสัมปันโน (เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ) เป็นต้น พุทธานุภาพที่เกิดจากอานุภาพบารมีที่สั่งสมแสดงออกอำนวยผล ในหลายลักษณะ ให้เกิดความสวัสดีแก่ผู้นับถือบูชา เช่น การปกป้องคุ้มครองพระภิกษุที่ไปปฏิบัติอยู่ในสถานที่ห่างไกล มักจะปูลาดอาสนะไว้ เมื่อมีภัย หรือเกิดอกุศลวิตก หวาดกลัว เพียงระลึกถึงพระพุทธเจ้า พระองค์จะเสด็จมาปลอบ สอนธรรม ทำให้พระภิกษุไม่หวาดกลัวที่จะเดินทางไปอยู่ในที่ไกลๆ เพราะพลังแห่งพุทธะคุ้มครอง แม้ในยุคปัจจุบันพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว ก็ยังมีพลังพุทธคุณหรือพุทธานุภาพปกป้องคุ้มครองชาวพุทธอยู่ ความเชื่อเหล่านี้จะมีผลได้ต้องปฏิบัติธรรมจนเข้าถึงธรรมระดับหนึ่งจึงจะสามารถพิสูจน์ได้ การเห็นสุดโต่งปฏิเสธความมีอยู่แห่งพุทธานุภาพจึงเป็นความเห็นผิด อันร้ายแรงอย่างหนึ่ง

    4.พระเครื่องไม่มีพุทธคุณ เป็นความเห็นผิด พุทธเจ้าประทานบทพระปริตรหลายวาระหลายบท เพื่อป้องกัน เพื่อรักษา ไม่เบียดเบียน อยู่สำราญ ของพระภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา พุทธานุภาพหรือเขตอำนาจแห่งพุทธเจ้าแผ่ไปใน 3 เรื่อง คือ
    1)ชาติเขต แผ่ไปในหมื่นจักรวาล
    2)อาณาเขต คือ พุทธมนต์ หรือปริตร แผ่ไปในแสนโกฏิจักรวาล
    3)วิสัยเขต แผ่ไปไม่มีขอบเขต
    พุทธคุณหรือพุทธานุภาพ เกิดจากการสวดสาธยายมนต์ มีอำนาจแผ่ไปในแสนโกฏิจักรวาล ช่วยขจัดปัดเป่าอุปัทวันตราย โรคภัย เสนียดจัญไรต่างๆ ได้ มีการสืบทอดคำสอนมาช้านาน
    ดังข้อความว่า
    "ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะจงเล่าเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะ จงทรงจำมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะไว้ ภิกษุทั้งหลาย มนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะนี้ ประกอบด้วยประโยชน์ เพื่อคุ้มครอง เพื่อรักษา เพื่อไม่เบียดเบียน เพื่ออยู่สำราญของภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาทั้งหลาย”
    ข้อความนี้แสดงให้เห็นว่า บทปริตร หรือบทพุทธมนต์ มีพลังอำนาจ คุ้มครองป้องกันรักษา พระพุทธเจ้าจึงให้สวดสาธยาย และเมื่อนำมาใช้ในการสร้างพระพุทธรูป พระเครื่องต่างๆ ย่อมมีคุณตามที่พระพุทธเจ้าตรัส
    คำพูดปฏิเสธพุทธคุณ พุทธรูป สิ่งเคารพทางศาสนา ที่สืบทอดคติความเชื่อจารีตมาช้านานนับพันปี จึงเป็นการบ่อนทำลายความศรัทธาที่มีต่อ พระพุทธเจ้า สิ่งแทนพุทธเจ้า หรือคำสอนที่เกี่ยวกับพระพุทธเจ้า ไม่ให้ผู้คนมีศรัทธา โดยยกคำสอนเรื่องอริยสัจ มาด้อยค่าคำสอนว่าด้วยเรื่องศรัทธาต่อพระพุทธเจ้า จึงเป็นการทำลายศาสนา ไปพร้อมกัน อนาคตเด็กยุคใหม่เสพคำสอนนี้ จะไม่นับถือไม่ไหว้พระพุทธเจ้าและไม่เห็นความสำคัญ คุณค่าของพุทธรูปที่สร้างไว้ในฐานะเครื่องยึดเหนี่ยวที่เป็นรูปธรรมนำสุ่พุทธเจ้า รวมทั้งไม่เชื่อในพระพุทธเจ้า

    5. มิจฉาทิฐิ 10 สอนการบูชาที่ไร้ผล สายลัทธิวัดนา สอนไม่ให้กราบไหว้บูชาพระพุทธรูป องค์แทนพุทธเจ้าสร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงพุทธเจ้า เป็นจารีตนิยมที่ถือมาช้านาน เชื่อมโยงคำสอนในพระไตรปิฎก ขุททกนิกาย วิมานวัตถุ ปีตวิมานวัตถุ
    “ติฏฺฐนฺเต นิพฺพุเต จาปิ, สเม จิตฺเต สมํ ผลํ;
    เจโตปณิธิเหตุ หิ, สตฺตา คจฺฉนฺติ สุคฺคตึ.
    "พระพุทธเจ้า จะทรงพระชนม์อยู่ หรือแม้จะนิพพานไปแล้วก็ตาม
    ถ้าจิตเสมอกัน ผลก็เสมอกัน สัตว์ทั้งหลายไปสู่สวรรค์ เพราะความเลื่อมใสตั้งมั่นแห่งจิตใจ
    การสอนไม่ให้ไหว้พุทธรูป นับเป็นมิจฉาทิฐิ ข้อที่ ๒ นัตถิ ยิตถัง และข้อที่ ๑๐ พระพุทธเจ้าไม่มีอยู่จริง ในชุดคำสอน มิจฉาทิฐิ ๑๐ ประการ เป็นการสร้างบาปทำลายคำสอน ความศรัทธาที่ชาวพุทธมีต่อพระพุทธเจ้า โดยอ้างว่าให้ยึดคำสอนสูงสุด อริยสัจสี่ เพื่อพ้นทุกข์

    6. คุณไสย ไสยเวทย์ ไม่มี. การปฏิเสธคำสอน ในเรื่องคุณไสย์ วิชาอาคม มนต์ มีพลังอำนาจอยู่จริง หรือไม่ เมื่อไม่สามารถหาคำตอบหรือพิสูจน์ได้ ก็ควรพิจารณาจากหลักฐานในพระไตรปิฎก มีที่ใดบ้าง ข้อความพุทธพจน์วินัยบัญญัติ ดังเรื่องต่อไปนี้
    ๑) พระภิกษุถูกผีสิง อมนุษย์สิง กินเลือดสด เนื้อสด ทรงอนุญาตให้พระภิกษุฉันเลือดและเนื้อสดได้ เพื่อเป็นเภสัช เมื่อฉันแล้วอมนุษย์จะออกไป แสดงให้เห็นว่าบทบัญญัติทางพระวินัย พระพุทธเจ้ายอมรับว่ามีผีหรืออมนุษย์สามารถสิงสู่คนได้ พระภิกษุถูกอมนุษย์สิงได้ และวิธีการรักษา ในครั้งนั้นตามอาการ คือเมื่ออมนุษย์มาสิงเพื่อกินเนื้อสด เลือดสด(ปอบ) ก็อนุญาตให้พระภิกษุกินได้ และไม่ถือว่าต้องอาบัติอะไร เพราะคนที่กิน ไม่ใช่พระ แต่เป็นอมนุษย์ หลักฐานนี้ยอมรับการมีอยู่ การสิงร่างคน ของอมนุษย์ เป็นความรู้ที่ควรต้องมี ไม่ปฏิเสธว่า ผี อมนุษย์ ไม่มี ไสยเวทย์ ไม่มี
    เรื่องเนื้อดิบและเลือดสด
    "อมนุษย์เคี้ยวกินเนื้อดิบและดื่มเลือดสด เพราะเหตุนั้น ภิกษุจึงชื่อว่าไม่ได้เคี้ยวกินเนื้อดิบและดื่มเลือดสดนั้น. อมนุษย์ ครั้นเคี้ยวกินและดื่มแล้วได้ออกไป เพราะเหตุนั้น พระธรรมสังคาหกาจารย์จึงกล่าวว่า อาพาธเกิดแต่อมนุษย์นั้นของเธอย่อมระงับ."
    วินัยปิฎก มหาวรรค ๕/๒๖๔๔๙.
    https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=5&siri=8

    ๒) เรื่องภิกษุโดนยาแฝดดื่มน้ำที่ละลายจากดินติดผาลไถ
    สมัยนั้น ภิกษุรูปหนึ่งอาพาธโดนยาแฝด ภิกษุทั้งหลายจึงนำเรื่องนี้ ไปกราบทูลพระผู้มีพระภาคให้ทรงทราบพระผู้มีพระภาครับสั่งว่า “ภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ดื่มน้ำที่เขาละลายดิน รอยไถติดผาล”
    (วินัยปิฎกมหาวรรค. ๕/๒๖๙/๖๑.)

    วิธีการรักษาโรคต่างๆ มีปรากฏอยู่ในตุวฏกสุตตนิทเทสขุททกนิกาย มหานิเทศ ได้กล่าวถึงวิธีการบำบัดโรคไว้ 5 อย่างด้วยกัน คือ
    (๑) การบำบัดด้วยการเสกเป่า (๒) การบำบัดด้วย (๓) การผ่าตัด (๔) การบำบัดด้วยยา (๕) การรักษาที่เกี่ยวข้องกับทางภูตผีหรือไสยศาสตร์ และการบำบัดโรคเด็ก (กุมารเวช)

    7.ปฏิเสธการสวดมนต์ สาธยายมนต์ พระปริตร ว่าไม่มีคุณค่า ไม่ได้ช่วยอะไร
    เป็นการปฏิเสธคำของพระพุทธเจ้า ที่อนุญาตให้พุทธบริษัท ๔ เรียน และสวดสาธยายปริตร ดังข้อความว่า "ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะจงเล่าเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะ จงทรงจำมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะไว้ ภิกษุทั้งหลาย มนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะนี้ ประกอบด้วยประโยชน์เพื่อคุ้มครอง เพื่อรักษา เพื่อไม่เบียดเบียน เพื่ออยู่สำราญของภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาทั้งหลาย”
    (ที.มหา. ๑๑/๒๙๕/๒๖๔.)

    8. เรียนไม่ถึง ตีความเอง ไม่ศึกษาเครื่องมือการศึกษาพระไตรปิฎก คือไวยากรณ์ภาษาบาลี คนตื่นธรรมเป็นศิษย์สำนักวัดนาจึงใช้ทิฏฐิของตน อัตโนมัติ ตัดสินธรรมตามชอบใจ ซึ่งเป็นหลักสำคัญที่สำนักนี้ใช้การตีความแบบนี้มาช้านาน
    โดยใช้หลักการยึดเอาพระไตรปิฎกเฉพาะบางส่วน ที่เห็นว่าเป็นคำพุทธวจนะแท้ จากพระโอษฐ์ โดยใช้ตรรกะง่ายๆ หาข้อความในพระสูตรที่มีคำว่า "ภิกฺขเว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย" เป็นต้น
    จึงจะเชื่อว่าเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า ส่วนคำสอนอื่นที่ไม่มีข้อความตรัสแบบนี้ จะตีความว่าไม่ใช่คำสอน เป็นคำแต่งเติม แต่งใหม่จึงมีส่วนคำสอนที่ถูกสำนักนี้ตัดออกไป เช่น เรื่องสวดปริตร หรือสิกบท 150 ข้อ การตัดสินความเป็นพุทธพจน์แท้ แบบนี้นับเป็นการตีความผิดพลาดอย่างมาก ได้สร้างบาปใหญ่ให้เกิดในสังฆมณฑลมา 20 กว่าปี ศิษย์สำนักนี้เผยแผ่ธรรม ตามการตีความแบบนี้จึงได้เกิด วิวาทะ ปะทะกับชาวพุทธส่วนใหญ่ ถกเถียงกันเรื่อง เดรัจฉานวิชา การทำน้ำมนต์ ปลุกเสก สิกขาบทวินัย ทำให้เกิดความแตกแยก ไม่มีหน่วยงานใดเข้ามาแก้ปัญหา ยังคงเป็นปัญหาจนทุกวันนี้ คนตื่นธรรมถือเป็นผลผลิตของวัดนาที่ได้สร้างบาปให้แก่พุทธสาสนา ด้วยการศึกษาเอง ตีความเอง ข่มชาวพุทธ

    9.ศึกษาธรรมวินัยเอง ไม่มีครูอาจารย์ผู้สอน ทำให้ตีความธรรมวินัยผิดพลาด ขัดแย้งกับคำสอนหลายเรื่อง เป็นมิจฉาทิฐิ ในการเล่าเรียนธรรมพระไตรปิฎก พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติวิธีการศึกษาพระธรรมวินัยไว้ในสัทธิวิหาริกวัตรว่า
    “อุปชฺฌาเยน, ภิกฺขเว, สทฺธิวิหาริโก สงฺคเหตพฺโพ อนุคฺคเหตพฺโพ อุทฺเทเสน ปริปุจฺฉาย โอวาเทน อนุสาสนิยา.
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อุปัชฌาย์ ต้องสงเคราะห์ อนุเคราะห์ สัทธิวิหาริก(พระลูกศิษย์) ด้วยอุทเทส(พระบาลี) ปริปุจฉา(การทวนสอบอรรถกถา) โอวาท และอนุสาสนีย์
    วินัยปิฎก มหาวรรค.๔/๖๗/๘๘
    https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=4&siri=20
    หลักการนี้ย้ำชัดว่า ในการศึกษาคำสอน ต้องทำอยู่ภายใต้การดูแลของผู้เชี่ยวชาญ ที่รอบรู้ในพระธรรมวินัย ไม่สามารถศึกษาเองได้ คนตื่นธรรมหรือสำนักวัดนา ใช้วิธีการอ่านศึกษาธรรมเอง จึงได้เกิดความเห็นผิดขึ้นหลายประการ เรื่องการตีความคำสอนผิดพลาด

    10.ขาดคุณสมบัติของผู้สอนธรรม ๗ ประการ ที่จำเป็นของผู้สอนธรรม ตามพุทธพจน์ที่ตรัสไว้ในอังคุตรนิกาย สัตตกนิบาตว่า
    “ปิโย ครุ ภาวนีโย, วตฺตา จ วจนกฺขโม;
    คมฺภีรญฺจ กถํ กตฺตา, โน จฏฺาเน นิโยชโก .
    ๑. เป็นที่รักเป็นที่พอใจ ๒. เป็นที่เคารพ ๓. เป็นที่ยกย่อง
    ๔. เป็นนักพูด ๕. เป็นผู้อดทนต่อถ้อยคำ ๖. เป็นผู้พูดถ้อยคำลึกซึ้งได้
    ๗. ไม่ชักนำในอฐานะ
    ภิกษุทั้งหลาย มิตรประกอบด้วยองค์ ๗ ประการนี้แล เป็นผู้ควรเสพ ควรคบ
    ควรเข้าไปนั่งใกล้ แม้จะถูกขับไล่ก็ตาม
    อธิบายความ
    1.ปิโย เป็นที่รักเป็นที่พอใจ ในที่นี้หมายถึงมีลักษณะแห่งกัลยาณมิตร ๘ ประการ คือ (๑) มีศรัทธา คือ เชื่อการตรัสรู้ของพระตถาคต เชื่อกรรมและผลของกรรม (๒) มีศีล คือ เป็นที่รัก เป็นที่เคารพ เป็นที่นับถือของสัตว์ทั้งหลาย (๓) มีสุตะ คือ กล่าวถ้อยคำที่ลึกซึ้งที่สัมปยุตด้วยสัจจะและปฏิจจสมุปบาท (๔) มีจาคะ คือปรารถนาน้อย สันโดษ ชอบสงัด ไม่คลุกคลีด้วยหมู่ (๕) มีความเพียร คือ ปรารภความเพียรในการปฏิบัติเพื่อเกื้อกูลแก่ตนและเกื้อกูลแก่ผู้อื่น (๖) มีสติ คือ มีสติตั้งมั่น (๗) มีสมาธิ คือ มีจิตตั้งมั่นไม่ฟุ้งซ่าน(๘) มีปัญญา คือ รู้อย่างไม่วิปริต ใช้สติพิจารณาคติแห่งกุศลธรรมและอกุศลธรรม รู้สิ่งที่เกื้อกูลและสิ่งไม่เกื้อกูลแห่งสัตว์ทั้งหลายด้วยปัญญาตามความเป็นจริง มีจิตเป็นหนึ่งในอารมณ์นั้นด้วยสมาธิ เว้นสิ่งที่ไม่เกื้อกูล ประกอบสิ่งที่เกื้อกูลด้วยความเพียร (องฺ.สตฺตก.ฏีกา ๓/๓๗-๔๓/๒๐๓)
    2.ครุ เป็นที่เคารพ สูงส่งหนักแน่นดุจหินผา
    3.ภาวนีโย เป็นที่ยกย่อง น่าเจริญใจ
    4.วัตตา เป็นนักพูด(ผู้สอน) หมายถึงเป็นผู้ฉลาดในการใช้คำพูด (องฺ.สตฺตก.อ. ๓/๓๗/๑๗๙)
    5. วจนักขโม อดทนต่อถ้อยคำ หมายถึงปฏิบัติตามโอวาทที่ท่านให้แล้ว (องฺ.สตฺตก.อ. ๓/๓๗/๑๗๙)
    6. คัมภีรัญ จะ กถัง กัตตา ถ้อยคำลึกซึ้ง หมายถึงเรื่องเกี่ยวกับฌาน วิปัสสนา มรรค ผล และนิพพาน (องฺ.สตฺตก.อ. ๓/๓๗/๑๗๙)
    7. โน จัฏฐาเน นิโยชะโก ไม่ชักนำในอฐานะ หมายถึงป้องกันไม่ให้ทำในสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล มีคติเป็นทุกข์ แต่ชักชวนให้ทำสิ่งที่เป็นประโยชน์เกื้อกูลมีคติเป็นสุข (เทียบ องฺ.สตฺตก.ฏีกา ๓/๓๗/๒๐๓)

    11. ไม่จำแนกแยกแยะ ให้ชัดเจน เหมาะรวม เช่น การสวดมนต์ เจริญพุทธมนต์ ปริตร การอธิษฐานจิตปลุกเสกพระเครื่องวัตถุมงคล กับเดรัจฉานวิชา เอามายำรวมกัน เป็นของที่ห้าม

    12.ไม่ให้บูชานับถือ สิ่งอื่นนอกเหนือจากพระรัตนตรัย หรือคำสอน บูชาเทวดา ยมยักษ์ ต่างๆ
    ในรายละเอียดเรื่องนี้ พระพุทธเจ้าแสดงอานิสงส์ของการบูชาเจดีย์ ที่เป็นเหตุแห่งความเจริญไว้ ในมหาปรินิพพานสูตร ตอนราชอปริหานิยธรรม ทีฆนิกาย มหาวรรค ข้อที่ ๖ ว่า
    “อานนท์ เธอได้ยินไหมว่า ‘พวกเจ้าวัชชี สักการะ เคารพ นับถือ บูชา
    เจดีย์ในแคว้นวัชชีของชาววัชชี ทั้งในเมืองและนอกเมือง และไม่ละเลยการบูชาอันชอบธรรม ที่เคยให้เคยกระทำต่อเจดีย์เหล่านั้นให้เสื่อมสูญไป”
    “อานนท์ พวกเจ้าวัชชีพึงหวังได้แต่ความเจริญอย่างเดียว ไม่มีความเสื่อมเลยตราบเท่าที่พวกเจ้าวัชชียังสักการะ เคารพ นับถือ บูชาเจดีย์ในแคว้นวัชชีของชาววัชชีทั้งในเมืองและนอกเมือง และไม่ละเลยการบูชาอันชอบธรรมที่เคยให้เคยกระทำ ต่อเจดีย์เหล่านั้นให้เสื่อมสูญไป”
    (ที.มหา.10/134/78.)
    https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=10&siri=3
    คำว่า เจดีย์ ที่ชาววัชชีบูชา หมายถึง ต้นไม้ใหญ่ ที่มียักษ์สิงสถิตย์ ยักษ์เป็นเทวดาชั้นจาตุม ยกฺข ภาษาบาลีแปลว่า ผู้ที่เขาบูชา เมื่อบุคคลบูชาต้นไม้ใหญ่ หรือยักษ์ ย่อมมีความเจริญ ยักษ์คือเทวดาย่อมปกปักษ์รักษา สอดคล้องกับคำสอนเรื่อง เทวตานุสสติ ในพระพุทธศาสนา ไม่ขัดแย้งกัน
    ย่อมเป็นหลักการยืนยันว่า พระพุทธเจ้ายอมรับว่า มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่มีพลังอำนาจอำนวยผลให้ผู้คนนับถือบูชา การบูชาเทวดา หรือต้นไม้ใหญ่ ก็มีผลนำความเจริญมาสู่ได้ เป็นหลักการย่อยในหลักการใหญ่ ที่ควรต้องรู้รอบและลึกชัดเจน จึงจะเข้าใจเรื่องนี้

    13. ไม่เข้าใจตัวบทพยัญชนะ ความหมายคำ
    ติรัจฉานวิชชา การสวดปริตร การใช้อิทธิปาฏิหาริย์ที่อนุญาต
    ติรจฺฉานวิชฺชา(อิต.) วิชาขวาง, วิชาขวาง ทางไปนิพพาน, ติรัจฉานวิชา คือความรู้ที่ไร้สาระ ความรู้ที่ไม่เป็นประโยชน์ วิชาที่ไม่ทำตนให้พ้นจากทุกข์ซึ่งพระพุทธเจ้า ทรงห้ามมิให้ภิกษุ - สามเณรศึกษา เช่น วิชาทำเสน่ห์ยาแฝดเป็นต้น.

    14. ไม่เข้าใจ แยกไม่ออกระหว่างการสวดปริตร กับการทำเดรัจฉานวิชา
    ทำให้ โจมตีพระที่สวดปริตร ทำน้ำมนต์ ปลุกเสก ในขณะที่เรื่องการทำวัตถุมงคล พุทธพานิชย์มีรายละเอียดหลายส่วน ต้องพิจารณาว่าพระสงฆ์รูปใดเข้าไปเกี่ยวข้องในลักษณะใดบ้าง ผิดพระวินัยข้อใด การสร้างพระพุทธรูป การสวดปริตร ปลุกเสก ไม่ได้ผิดหลักคำสอนทั้งในส่วนวินัยบัญญัติ หรือสัมมาอาชีวะแต่อย่างใด ส่วนการทำพานิชย์ที่เกี่ยวข้องเป็นหน้าที่ของฆราวาสดำเนินการด้วยมุ่งประโยชน์ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาสร้างถาวรวัตถุ ก็เป็นเรื่องที่สามารถทำได้ ไม่ใช่การหลอกลวงตามพระวินัย

    15. ไม่มีคารวธรรม คุณธรรม ศึกษาแบบลวกๆ ไม่เคารพในสิกขา การศึกษา ทำให้เข้าใจไม่ถูกต้อง นำสุ่การตีความธรรมวินัยผิด
    การศึกษาธรรมต้องมีความเคารพในสิกขา คือการศึกษาด้วยความเคารพ ข้อใดไม่เข้าใจก็ต้องไปสอบถาม กับอาจารย์ผู้รู้ จนเกิดความเข้าใจ การไม่แสวงหา ไม่ใฝ่หาผู้รู้มาสอบทานความรู้ที่ตนมีจึงเป็นการศึกษาโดยไม่เคารพในพระธรรม ซึ่งจะก่อให้เกิดปัญหาในเรื่องความเข้าใจไม่ถูกต้อง และเป็นปัญหาชาวพุทธเมื่อนำไปเผยแผ่
    (มี ต่อ 16-18)

    อย่าร่วมกันสร้างบาปให้กับพระพุทธศาสนา คำสอนในพระไตรปิฎกมีความลึกซึ้ง ต้องศึกษาอย่างเคารพ ระมัดระวัง อย่างเป็นระบบ มีกระบวนการ และชาวพุทธควรยึดหลักการในพระไตรปิฎก ไม่สนับสนุนกลุ่มคนที่ทำลายคำสอนด้วยการสอนผิด
    บาป 18 ประการ คนตื่นธรรม กรณีคนตื่นธรรม สอนธรรมออนไลน์ในสื่อโซเชียล มีลักษณะการใช้คำพูดหยาบคาย ด้อยค่าด่ากราด ไม่ประนีประนอมเพื่อให้คนเข้าถึงธรรมะที่แท้จริง ตื่นรู้จากอวิชชา เดรัจฉานวิชา ปลุกเสก ได้สร้างบาป 18 ประการขึ้น คือในการสอนธรรม มีข้อผิดพลาดที่เป็นปัญหาควรต้องพิจารณาและปรับปรุง เพราะกระทบต่อภาพลักษณ์ของพุทธสาสนา และสร้างสัทธรรมปฏิรูปขึ้นแก่ชาวพุทธ เป็นบาปใหญ่หลวง 1. ใช้วจีทุจริต ไม่เป็นสัมมาวาจา ไม่เป็นวาจาสุภาษิต (ตามแนวทางมรรค ๘) มีการใช้คำพูดด่า ดูถูก กดข่มผู้ฟัง เช่น มึงมันโง่ ไอ้ปัญญาอ่อน มึงปัญญาอ่อนไง โดยกล่าวอ้างว่า ธรรมแท้ไม่มีประนีประนอม ในหลักของมรรคมีองค์ ๘ ครอบคลุมอยู่ในทุกเรื่องของการกระทำ จึงจะถือว่าเป็นการปฏิบัติตามคำสอนในพระพุทธศาสนา การสอนโดยใช้วาจาไม่เป็นสัมมาวาจานั้น เป็นวจีทุจริต เป็นบาป ผิดหลักมรรคมีองค์ ๘ 2. สอนขัดแย้งกันเอง ยกธรรมตีธรรม เพราะไม่รอบรู้ไม่เข้าใจหลักเหตุผล มักจะเอาธรรมข้อใดข้อหนึ่งยกขึ้นมา ตีธรรมะข้ออื่นในชุดธรรมเดียวกัน หรือชุดอื่น เพื่อสร้างภาพว่าตนรู้ทั่วถึงธรรมวินัยดี อันไหนธรรมแท้ ธรรมถูก เช่น การกล่าวว่าการรู้อดีต รู้อนาคต ไม่ได้ทำให้เข้าใจปัจจุบัน ไม่มีประโยชน์ ถือเป็นดูหมิ่นด้อยค่า คำสอน วิชชา 3 มี ปุพเพนิวาสนุสสติญาณ จุตูปปาตญาณ อาสวักขยญาณ โดยคำลักษณะนี้เป็นการบอกว่า ญาณ 2 อย่างข้างต้นไม่มีความสำคัญ ในขณะที่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ การระลึกรู้อดีตชาติของพระพุทธเจ้า ได้เป็นการประจักษ์แจ้งการเวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏฏ์ ทำให้รู้จุตูปปาตญาณ รู้ผลของการกระทำกรรม และนำสู่อาสวักขยญาณ ปัญญารู้ทำอาสวะกิเลสให้หมดสิ้นได้ และข้อธรรมอื่นก็คล้ายกัน ไม่รู้จักเหตุผล พุทธเจ้าแสดงธรรมเป็นชุดเหตุผล เป็นลำดับ 3. พุทธคุณไม่มีอยู่จริง นอกจากพระบริสุทธิคุณ ปัญญาคุณ มหากรุณาคุณ ความจริงคุณของพระพุทธเจ้ามีหลายประการ ทั้งนวหรคุณ 9 อย่าง อะระหํ(เป็นพระอรหันต์) สัมมาสัมพุทโธ(ตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง) วิชชาจรณสัมปันโน (เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ) เป็นต้น พุทธานุภาพที่เกิดจากอานุภาพบารมีที่สั่งสมแสดงออกอำนวยผล ในหลายลักษณะ ให้เกิดความสวัสดีแก่ผู้นับถือบูชา เช่น การปกป้องคุ้มครองพระภิกษุที่ไปปฏิบัติอยู่ในสถานที่ห่างไกล มักจะปูลาดอาสนะไว้ เมื่อมีภัย หรือเกิดอกุศลวิตก หวาดกลัว เพียงระลึกถึงพระพุทธเจ้า พระองค์จะเสด็จมาปลอบ สอนธรรม ทำให้พระภิกษุไม่หวาดกลัวที่จะเดินทางไปอยู่ในที่ไกลๆ เพราะพลังแห่งพุทธะคุ้มครอง แม้ในยุคปัจจุบันพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว ก็ยังมีพลังพุทธคุณหรือพุทธานุภาพปกป้องคุ้มครองชาวพุทธอยู่ ความเชื่อเหล่านี้จะมีผลได้ต้องปฏิบัติธรรมจนเข้าถึงธรรมระดับหนึ่งจึงจะสามารถพิสูจน์ได้ การเห็นสุดโต่งปฏิเสธความมีอยู่แห่งพุทธานุภาพจึงเป็นความเห็นผิด อันร้ายแรงอย่างหนึ่ง 4.พระเครื่องไม่มีพุทธคุณ เป็นความเห็นผิด พุทธเจ้าประทานบทพระปริตรหลายวาระหลายบท เพื่อป้องกัน เพื่อรักษา ไม่เบียดเบียน อยู่สำราญ ของพระภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา พุทธานุภาพหรือเขตอำนาจแห่งพุทธเจ้าแผ่ไปใน 3 เรื่อง คือ 1)ชาติเขต แผ่ไปในหมื่นจักรวาล 2)อาณาเขต คือ พุทธมนต์ หรือปริตร แผ่ไปในแสนโกฏิจักรวาล 3)วิสัยเขต แผ่ไปไม่มีขอบเขต พุทธคุณหรือพุทธานุภาพ เกิดจากการสวดสาธยายมนต์ มีอำนาจแผ่ไปในแสนโกฏิจักรวาล ช่วยขจัดปัดเป่าอุปัทวันตราย โรคภัย เสนียดจัญไรต่างๆ ได้ มีการสืบทอดคำสอนมาช้านาน ดังข้อความว่า "ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะจงเล่าเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะ จงทรงจำมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะไว้ ภิกษุทั้งหลาย มนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะนี้ ประกอบด้วยประโยชน์ เพื่อคุ้มครอง เพื่อรักษา เพื่อไม่เบียดเบียน เพื่ออยู่สำราญของภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาทั้งหลาย” ข้อความนี้แสดงให้เห็นว่า บทปริตร หรือบทพุทธมนต์ มีพลังอำนาจ คุ้มครองป้องกันรักษา พระพุทธเจ้าจึงให้สวดสาธยาย และเมื่อนำมาใช้ในการสร้างพระพุทธรูป พระเครื่องต่างๆ ย่อมมีคุณตามที่พระพุทธเจ้าตรัส คำพูดปฏิเสธพุทธคุณ พุทธรูป สิ่งเคารพทางศาสนา ที่สืบทอดคติความเชื่อจารีตมาช้านานนับพันปี จึงเป็นการบ่อนทำลายความศรัทธาที่มีต่อ พระพุทธเจ้า สิ่งแทนพุทธเจ้า หรือคำสอนที่เกี่ยวกับพระพุทธเจ้า ไม่ให้ผู้คนมีศรัทธา โดยยกคำสอนเรื่องอริยสัจ มาด้อยค่าคำสอนว่าด้วยเรื่องศรัทธาต่อพระพุทธเจ้า จึงเป็นการทำลายศาสนา ไปพร้อมกัน อนาคตเด็กยุคใหม่เสพคำสอนนี้ จะไม่นับถือไม่ไหว้พระพุทธเจ้าและไม่เห็นความสำคัญ คุณค่าของพุทธรูปที่สร้างไว้ในฐานะเครื่องยึดเหนี่ยวที่เป็นรูปธรรมนำสุ่พุทธเจ้า รวมทั้งไม่เชื่อในพระพุทธเจ้า 5. มิจฉาทิฐิ 10 สอนการบูชาที่ไร้ผล สายลัทธิวัดนา สอนไม่ให้กราบไหว้บูชาพระพุทธรูป องค์แทนพุทธเจ้าสร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงพุทธเจ้า เป็นจารีตนิยมที่ถือมาช้านาน เชื่อมโยงคำสอนในพระไตรปิฎก ขุททกนิกาย วิมานวัตถุ ปีตวิมานวัตถุ “ติฏฺฐนฺเต นิพฺพุเต จาปิ, สเม จิตฺเต สมํ ผลํ; เจโตปณิธิเหตุ หิ, สตฺตา คจฺฉนฺติ สุคฺคตึ. "พระพุทธเจ้า จะทรงพระชนม์อยู่ หรือแม้จะนิพพานไปแล้วก็ตาม ถ้าจิตเสมอกัน ผลก็เสมอกัน สัตว์ทั้งหลายไปสู่สวรรค์ เพราะความเลื่อมใสตั้งมั่นแห่งจิตใจ การสอนไม่ให้ไหว้พุทธรูป นับเป็นมิจฉาทิฐิ ข้อที่ ๒ นัตถิ ยิตถัง และข้อที่ ๑๐ พระพุทธเจ้าไม่มีอยู่จริง ในชุดคำสอน มิจฉาทิฐิ ๑๐ ประการ เป็นการสร้างบาปทำลายคำสอน ความศรัทธาที่ชาวพุทธมีต่อพระพุทธเจ้า โดยอ้างว่าให้ยึดคำสอนสูงสุด อริยสัจสี่ เพื่อพ้นทุกข์ 6. คุณไสย ไสยเวทย์ ไม่มี. การปฏิเสธคำสอน ในเรื่องคุณไสย์ วิชาอาคม มนต์ มีพลังอำนาจอยู่จริง หรือไม่ เมื่อไม่สามารถหาคำตอบหรือพิสูจน์ได้ ก็ควรพิจารณาจากหลักฐานในพระไตรปิฎก มีที่ใดบ้าง ข้อความพุทธพจน์วินัยบัญญัติ ดังเรื่องต่อไปนี้ ๑) พระภิกษุถูกผีสิง อมนุษย์สิง กินเลือดสด เนื้อสด ทรงอนุญาตให้พระภิกษุฉันเลือดและเนื้อสดได้ เพื่อเป็นเภสัช เมื่อฉันแล้วอมนุษย์จะออกไป แสดงให้เห็นว่าบทบัญญัติทางพระวินัย พระพุทธเจ้ายอมรับว่ามีผีหรืออมนุษย์สามารถสิงสู่คนได้ พระภิกษุถูกอมนุษย์สิงได้ และวิธีการรักษา ในครั้งนั้นตามอาการ คือเมื่ออมนุษย์มาสิงเพื่อกินเนื้อสด เลือดสด(ปอบ) ก็อนุญาตให้พระภิกษุกินได้ และไม่ถือว่าต้องอาบัติอะไร เพราะคนที่กิน ไม่ใช่พระ แต่เป็นอมนุษย์ หลักฐานนี้ยอมรับการมีอยู่ การสิงร่างคน ของอมนุษย์ เป็นความรู้ที่ควรต้องมี ไม่ปฏิเสธว่า ผี อมนุษย์ ไม่มี ไสยเวทย์ ไม่มี เรื่องเนื้อดิบและเลือดสด "อมนุษย์เคี้ยวกินเนื้อดิบและดื่มเลือดสด เพราะเหตุนั้น ภิกษุจึงชื่อว่าไม่ได้เคี้ยวกินเนื้อดิบและดื่มเลือดสดนั้น. อมนุษย์ ครั้นเคี้ยวกินและดื่มแล้วได้ออกไป เพราะเหตุนั้น พระธรรมสังคาหกาจารย์จึงกล่าวว่า อาพาธเกิดแต่อมนุษย์นั้นของเธอย่อมระงับ." วินัยปิฎก มหาวรรค ๕/๒๖๔๔๙. https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=5&siri=8 ๒) เรื่องภิกษุโดนยาแฝดดื่มน้ำที่ละลายจากดินติดผาลไถ สมัยนั้น ภิกษุรูปหนึ่งอาพาธโดนยาแฝด ภิกษุทั้งหลายจึงนำเรื่องนี้ ไปกราบทูลพระผู้มีพระภาคให้ทรงทราบพระผู้มีพระภาครับสั่งว่า “ภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ดื่มน้ำที่เขาละลายดิน รอยไถติดผาล” (วินัยปิฎกมหาวรรค. ๕/๒๖๙/๖๑.) วิธีการรักษาโรคต่างๆ มีปรากฏอยู่ในตุวฏกสุตตนิทเทสขุททกนิกาย มหานิเทศ ได้กล่าวถึงวิธีการบำบัดโรคไว้ 5 อย่างด้วยกัน คือ (๑) การบำบัดด้วยการเสกเป่า (๒) การบำบัดด้วย (๓) การผ่าตัด (๔) การบำบัดด้วยยา (๕) การรักษาที่เกี่ยวข้องกับทางภูตผีหรือไสยศาสตร์ และการบำบัดโรคเด็ก (กุมารเวช) 7.ปฏิเสธการสวดมนต์ สาธยายมนต์ พระปริตร ว่าไม่มีคุณค่า ไม่ได้ช่วยอะไร เป็นการปฏิเสธคำของพระพุทธเจ้า ที่อนุญาตให้พุทธบริษัท ๔ เรียน และสวดสาธยายปริตร ดังข้อความว่า "ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะจงเล่าเรียนมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะ จงทรงจำมนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะไว้ ภิกษุทั้งหลาย มนต์เครื่องรักษาชื่ออาฏานาฏิยะนี้ ประกอบด้วยประโยชน์เพื่อคุ้มครอง เพื่อรักษา เพื่อไม่เบียดเบียน เพื่ออยู่สำราญของภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาทั้งหลาย” (ที.มหา. ๑๑/๒๙๕/๒๖๔.) 8. เรียนไม่ถึง ตีความเอง ไม่ศึกษาเครื่องมือการศึกษาพระไตรปิฎก คือไวยากรณ์ภาษาบาลี คนตื่นธรรมเป็นศิษย์สำนักวัดนาจึงใช้ทิฏฐิของตน อัตโนมัติ ตัดสินธรรมตามชอบใจ ซึ่งเป็นหลักสำคัญที่สำนักนี้ใช้การตีความแบบนี้มาช้านาน โดยใช้หลักการยึดเอาพระไตรปิฎกเฉพาะบางส่วน ที่เห็นว่าเป็นคำพุทธวจนะแท้ จากพระโอษฐ์ โดยใช้ตรรกะง่ายๆ หาข้อความในพระสูตรที่มีคำว่า "ภิกฺขเว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย" เป็นต้น จึงจะเชื่อว่าเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า ส่วนคำสอนอื่นที่ไม่มีข้อความตรัสแบบนี้ จะตีความว่าไม่ใช่คำสอน เป็นคำแต่งเติม แต่งใหม่จึงมีส่วนคำสอนที่ถูกสำนักนี้ตัดออกไป เช่น เรื่องสวดปริตร หรือสิกบท 150 ข้อ การตัดสินความเป็นพุทธพจน์แท้ แบบนี้นับเป็นการตีความผิดพลาดอย่างมาก ได้สร้างบาปใหญ่ให้เกิดในสังฆมณฑลมา 20 กว่าปี ศิษย์สำนักนี้เผยแผ่ธรรม ตามการตีความแบบนี้จึงได้เกิด วิวาทะ ปะทะกับชาวพุทธส่วนใหญ่ ถกเถียงกันเรื่อง เดรัจฉานวิชา การทำน้ำมนต์ ปลุกเสก สิกขาบทวินัย ทำให้เกิดความแตกแยก ไม่มีหน่วยงานใดเข้ามาแก้ปัญหา ยังคงเป็นปัญหาจนทุกวันนี้ คนตื่นธรรมถือเป็นผลผลิตของวัดนาที่ได้สร้างบาปให้แก่พุทธสาสนา ด้วยการศึกษาเอง ตีความเอง ข่มชาวพุทธ 9.ศึกษาธรรมวินัยเอง ไม่มีครูอาจารย์ผู้สอน ทำให้ตีความธรรมวินัยผิดพลาด ขัดแย้งกับคำสอนหลายเรื่อง เป็นมิจฉาทิฐิ ในการเล่าเรียนธรรมพระไตรปิฎก พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติวิธีการศึกษาพระธรรมวินัยไว้ในสัทธิวิหาริกวัตรว่า “อุปชฺฌาเยน, ภิกฺขเว, สทฺธิวิหาริโก สงฺคเหตพฺโพ อนุคฺคเหตพฺโพ อุทฺเทเสน ปริปุจฺฉาย โอวาเทน อนุสาสนิยา. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อุปัชฌาย์ ต้องสงเคราะห์ อนุเคราะห์ สัทธิวิหาริก(พระลูกศิษย์) ด้วยอุทเทส(พระบาลี) ปริปุจฉา(การทวนสอบอรรถกถา) โอวาท และอนุสาสนีย์ วินัยปิฎก มหาวรรค.๔/๖๗/๘๘ https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=4&siri=20 หลักการนี้ย้ำชัดว่า ในการศึกษาคำสอน ต้องทำอยู่ภายใต้การดูแลของผู้เชี่ยวชาญ ที่รอบรู้ในพระธรรมวินัย ไม่สามารถศึกษาเองได้ คนตื่นธรรมหรือสำนักวัดนา ใช้วิธีการอ่านศึกษาธรรมเอง จึงได้เกิดความเห็นผิดขึ้นหลายประการ เรื่องการตีความคำสอนผิดพลาด 10.ขาดคุณสมบัติของผู้สอนธรรม ๗ ประการ ที่จำเป็นของผู้สอนธรรม ตามพุทธพจน์ที่ตรัสไว้ในอังคุตรนิกาย สัตตกนิบาตว่า “ปิโย ครุ ภาวนีโย, วตฺตา จ วจนกฺขโม; คมฺภีรญฺจ กถํ กตฺตา, โน จฏฺาเน นิโยชโก . ๑. เป็นที่รักเป็นที่พอใจ ๒. เป็นที่เคารพ ๓. เป็นที่ยกย่อง ๔. เป็นนักพูด ๕. เป็นผู้อดทนต่อถ้อยคำ ๖. เป็นผู้พูดถ้อยคำลึกซึ้งได้ ๗. ไม่ชักนำในอฐานะ ภิกษุทั้งหลาย มิตรประกอบด้วยองค์ ๗ ประการนี้แล เป็นผู้ควรเสพ ควรคบ ควรเข้าไปนั่งใกล้ แม้จะถูกขับไล่ก็ตาม อธิบายความ 1.ปิโย เป็นที่รักเป็นที่พอใจ ในที่นี้หมายถึงมีลักษณะแห่งกัลยาณมิตร ๘ ประการ คือ (๑) มีศรัทธา คือ เชื่อการตรัสรู้ของพระตถาคต เชื่อกรรมและผลของกรรม (๒) มีศีล คือ เป็นที่รัก เป็นที่เคารพ เป็นที่นับถือของสัตว์ทั้งหลาย (๓) มีสุตะ คือ กล่าวถ้อยคำที่ลึกซึ้งที่สัมปยุตด้วยสัจจะและปฏิจจสมุปบาท (๔) มีจาคะ คือปรารถนาน้อย สันโดษ ชอบสงัด ไม่คลุกคลีด้วยหมู่ (๕) มีความเพียร คือ ปรารภความเพียรในการปฏิบัติเพื่อเกื้อกูลแก่ตนและเกื้อกูลแก่ผู้อื่น (๖) มีสติ คือ มีสติตั้งมั่น (๗) มีสมาธิ คือ มีจิตตั้งมั่นไม่ฟุ้งซ่าน(๘) มีปัญญา คือ รู้อย่างไม่วิปริต ใช้สติพิจารณาคติแห่งกุศลธรรมและอกุศลธรรม รู้สิ่งที่เกื้อกูลและสิ่งไม่เกื้อกูลแห่งสัตว์ทั้งหลายด้วยปัญญาตามความเป็นจริง มีจิตเป็นหนึ่งในอารมณ์นั้นด้วยสมาธิ เว้นสิ่งที่ไม่เกื้อกูล ประกอบสิ่งที่เกื้อกูลด้วยความเพียร (องฺ.สตฺตก.ฏีกา ๓/๓๗-๔๓/๒๐๓) 2.ครุ เป็นที่เคารพ สูงส่งหนักแน่นดุจหินผา 3.ภาวนีโย เป็นที่ยกย่อง น่าเจริญใจ 4.วัตตา เป็นนักพูด(ผู้สอน) หมายถึงเป็นผู้ฉลาดในการใช้คำพูด (องฺ.สตฺตก.อ. ๓/๓๗/๑๗๙) 5. วจนักขโม อดทนต่อถ้อยคำ หมายถึงปฏิบัติตามโอวาทที่ท่านให้แล้ว (องฺ.สตฺตก.อ. ๓/๓๗/๑๗๙) 6. คัมภีรัญ จะ กถัง กัตตา ถ้อยคำลึกซึ้ง หมายถึงเรื่องเกี่ยวกับฌาน วิปัสสนา มรรค ผล และนิพพาน (องฺ.สตฺตก.อ. ๓/๓๗/๑๗๙) 7. โน จัฏฐาเน นิโยชะโก ไม่ชักนำในอฐานะ หมายถึงป้องกันไม่ให้ทำในสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล มีคติเป็นทุกข์ แต่ชักชวนให้ทำสิ่งที่เป็นประโยชน์เกื้อกูลมีคติเป็นสุข (เทียบ องฺ.สตฺตก.ฏีกา ๓/๓๗/๒๐๓) 11. ไม่จำแนกแยกแยะ ให้ชัดเจน เหมาะรวม เช่น การสวดมนต์ เจริญพุทธมนต์ ปริตร การอธิษฐานจิตปลุกเสกพระเครื่องวัตถุมงคล กับเดรัจฉานวิชา เอามายำรวมกัน เป็นของที่ห้าม 12.ไม่ให้บูชานับถือ สิ่งอื่นนอกเหนือจากพระรัตนตรัย หรือคำสอน บูชาเทวดา ยมยักษ์ ต่างๆ ในรายละเอียดเรื่องนี้ พระพุทธเจ้าแสดงอานิสงส์ของการบูชาเจดีย์ ที่เป็นเหตุแห่งความเจริญไว้ ในมหาปรินิพพานสูตร ตอนราชอปริหานิยธรรม ทีฆนิกาย มหาวรรค ข้อที่ ๖ ว่า “อานนท์ เธอได้ยินไหมว่า ‘พวกเจ้าวัชชี สักการะ เคารพ นับถือ บูชา เจดีย์ในแคว้นวัชชีของชาววัชชี ทั้งในเมืองและนอกเมือง และไม่ละเลยการบูชาอันชอบธรรม ที่เคยให้เคยกระทำต่อเจดีย์เหล่านั้นให้เสื่อมสูญไป” “อานนท์ พวกเจ้าวัชชีพึงหวังได้แต่ความเจริญอย่างเดียว ไม่มีความเสื่อมเลยตราบเท่าที่พวกเจ้าวัชชียังสักการะ เคารพ นับถือ บูชาเจดีย์ในแคว้นวัชชีของชาววัชชีทั้งในเมืองและนอกเมือง และไม่ละเลยการบูชาอันชอบธรรมที่เคยให้เคยกระทำ ต่อเจดีย์เหล่านั้นให้เสื่อมสูญไป” (ที.มหา.10/134/78.) https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=10&siri=3 คำว่า เจดีย์ ที่ชาววัชชีบูชา หมายถึง ต้นไม้ใหญ่ ที่มียักษ์สิงสถิตย์ ยักษ์เป็นเทวดาชั้นจาตุม ยกฺข ภาษาบาลีแปลว่า ผู้ที่เขาบูชา เมื่อบุคคลบูชาต้นไม้ใหญ่ หรือยักษ์ ย่อมมีความเจริญ ยักษ์คือเทวดาย่อมปกปักษ์รักษา สอดคล้องกับคำสอนเรื่อง เทวตานุสสติ ในพระพุทธศาสนา ไม่ขัดแย้งกัน ย่อมเป็นหลักการยืนยันว่า พระพุทธเจ้ายอมรับว่า มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่มีพลังอำนาจอำนวยผลให้ผู้คนนับถือบูชา การบูชาเทวดา หรือต้นไม้ใหญ่ ก็มีผลนำความเจริญมาสู่ได้ เป็นหลักการย่อยในหลักการใหญ่ ที่ควรต้องรู้รอบและลึกชัดเจน จึงจะเข้าใจเรื่องนี้ 13. ไม่เข้าใจตัวบทพยัญชนะ ความหมายคำ ติรัจฉานวิชชา การสวดปริตร การใช้อิทธิปาฏิหาริย์ที่อนุญาต ติรจฺฉานวิชฺชา(อิต.) วิชาขวาง, วิชาขวาง ทางไปนิพพาน, ติรัจฉานวิชา คือความรู้ที่ไร้สาระ ความรู้ที่ไม่เป็นประโยชน์ วิชาที่ไม่ทำตนให้พ้นจากทุกข์ซึ่งพระพุทธเจ้า ทรงห้ามมิให้ภิกษุ - สามเณรศึกษา เช่น วิชาทำเสน่ห์ยาแฝดเป็นต้น. 14. ไม่เข้าใจ แยกไม่ออกระหว่างการสวดปริตร กับการทำเดรัจฉานวิชา ทำให้ โจมตีพระที่สวดปริตร ทำน้ำมนต์ ปลุกเสก ในขณะที่เรื่องการทำวัตถุมงคล พุทธพานิชย์มีรายละเอียดหลายส่วน ต้องพิจารณาว่าพระสงฆ์รูปใดเข้าไปเกี่ยวข้องในลักษณะใดบ้าง ผิดพระวินัยข้อใด การสร้างพระพุทธรูป การสวดปริตร ปลุกเสก ไม่ได้ผิดหลักคำสอนทั้งในส่วนวินัยบัญญัติ หรือสัมมาอาชีวะแต่อย่างใด ส่วนการทำพานิชย์ที่เกี่ยวข้องเป็นหน้าที่ของฆราวาสดำเนินการด้วยมุ่งประโยชน์ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาสร้างถาวรวัตถุ ก็เป็นเรื่องที่สามารถทำได้ ไม่ใช่การหลอกลวงตามพระวินัย 15. ไม่มีคารวธรรม คุณธรรม ศึกษาแบบลวกๆ ไม่เคารพในสิกขา การศึกษา ทำให้เข้าใจไม่ถูกต้อง นำสุ่การตีความธรรมวินัยผิด การศึกษาธรรมต้องมีความเคารพในสิกขา คือการศึกษาด้วยความเคารพ ข้อใดไม่เข้าใจก็ต้องไปสอบถาม กับอาจารย์ผู้รู้ จนเกิดความเข้าใจ การไม่แสวงหา ไม่ใฝ่หาผู้รู้มาสอบทานความรู้ที่ตนมีจึงเป็นการศึกษาโดยไม่เคารพในพระธรรม ซึ่งจะก่อให้เกิดปัญหาในเรื่องความเข้าใจไม่ถูกต้อง และเป็นปัญหาชาวพุทธเมื่อนำไปเผยแผ่ (มี ต่อ 16-18) อย่าร่วมกันสร้างบาปให้กับพระพุทธศาสนา คำสอนในพระไตรปิฎกมีความลึกซึ้ง ต้องศึกษาอย่างเคารพ ระมัดระวัง อย่างเป็นระบบ มีกระบวนการ และชาวพุทธควรยึดหลักการในพระไตรปิฎก ไม่สนับสนุนกลุ่มคนที่ทำลายคำสอนด้วยการสอนผิด
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 496 มุมมอง 0 รีวิว
  • ⭐️อานิสงส์ถวายข้าวเพื่อบูชาพระ

    ผู้ถาม : “ถวายข้าวพระพุทธรูป กับ ถวายข้าวพระสงฆ์ อย่างไหนมีอานิสงส์มากกว่ากันคะ.?”

    หลวงพ่อ : “การถวายข้าวพระพุทธรูป ถ้าเป็นเจตนาเพื่อเป็นพุทธบูชาจริง ก็เป็นพุทธานุสสติกรรมฐาน ตั้งใจถวายพระสงฆ์และตั้งใจถวายจริงๆ เป็นวัตถุทานด้วย เป็นสังฆานุสสติกรรมฐานด้วย

    แต่อย่าลืมนะว่า ถวายแก่พระพุทธเจ้ามีอานิสงส์มากกว่าถวายพระสงฆ์เยอะ แต่ว่าเวลานี้ถ้าไม่ถวายพระสงฆ์ เกิดไปชาติหน้าอดข้าว เดี๋ยวหนูเกิดไปชาติหน้า ถ้าพูดเขาไม่ให้กิน ต้องนั่งเฉยๆ เดี๋ยวเขาก็ให้กิน”

    ผู้ถาม : (หัวเราะ)

    หลวงพ่อ : “ถวายพระพุทธเจ้าเป็นพุทธบูชาเฉยๆ ยังไม่ถือเป็นทาน เราจะมีทรัพย์สิน มีเสื้อสวม มีผ้านุ่ง มีบ้านอยู่ นั่นเป็นอานิสงส์ของทาน การให้ ถ้าเราบูชาพระพุทธเจ้า จัดเป็นพุทธบูชาเฉยๆ นึกถึงความดีท่าน ไม่ถือว่าเป็นทาน อานิสงส์ได้คนละอย่าง

    “พุทธบูชา มหาเตชะวันโต” การบูชาพระพุทธเจ้ามีเดชมีอำนาจมาก นั่นหมายความว่า ถ้าเกิดเป็นเทวดาหรือพรหม มีรัศมีกายสว่างไสวมาก เทวดาหรือพรหมนี่เขาไม่ดูเครื่องแต่งตัว เขาดูแสงสว่างออกจากกาย

    “ธัมมบูชา มหาปัญโญ” การบูชาพระธรรม มีปัญญามาก คือใคร่ครวญในพระธรรมจนเกิดปัญญา จิตเป็นสมาธิ

    “สังฆบูชา มหาโภคะวะโห” สงเคราะห์พระสงฆ์ เกิดไปรวยมาก เพราะเราใช้วัตถุเป็นเครื่องหมาย

    อานิสงส์ต่านกัน แต่ต้องทำ 3 อย่าง ไม่งั้นหลวงพ่ออด”

    ผู้ถาม : (หัวเราะ)

    📚จาก : หนังสือ หลวงพ่อ ตอบปัญหาธรรม ฉบับพิเศษ เล่มที่ ๔ หน้า ๓๘ โดย ⭐️หลวงพ่อพระราชพรหมยาน (พระมหาวีระ ถาวโร) วัดจันทาราม(ท่าซุง) อำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี
    ✨เพจ:คำสอนหลวงพ่อพระราชพรหมยาน

    🖊️พิมพ์ธรรมทาน นภา อิน
    ⭐️อานิสงส์ถวายข้าวเพื่อบูชาพระ ผู้ถาม : “ถวายข้าวพระพุทธรูป กับ ถวายข้าวพระสงฆ์ อย่างไหนมีอานิสงส์มากกว่ากันคะ.?” หลวงพ่อ : “การถวายข้าวพระพุทธรูป ถ้าเป็นเจตนาเพื่อเป็นพุทธบูชาจริง ก็เป็นพุทธานุสสติกรรมฐาน ตั้งใจถวายพระสงฆ์และตั้งใจถวายจริงๆ เป็นวัตถุทานด้วย เป็นสังฆานุสสติกรรมฐานด้วย แต่อย่าลืมนะว่า ถวายแก่พระพุทธเจ้ามีอานิสงส์มากกว่าถวายพระสงฆ์เยอะ แต่ว่าเวลานี้ถ้าไม่ถวายพระสงฆ์ เกิดไปชาติหน้าอดข้าว เดี๋ยวหนูเกิดไปชาติหน้า ถ้าพูดเขาไม่ให้กิน ต้องนั่งเฉยๆ เดี๋ยวเขาก็ให้กิน” ผู้ถาม : (หัวเราะ) หลวงพ่อ : “ถวายพระพุทธเจ้าเป็นพุทธบูชาเฉยๆ ยังไม่ถือเป็นทาน เราจะมีทรัพย์สิน มีเสื้อสวม มีผ้านุ่ง มีบ้านอยู่ นั่นเป็นอานิสงส์ของทาน การให้ ถ้าเราบูชาพระพุทธเจ้า จัดเป็นพุทธบูชาเฉยๆ นึกถึงความดีท่าน ไม่ถือว่าเป็นทาน อานิสงส์ได้คนละอย่าง “พุทธบูชา มหาเตชะวันโต” การบูชาพระพุทธเจ้ามีเดชมีอำนาจมาก นั่นหมายความว่า ถ้าเกิดเป็นเทวดาหรือพรหม มีรัศมีกายสว่างไสวมาก เทวดาหรือพรหมนี่เขาไม่ดูเครื่องแต่งตัว เขาดูแสงสว่างออกจากกาย “ธัมมบูชา มหาปัญโญ” การบูชาพระธรรม มีปัญญามาก คือใคร่ครวญในพระธรรมจนเกิดปัญญา จิตเป็นสมาธิ “สังฆบูชา มหาโภคะวะโห” สงเคราะห์พระสงฆ์ เกิดไปรวยมาก เพราะเราใช้วัตถุเป็นเครื่องหมาย อานิสงส์ต่านกัน แต่ต้องทำ 3 อย่าง ไม่งั้นหลวงพ่ออด” ผู้ถาม : (หัวเราะ) 📚จาก : หนังสือ หลวงพ่อ ตอบปัญหาธรรม ฉบับพิเศษ เล่มที่ ๔ หน้า ๓๘ โดย ⭐️หลวงพ่อพระราชพรหมยาน (พระมหาวีระ ถาวโร) วัดจันทาราม(ท่าซุง) อำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี ✨เพจ:คำสอนหลวงพ่อพระราชพรหมยาน 🖊️พิมพ์ธรรมทาน นภา อิน
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 295 มุมมอง 0 รีวิว

  • “..ถ้าป่วยใหม่ๆ อาตมาแนะนำให้ทำดังนี้คือ
    ๑) ให้นำพระพุทธรูป ผ้าไตรจีวร พร้อมอาหารและของใช้ที่จำเป็นนำไปให้ผู้ป่วยเห็นและให้ตั้งจิตอธิษฐานว่า “ของ ทั้งหมดนี้ขอถวายเป็นสังฆทานแก่พระสงฆ์ในพระพุทธศาสนา เพื่ออุทิศส่วนกุศลผลบุญทั้งหมดนี้ให้เจ้ากรรมนายเวรของผู้ป่วยได้โมทนาและ อโหสิกรรมให้ผู้ป่วยด้วย” แล้วญาติก็นำของทั้งหมดไปถวายพระเป็นสังฆทาน จิตใจของผู้ป่วยจะได้สบายเพราะได้เห็นพระพุทธรูปและได้ทำบุญ
    ๒) ถ้าจะให้ดีขึ้นไปอีก ก็ควรนำเงินจะมากหรือน้อยตามแต่ศรัทธาให้ผู้ป่วยถือเงินไว้และให้ตั้งจิตอธิษฐานว่า “เงินจำนวนนี้ขอถวายชำระหนี้สงฆ์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ถ้าเคยไปหยิบหรือนำของสงฆ์มาโดยเจตนาหรือไม่ได้เจตนาก็ตาม”
    ๓) ในระหว่างที่นอนป่วยอยู่ ควรนำพระพุทธรูปมาตั้งไว้ให้ผู้ป่วยได้มองเห็น อย่าไปตั้งไว้ในที่ผู้ป่วยเห็นไม่ถนัด ผู้ป่วยลืมตาขึ้นมาเมื่อใดก็จะเห็นพระทันที จิตของผู้ป่วยจะได้จับอยู่ที่พระ ใจจะสบายช่วยให้คลายจากทุกขเวทนาได้บ้าง และถ้าตายเมื่อใดก็จะไม่ลงนรก
    ๔) ถ้าป่วยมากมีทุกขเวทนามาก ควรแนะนำสั้นๆ ให้นึกถึงพระพุทธเจ้า หรือบุญอย่างใดอย่างหนึ่งดีกว่า ถ้าไปแนะนำยาวๆ จะเกิดอาการกลุ้ม
    ๕) ถ้าต้องการให้ผู้ป่วยตายแล้วไปพระนิพพาน ให้นึกภาวนาว่า “นิพพานัง สุขัง” ถ้าคิดว่าป้องกันไม่ให้ลงนรกก็ให้ภาวนาว่า “พุทโธ” ให้บอกสั้นๆ อย่าบอกยาว
    ๖) ถ้าผู้ป่วยภาวนาไม่ไหว ก็ให้นึกถึงพระพุทธรูปองค์ใดองค์หนึ่งก็ได้ ให้นึกถึงพระไว้หรือจะนึกถึงพระสงฆ์ก็ได้ อย่าไปแนะนำยาวๆ เพราะเวลานั้นทุกขเวทนามากจะทำให้กลุ้ม ดีไม่ดีจิตใจเขาดีอยู่แล้ว ถ้าแนะนำไม่ดี พูดมากไปเขาจะกลุ้มจะทำให้ลงนรกไปให้ดูตาคนป่วย ถ้าตาลอยๆ ตาปรือๆ อย่าไปพูดมาก

    ฉะนั้น การแนะนำคนป่วยก่อนตาย ต้องระมัดระวังให้ดี..”

    หลวงพ่อพระราชพรหมยาน วัดท่าซุง
    “..ถ้าป่วยใหม่ๆ อาตมาแนะนำให้ทำดังนี้คือ ๑) ให้นำพระพุทธรูป ผ้าไตรจีวร พร้อมอาหารและของใช้ที่จำเป็นนำไปให้ผู้ป่วยเห็นและให้ตั้งจิตอธิษฐานว่า “ของ ทั้งหมดนี้ขอถวายเป็นสังฆทานแก่พระสงฆ์ในพระพุทธศาสนา เพื่ออุทิศส่วนกุศลผลบุญทั้งหมดนี้ให้เจ้ากรรมนายเวรของผู้ป่วยได้โมทนาและ อโหสิกรรมให้ผู้ป่วยด้วย” แล้วญาติก็นำของทั้งหมดไปถวายพระเป็นสังฆทาน จิตใจของผู้ป่วยจะได้สบายเพราะได้เห็นพระพุทธรูปและได้ทำบุญ ๒) ถ้าจะให้ดีขึ้นไปอีก ก็ควรนำเงินจะมากหรือน้อยตามแต่ศรัทธาให้ผู้ป่วยถือเงินไว้และให้ตั้งจิตอธิษฐานว่า “เงินจำนวนนี้ขอถวายชำระหนี้สงฆ์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ถ้าเคยไปหยิบหรือนำของสงฆ์มาโดยเจตนาหรือไม่ได้เจตนาก็ตาม” ๓) ในระหว่างที่นอนป่วยอยู่ ควรนำพระพุทธรูปมาตั้งไว้ให้ผู้ป่วยได้มองเห็น อย่าไปตั้งไว้ในที่ผู้ป่วยเห็นไม่ถนัด ผู้ป่วยลืมตาขึ้นมาเมื่อใดก็จะเห็นพระทันที จิตของผู้ป่วยจะได้จับอยู่ที่พระ ใจจะสบายช่วยให้คลายจากทุกขเวทนาได้บ้าง และถ้าตายเมื่อใดก็จะไม่ลงนรก ๔) ถ้าป่วยมากมีทุกขเวทนามาก ควรแนะนำสั้นๆ ให้นึกถึงพระพุทธเจ้า หรือบุญอย่างใดอย่างหนึ่งดีกว่า ถ้าไปแนะนำยาวๆ จะเกิดอาการกลุ้ม ๕) ถ้าต้องการให้ผู้ป่วยตายแล้วไปพระนิพพาน ให้นึกภาวนาว่า “นิพพานัง สุขัง” ถ้าคิดว่าป้องกันไม่ให้ลงนรกก็ให้ภาวนาว่า “พุทโธ” ให้บอกสั้นๆ อย่าบอกยาว ๖) ถ้าผู้ป่วยภาวนาไม่ไหว ก็ให้นึกถึงพระพุทธรูปองค์ใดองค์หนึ่งก็ได้ ให้นึกถึงพระไว้หรือจะนึกถึงพระสงฆ์ก็ได้ อย่าไปแนะนำยาวๆ เพราะเวลานั้นทุกขเวทนามากจะทำให้กลุ้ม ดีไม่ดีจิตใจเขาดีอยู่แล้ว ถ้าแนะนำไม่ดี พูดมากไปเขาจะกลุ้มจะทำให้ลงนรกไปให้ดูตาคนป่วย ถ้าตาลอยๆ ตาปรือๆ อย่าไปพูดมาก ฉะนั้น การแนะนำคนป่วยก่อนตาย ต้องระมัดระวังให้ดี..” หลวงพ่อพระราชพรหมยาน วัดท่าซุง
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 2 การแบ่งปัน 172 มุมมอง 0 รีวิว
  • ขอเชิญท่านผู้มีจิตศรัทธาร่วมบุญเป็นเจ้าภาพ
    ถวายน้ำปานะแด่พระภิกษุสามเณรในเขตปกครองคณะสงฆ์อำเภอเมืองฯ ผู้เข้าสอบนักธรรมชั้นตรี
    ประจำปี พ.ศ.2567
    ณ อาคารบุญธรรมสภา วัดพัฒนาราม
    (พระอารามหลวง)

    ติดต่อร่วมบุญได้ที่
    พระธรรมธรสันชัย สญฺชโย เลขานุการเจ้าคณะอำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี โทร 092-059-4769

    หรือท่านใดประสงค์จะร่วมบุญกับผมที่จะถวายน้ำอ้อย
    แด่คณะสงฆ์หมู่ใหญ่  ผู้เข้าสอบนักธรรมชั้นตรี
    ประจำปี พ.ศ.2567
    ที่บัญชีธนาคาร : ออมสิน
    เลขที่บัญชี : 020376204143
    ชื่อบัญชี : วรสถิตย์ ตูลเพ็ง
    #ท่านใดโอนแล้วแจ้งชื่อนามสกุลด้วย ผมจะได้ลงบัญชีถูกครับ

    สุทินฺนํ วต เม ทานํ อาสวกฺขยาวหํ ปจฺจุบนฺกาเล นิพฺพาน
    ปจฺจโย โหตุ

    ขอให้ทาน ของข้าพเจ้าที่ให้ดีแล้วหนอ
    จงนำมาซึ่งความสิ้นไปแห่งอาสวกิเลส(พระอรหันต์)
    จงเป็นปัจจัยแด่พระนิพพาน ในชาติปัจจุบันเทอญ ฯ

    อานิสงส์การถวายน้ำปานะแด่คณะสงฆ์ใหญ่

    ในการทำบุญด้วยน้ำ นั้นเชื่อกันว่า จะทำให้ทรัพย์สินเงินทอง ความสุขต่างๆ ไหลลื่น สะดวกยิ่งขึ้น ✨
    จากที่เคยติดขัดก็จะราบรื่น จากที่เคยรับทรัพย์แบบกระเซ็นกระสายก็จะไหลมาเทมาไม่หยุดยั้ง มีความสุขจากบุญกุศล และการทำทาน นับได้ว่าเป็นการส่งเสริมพระพุทธศาสนาให้เจริญก้าวหน้า
    .
    ความเชื่อว่า อานิสงส์ของการถวายน้ำดื่มแด่พระสงฆ์หรือบริจาคน้ำดื่มให้ผู้ที่ขาดแคลนนั้นจะช่วยส่งเสริมดวงชะตาได้
    1.ทำให้เงินทองไหลมาเทมา มีใช้คล่องมือ
    2. ชีวิตมีแต่ความสุข ความราบรื่น เหมือนสายน้ำไหล
    3. มีจิตใจที่ใสสะอาด เหมือนดั่งน้ำบริสุทธิ์
    4. มีผู้อุปถัมภ์ค้ำชู จากบุญกุศล และการทำทาน
    .
    อย่างไรก็ตาม การทำบุญสร้างกุศลด้วยความตั้งใจ
    ก็ถือว่าเป็นการร่วมสืบทอดพระพุทธศาสนาให้คงอยู่ต่อไป
    ที่มา : deeda.care

    ขอเชิญท่านผู้มีจิตศรัทธาร่วมบุญเป็นเจ้าภาพ ถวายน้ำปานะแด่พระภิกษุสามเณรในเขตปกครองคณะสงฆ์อำเภอเมืองฯ ผู้เข้าสอบนักธรรมชั้นตรี ประจำปี พ.ศ.2567 ณ อาคารบุญธรรมสภา วัดพัฒนาราม (พระอารามหลวง) ติดต่อร่วมบุญได้ที่ พระธรรมธรสันชัย สญฺชโย เลขานุการเจ้าคณะอำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี โทร 092-059-4769 หรือท่านใดประสงค์จะร่วมบุญกับผมที่จะถวายน้ำอ้อย แด่คณะสงฆ์หมู่ใหญ่  ผู้เข้าสอบนักธรรมชั้นตรี ประจำปี พ.ศ.2567 ที่บัญชีธนาคาร : ออมสิน เลขที่บัญชี : 020376204143 ชื่อบัญชี : วรสถิตย์ ตูลเพ็ง #ท่านใดโอนแล้วแจ้งชื่อนามสกุลด้วย ผมจะได้ลงบัญชีถูกครับ สุทินฺนํ วต เม ทานํ อาสวกฺขยาวหํ ปจฺจุบนฺกาเล นิพฺพาน ปจฺจโย โหตุ ขอให้ทาน ของข้าพเจ้าที่ให้ดีแล้วหนอ จงนำมาซึ่งความสิ้นไปแห่งอาสวกิเลส(พระอรหันต์) จงเป็นปัจจัยแด่พระนิพพาน ในชาติปัจจุบันเทอญ ฯ อานิสงส์การถวายน้ำปานะแด่คณะสงฆ์ใหญ่ ในการทำบุญด้วยน้ำ นั้นเชื่อกันว่า จะทำให้ทรัพย์สินเงินทอง ความสุขต่างๆ ไหลลื่น สะดวกยิ่งขึ้น ✨ จากที่เคยติดขัดก็จะราบรื่น จากที่เคยรับทรัพย์แบบกระเซ็นกระสายก็จะไหลมาเทมาไม่หยุดยั้ง มีความสุขจากบุญกุศล และการทำทาน นับได้ว่าเป็นการส่งเสริมพระพุทธศาสนาให้เจริญก้าวหน้า . ความเชื่อว่า อานิสงส์ของการถวายน้ำดื่มแด่พระสงฆ์หรือบริจาคน้ำดื่มให้ผู้ที่ขาดแคลนนั้นจะช่วยส่งเสริมดวงชะตาได้ 1.ทำให้เงินทองไหลมาเทมา มีใช้คล่องมือ 2. ชีวิตมีแต่ความสุข ความราบรื่น เหมือนสายน้ำไหล 3. มีจิตใจที่ใสสะอาด เหมือนดั่งน้ำบริสุทธิ์ 4. มีผู้อุปถัมภ์ค้ำชู จากบุญกุศล และการทำทาน . อย่างไรก็ตาม การทำบุญสร้างกุศลด้วยความตั้งใจ ก็ถือว่าเป็นการร่วมสืบทอดพระพุทธศาสนาให้คงอยู่ต่อไป ที่มา : deeda.care 
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 294 มุมมอง 0 รีวิว
  • พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงโปรดเกล้าฯ เชิญหนังสือ ธรรมนาวา “วัง” และสิ่งของพระราชทาน ถวายแด่ พระสงฆ์ ในพื้นที่จังหวัดน่าน
    https://www.facebook.com/share/p/AGRRCNqecFmVfg7j/
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงโปรดเกล้าฯ เชิญหนังสือ ธรรมนาวา “วัง” และสิ่งของพระราชทาน ถวายแด่ พระสงฆ์ ในพื้นที่จังหวัดน่าน https://www.facebook.com/share/p/AGRRCNqecFmVfg7j/
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 41 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🤠#โลกของภูมิภาคตะวันตกในสายตาของพระภิกษุถังซัมจั๋ง ตอน 01.🤠

    😎#ออกจากประตูหยก😎

    🥸การเดินทางของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไปทางทิศตะวันตกเพื่อแสวงหาธรรมะนั้นเป็นการกระทำส่วนตัวโดยไม่ได้รับการสนับสนุนจากทางการ แต่ด้วยเหตุนี้ มุมมองของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ที่มีต่อภูมิภาคตะวันตกจึงมีความเป็นพลเรือนมากกว่า เป็นกลางมากกว่า และเป็นจริงมากกว่า🥸

    🥸ต่อไปนี้เชิญท่านมาเผชิญหน้ากับท่ามกลางท้องฟ้าอันเต็มไปด้วยลมและทราย เดินย่ำเหยียบฝ่าหมอกควันทะเลทราย เริ่มต้นเข้าร่วมกับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ในการเดินทางอันน่ามหัศจรรย์ของเขาเพื่อร่างขอบเขตดินแดนของภูมิภาคตะวันตก🥸

    😎ออกจากประตูหยก(玉门)ไปทางทิศตะวันตก 😎

    🥸ในปีคริสตศักราช 629 ภัยพิบัติน้ำแข็งเกิดขึ้นในพื้นที่กวนจง(关中) ราชวงศ์ถัง(唐)ออกคำสั่งให้พระภิกษุและฆราวาสในพื้นที่ คยองกี(Gyeonggi京畿) ย้ายไปยังสถานที่อื่นเพื่อหาอาหารและหลีกเลี่ยงหลบหนีจากความอดอยาก พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ซึ่งแต่เดิมต้องการออกจากด่านทางผ่าน แต่ไม่ได้รับอนุญาตจากราชสำนักจึงใช้โอกาสนี้ออกจากฉางอาน(长安)🥸 เขาเดินทางผ่านหลานโจว(兰州)และเหลียงโจว(凉州) เขาหลีกเลี่ยงการติดตามจัยกุมของทางการโดยการเดินทางเวลากลางคืนและพักเวลากลางวัน ต่อมา พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) เสี่ยงภัยเดินทางผ่าน กวัวโจว(瓜州) และ อวี้เหมินกวน(Yumen Pass玉门关) ผ่านหอคอยสัญญาณไฟ 5 แห่งที่มีกองทหารคุ้มกันตามลำดับรายทาง ด้วยความช่วยเหลือจากทหารรักษาชายแดนผู้ศรัทธาในพระพุทธศาสนา พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ข้ามทะเลทรายโกบีด้วยพลังแห่งความศรัทธาและความอุตสาหะอย่างแรงกล้าก่อนจะไปถึงอีหวู(伊吾) และเกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)ทางตะวันออกของภูมิภาคตะวันตก

    🥸สถานีแรกของการเดินทาง อีหวู(伊吾) ได้มีการส่งมอบการมาถึงอย่างกะทันหันของพระภิกษุให้กับเกาชาง(Gaochang高昌) (ปัจจุบันคือเมืองถูหลู่ฟาน(Turfan 吐鲁番) เขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์(Xinjiang Uygur Autonomous Region 新疆维吾尔自治区)) เจ้าเหนือหัวองค์น้อยทางตะวันออกของภูมิภาคตะวันตกในขณะนั้น ซึ่งตั้งอยู่ริมแอ่งถูหลู่ฟาน(Turfan Depression吐鲁番盆地)🥸

    🥸หลังจากได้ยินข่าวว่า พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)มาถึงแล้ว กษัตริย์เกาชาง(Gaochang高昌) เสนาบดี และสาวใช้ออกมาจากพระราชวังในเวลากลางคืน ทรงจุดเทียน และเข้าแถวเพื่อต้อนรับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)เข้าสู่พระราชวังด้วยความเคารพ🥸 หลังจากเห็น พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) แล้ว ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)ก็ดีใจมากและบอกกับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) ว่า: นับตั้งแต่ฉันรู้ชื่ออาจารย์ ฉันมีความสุขมากจนลืมกินลืมนอน ฉันรู้ว่าพระภิกษุผู้แสวงธรรมจากตะวันออกจะมาคืนนี้ ฉันก็เลยพร้อมกับพระราชินีและเจ้าชายทรงพากันสวดมนต์ตลอดทั้งคืนรอการมาถึงของพระอาจารย์

    พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ถูกจัดให้อยู่ที่สนามหลวงทางพิธีกรรมของศาสนาถัดจากพระราชวังกษัตริย์เกาชาง(Gaochang高昌) และจัดขันทีให้ดูแลอาหารและชีวิตประจำวันของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)

    รัฐเกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)เป็นนครรัฐที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในภูมิภาคตะวันตก และถูกปกครองโดยผู้รอดชีวิตจากราชวงศ์ฮั่น(汉)และเว่ย(魏) ซึ่งเป็นโครงสร้างทางการเมืองที่รวมหู(胡)และฮั่น(汉)เข้าด้วยกัน ในบรรดาพลเมืองนั้น ไม่เพียงแต่สืบเชื้อสายมาจากผู้อพยพชาวฮั่น(汉)เท่านั้น แต่ยังรวมถึงผู้คนจากภูมิภาคตะวันตกด้วย เช่น ชาวซ็อกเดียน(Sogdians粟特) ชาวซานซาน(Shanshan鄯善人)และชาวเติร์ก(Turks突厥人) 🥸ก่อนที่ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)จะมาถึง ประเทศนี้ก็ก่อตั้งขึ้นที่นั่นมานานกว่า 100 ปีแล้ว เขารู้สึกยินดีเป็นอย่างยิ่งที่พบว่าข้อมูลจำเพาะของเมืองที่นี่มีความคล้ายคลึงกับเมืองฉางอัน(长安)ในราชวงศ์ซุย(隋)และราชวงศ์ถัง(唐)มาก นอกจากนี้ยังมีรูปของ ดยุคไอแห่งหลู่(鲁哀公)สอดถามขงจื๊อ(孔子)เกี่ยวกับปัญหาการเมืองที่แขวนอยู่ในพระราชวังของอาณาจักร เกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)🥸

    😎การต้อนรับด้วยมารยาทอันสูงส่ง😎

    🥸ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)และบิดาของเขาเดินทางไปยังราชวงศ์สุย(隋)ในยุครุ่งเรืองเพื่อเข้าเฝ้าจักรพรรดิสุยหยางตี้(隋炀帝)🥸 เขาไม่เพียงแต่เดินทางไปยังฉางอาน(长安) ล่อหยาง(洛阳) เฝินหยาง(汾阳) เอี้ยนตี้(燕地) ไต้ตี้(代地) และเมืองสำคัญอื่นๆ และได้เห็นวัฒนธรรมฮั่น(汉)ของที่ราบตอนกลางดั้งเดิม แต่เขายังไปเยี่ยมคารวะพระภิกษุผู้มีชื่อเสียงและผู้มีคุณธรรมอีกมากมาย และเขาก็ชื่นชมที่ราบภาคกลางที่เป็นบ้านเกิดทางวัฒนธรรมของเขาเป็นอย่างมาก แต่ ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)รู้สึกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับพระภิกษุผู้มีชื่อเสียงในอดีตของราชวงศ์ซุย ความฉลาดสามารถของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)นั้นเหนือกว่ามาก

    เมื่อใดก็ตามที่พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)บรรยายธรรมแก่ขุนนางของเกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)ในเต็นท์ใหญ่ ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)ก็ถือกระถางธูปเพื่อเคลียร์นำทางให้พระภิกษุผู้มีชื่อเสียงด้วยตนเอง เมื่อพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไปที่แท่นธรรมาสน์เพื่อขึ้นเทศนาธรรม กษัตริย์แห่งเกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)ถึงกับคุกเข่าโน้มตัวลง และทำหน้าที่เป็นบันไดให้ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ก้าวขึ้นแท่นธรรมาสน์ การปฏิบัตินี้ไม่สอดคล้องกับประเพณีตะวันออก แต่ก็มีบันทึกไว้ในหนังสือดั้งเดิมของอินเดียบางเรื่อง สิ่งนี้พิสูจน์ได้จากสิ่งแวดล้อมข้วงเคียงว่า เกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)คือจุดทางสี่แยกของอารยธรรมตะวันออกและตะวันตก นอกจากนี้ยังอธิบายถึงการบูชาสักการะอย่างสูงสุดต่อ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ของ ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)

    พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ยังคัดเลือกพระภิกษุในท้องถิ่นหลายแห่งใน เกาชาง(Gaochang高昌)ให้เป็นนักเรียนและคนรับใช้ นิสัยปกิบัติในการรับลูกศิษย์ไปตลอดทางนี้ กลายเป็นต้นแบบทางประวัติศาสตร์สำหรับทีมอาจารย์และลูกศิษย์ของภิกษุราชวงศ์ถัง(唐)ที่ขยายตัวอย่างต่อเนื่องใน "บันทึกการเดินทางสู่ตะวันตก(Journey to the West西游记)" แม้ว่ากษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)แห่งเกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)จะชื่นชมพรสวรรค์และการเรียนรู้อย่างลึกซึ้งของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) เขาถึงกับมีความคิดหน่วงรั้งพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไว้ที่เกาชาง(Gaochang高昌)ด้วยซ้ำ และขอให้ประทับอยู่ที่นี่ตลอดไป แสดงธรรมสั่งสอนให้ความรู้ความกระจ่างแก่คนทั่วไป จนกระทั่งเป็นพระอาจารย์ระดับชาติของ เกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国) พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไม่เห็นด้วยเพราะมีตวามเห็นว่าเรื่องธรรมะเป็นเรื่องใหญ่กว่า กษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)เห็นว่าพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) มีความมุ่งมั่นดังนั้นเขาจึงจำต้องโยนไพ่ตายทางเลือกสุดท้ายของเขาออกไป: 🥸ถ้าพระคุณท่านไม่ปรารถนาอยู่ในเกาชาง(Gaochang高昌) ข้าพระเจ้าจะไม่มีทางเลือกอื่นนอกจากส่งท่านอาจารย์กลับไปทางทิศตะวันออก🥸

    เมื่อต้องเผชิญกับกลยุทธ์ไม้แข็งและไม้อ่อนร่วมกันของ ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰) พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) กล่าวด้วยท่าทีที่ไม่ถ่อมตัวหรือหยิ่งผยองว่า: 🥸พระองค์สามารถจะเพียงได้รับกระดูกของอาตมาเอาไว้ได้ แต่พระองค์ไม่สามารถหยุดยั้งความตั้งใจของอาตมาที่จะไปทางตะวันตกได้🥸

    😎หนทางเบื้องหน้าอันยาวไกล😎

    🥸ด้วยเหตุนี้ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) จึงอดอาหารเป็นเวลาสามวันเพื่อแสดงความตั้งใจมุ่งมั่นที่จะเดินทางไปดินแดนทางทิศตะวันตก🥸 ในฐานะเป็นอาณาจักรในภูมิภาคตะวันตกที่นับถือศาสนาพุทธ หากมีพระภิกษุที่แสวงหาธรรมะมาอดอยากจนตายภายในดินแดนของตน ชื่อเสียงสู่ภายนอกของเกาชาง(Gaochang高昌)ในภูมิภาคตะวันตกจะเสียหายอย่างมาก และเขาจะพลอยได้รับชื่อเสียงเสื่อมเสียงจากการทำร้ายพระภิกษุที่มีชื่อเสียงด้วย ยิ่งไปกว่านั้นความจริงแล้ว การขัดขวางการเดินทางไปดินแดนทางทิศตะวันตกของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) ด้วยเพื่อความปรารถนาอันเห็นแก่ตัวของเขาเองก็เป็นการขัดแย้งกับความตั้งใจเดิมของเขา

    🥸เมื่อเขาคิดมาถึง ณ จุดนี้ กษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)ก็ก้มหัวให้ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) เพื่อขอโทษ🥸 ความคิดที่เห็นแก่ตัวของเขาที่มีต่อเกาชาง(Gaochang高昌) ก็ถูกขจัดออกไปในที่สุดด้วยความมุ่งมั่นมีเมตตาที่จะช่วยสิ่งมีชีวิตทั้งหมด ในเวลาเดียวกันกับขณะที่รู้สึกประทับใจกับความมุ่งมั่นอย่างแน่วแน่ของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ที่จะแสวงหาธรรมะโดยปราศจากสิ่งภายนอกมาบั่นทอนความตั้งใจ กษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)และพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ได้สาบานต่อฟ้าดินสัญญาเป็นพี่น้องกัน ภายใต้การอุปถัมภ์จากแม่ของแผ่นดินเจ้าจอมมารดา จาง(张太妃) เพื่อให้พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)เดินทางไปถึงอินเดียได้อย่างราบรื่น กษัตริย์เกาชาง(Gaochang高昌) ทรงสั่งการให้จัดทีมงานเล็กๆ ประกอบด้วยม้า 30 ตัว พนักงานข้าราชการเกาชาง(Gaochang高昌)1 คน ผู้ติดตามกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ 25 คน และพระภิกษุหนุ่ม 4 รูป เพื่อดูแลเรื่องอาหาร เสื้อผ้า และชีวิตประจำวันของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) นอกจากนี้ ยังมีการเตรียมหน้ากากและหมวกพิเศษสำหรับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)สำหรับการเดินทางผ่านภูเขาและทะเลทรายที่เต็มไปด้วยหิมะ รวมถึงเสื้อคลุมสำหรับพระสงฆ์ซึ่งสามารถปรับให้เข้ากับเขตภูมิอากาศต่างๆ จัดทหารม้าขนนำทองคำ เงิน และผ้าไหมจำนวนมากไว้สำหรับการครั้งนี้ ทำให้มั่นใจได้ว่าพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไม่เพียงแต่จะไม่ต้องทนทุกข์จากความหิวโหยระหว่างทางไปอินเดียเท่านั้น แต่ยังมีเงินเพียงพอที่จะทำทานอีกด้วย ในสิ่งแต่งเคิมเหล่านี้เป็นรายละเอียดด้านที่อ่อนโยนของประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่ที่มีต่ออัครสาวก

    🥸นอกจากทรัพย์สินแล้ว เนื่องจากเจ้าผู้ครองแคว้นตะวันตกในขณะนั้น คือ ข่านเตอร์กตะวันตก(西突厥)ได้สมรสกับราชวงศ์เกาชาง(Gaochang高昌) ยังมีจดหมายแสดงความเคารพที่กษัตริย์แห่งเกาชาง(Gaochang高昌)มอบให้กับข่านแห่งเติร์กตะวันตก(西突厥) อธิบายถึงความตั้งใจของ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ที่จะไปทางดินแดนแคว้นตะวันตกเพื่อแสวงหาธรรมะ🥸 ภายใต้การคุ้มครองของเตอร์กข่านตะวันตก (西突厥) ทุกประเทศในภูมิภาคตะวันตกตลอดเส้นทางให้ความเคารพแก่พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) และให้การสนับสนุนทางทหารที่เข้มแข็งและมีควาทปลอดภัยที่สุดสำหรับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)และคณะเดินทางของเขา และจดหมายแสดงความเคารพของกษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)ถึงพระมหากษัตริย์ของยี่สิบสี่ประเทศในภูมิภาคตะวันตกจะช่วยให้การเดินทางของ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) ง่ายและสะดวกขึ้นอย่างมาก

    🥸ในช่วงเวลาอันศักดิ์สิทธิ์ของการอำลาอาณาจักรเกาชาง(Gaochang高昌) บรรดาราชวงศ์และชาวเกาชาง(Gaochang高昌)ก็ออกจากเมืองเพื่อส่งอำลา🥸 พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)สัญญาว่า เมื่อเดินทางผ่านเกาชาง(Gaochang高昌)หลังจากกลับจากการศึกษาในอินเดียจะแสดงเทศนาธรรมอีก จากนั้นเขาก็กล่าวคำอำลากษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)ด้วยน้ำตา พวกบรรดาราชวงศ์ เกาชาง(Gaochang高昌)เจ้าหน้าที่และประชาชนชาวพุทธต่างพากันออกจากเมืองส่งเสียงอำลาดังลั่นสั่นสะเทือนไปทั่วทั้งถิ่น ราวกับว่ามือแห่งโชคชะตาได้ฉีกหัวใจและจิตวิญญาณออกจากร่างกายของชาวเกาชาง(Gaochang高昌) ทำให้พวกเขาสูญเสียสมบัติของชาติไปตลอดกาล

    บรรดาพวกราชวงศ์เกาชาง(Gaochang高昌) ส่งพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ออกไปนอกเมืองหลายสิบลี้ แม้ว่าพระภิกษุสมณเพศจะมองเห็นบรรลุแล้วการจากแยกอำลาในทางโลกแล้วก็ตาม แต่พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ผู้ที่มีจิตใจละเอียดอ่อนและยังคงเห็นคุณค่าของความสัมพันธ์ของมนุษย์ก็ยังมีอารมณ์อ่อนไหวมาก เขาขอบคุณต่ออาณาจักรเกาชาง(Gaochang高昌)อย่างสุดซึ้งอีกครั้งสำหรับการสนับสนุนอย่างมีน้ำใจ ราชาแห่งเกาชาง(Gaochang高昌)ยังจับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไว้แน่นด้วยมือทั้งสองข้าง ร่ำไห้ราวกับสายฝนกล่าวว่า 🥸ในเมื่อพระคุณท่านถือเป็นพี่น้องกัน สัตว์พาหนะต่าง ๆ ในประเทศก็มีเจ้าของคนเดียวกัน แล้วเหตุใดจึงต้องขอบคุณพวกเขาด้วย?🥸

    พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) ตอบว่า: 🥸ฉันจะไม่มีวันลืมความเมตตาของเสด็จพี่ตลอดชีวิตของอาตมา ในวันที่อาตมากลับจากนำพระคัมภีร์ทางพุทธศาสนากลับมา อาตมาจะอยู่สอนธรรมะในเกาชาง(Gaochang高昌)เป็นเวลาสามปีเป็นการตอบแทน!🥸

    หลายปีต่อมาในฉางอาน(长安) พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)เล่าถึงเหตุการณ์อันน่าประทับใจนี้ในช่วงเวลาที่ยากลำบากให้เหล่าสาวกฟัง มิตรภาพฉันท์พี่น้องที่มีต่อราชาแห่งเกาชาง(Gaochang高昌)ยังคงเกินคำบรรยาย ดูเหมือนราวกับว่าพิธีอำลาที่หรูหราและยิ่งใหญ่นั้นได่เกิดขึ้นเมื่อวานนี้เอง ตอนนั้นเขาไม่รู้ 🥸นี่ยังจะเป็นครั้งสุดท้ายที่เขาจะได้พบกับพี่ชายร่วมสาบานของเขา🥸

    🥳โปรดติดตามบทความ#โลกของภูมิภาคตะวันตกในสายตาของพระภิกษุถังซัมจั๋ง ตอน 02.
    #อาณาจักรคาราซาห์และคูชาที่น่าสนใจต่อไป.ในโอกาสหน้า🥳

    🥰กราบขออภัยในความผิดพลาดและกราบขอบพระคุณของข้อชี้แนะ🥰
    🤠#โลกของภูมิภาคตะวันตกในสายตาของพระภิกษุถังซัมจั๋ง ตอน 01.🤠 😎#ออกจากประตูหยก😎 🥸การเดินทางของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไปทางทิศตะวันตกเพื่อแสวงหาธรรมะนั้นเป็นการกระทำส่วนตัวโดยไม่ได้รับการสนับสนุนจากทางการ แต่ด้วยเหตุนี้ มุมมองของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ที่มีต่อภูมิภาคตะวันตกจึงมีความเป็นพลเรือนมากกว่า เป็นกลางมากกว่า และเป็นจริงมากกว่า🥸 🥸ต่อไปนี้เชิญท่านมาเผชิญหน้ากับท่ามกลางท้องฟ้าอันเต็มไปด้วยลมและทราย เดินย่ำเหยียบฝ่าหมอกควันทะเลทราย เริ่มต้นเข้าร่วมกับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ในการเดินทางอันน่ามหัศจรรย์ของเขาเพื่อร่างขอบเขตดินแดนของภูมิภาคตะวันตก🥸 😎ออกจากประตูหยก(玉门)ไปทางทิศตะวันตก 😎 🥸ในปีคริสตศักราช 629 ภัยพิบัติน้ำแข็งเกิดขึ้นในพื้นที่กวนจง(关中) ราชวงศ์ถัง(唐)ออกคำสั่งให้พระภิกษุและฆราวาสในพื้นที่ คยองกี(Gyeonggi京畿) ย้ายไปยังสถานที่อื่นเพื่อหาอาหารและหลีกเลี่ยงหลบหนีจากความอดอยาก พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ซึ่งแต่เดิมต้องการออกจากด่านทางผ่าน แต่ไม่ได้รับอนุญาตจากราชสำนักจึงใช้โอกาสนี้ออกจากฉางอาน(长安)🥸 เขาเดินทางผ่านหลานโจว(兰州)และเหลียงโจว(凉州) เขาหลีกเลี่ยงการติดตามจัยกุมของทางการโดยการเดินทางเวลากลางคืนและพักเวลากลางวัน ต่อมา พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) เสี่ยงภัยเดินทางผ่าน กวัวโจว(瓜州) และ อวี้เหมินกวน(Yumen Pass玉门关) ผ่านหอคอยสัญญาณไฟ 5 แห่งที่มีกองทหารคุ้มกันตามลำดับรายทาง ด้วยความช่วยเหลือจากทหารรักษาชายแดนผู้ศรัทธาในพระพุทธศาสนา พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ข้ามทะเลทรายโกบีด้วยพลังแห่งความศรัทธาและความอุตสาหะอย่างแรงกล้าก่อนจะไปถึงอีหวู(伊吾) และเกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)ทางตะวันออกของภูมิภาคตะวันตก 🥸สถานีแรกของการเดินทาง อีหวู(伊吾) ได้มีการส่งมอบการมาถึงอย่างกะทันหันของพระภิกษุให้กับเกาชาง(Gaochang高昌) (ปัจจุบันคือเมืองถูหลู่ฟาน(Turfan 吐鲁番) เขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์(Xinjiang Uygur Autonomous Region 新疆维吾尔自治区)) เจ้าเหนือหัวองค์น้อยทางตะวันออกของภูมิภาคตะวันตกในขณะนั้น ซึ่งตั้งอยู่ริมแอ่งถูหลู่ฟาน(Turfan Depression吐鲁番盆地)🥸 🥸หลังจากได้ยินข่าวว่า พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)มาถึงแล้ว กษัตริย์เกาชาง(Gaochang高昌) เสนาบดี และสาวใช้ออกมาจากพระราชวังในเวลากลางคืน ทรงจุดเทียน และเข้าแถวเพื่อต้อนรับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)เข้าสู่พระราชวังด้วยความเคารพ🥸 หลังจากเห็น พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) แล้ว ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)ก็ดีใจมากและบอกกับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) ว่า: นับตั้งแต่ฉันรู้ชื่ออาจารย์ ฉันมีความสุขมากจนลืมกินลืมนอน ฉันรู้ว่าพระภิกษุผู้แสวงธรรมจากตะวันออกจะมาคืนนี้ ฉันก็เลยพร้อมกับพระราชินีและเจ้าชายทรงพากันสวดมนต์ตลอดทั้งคืนรอการมาถึงของพระอาจารย์ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ถูกจัดให้อยู่ที่สนามหลวงทางพิธีกรรมของศาสนาถัดจากพระราชวังกษัตริย์เกาชาง(Gaochang高昌) และจัดขันทีให้ดูแลอาหารและชีวิตประจำวันของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) รัฐเกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)เป็นนครรัฐที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในภูมิภาคตะวันตก และถูกปกครองโดยผู้รอดชีวิตจากราชวงศ์ฮั่น(汉)และเว่ย(魏) ซึ่งเป็นโครงสร้างทางการเมืองที่รวมหู(胡)และฮั่น(汉)เข้าด้วยกัน ในบรรดาพลเมืองนั้น ไม่เพียงแต่สืบเชื้อสายมาจากผู้อพยพชาวฮั่น(汉)เท่านั้น แต่ยังรวมถึงผู้คนจากภูมิภาคตะวันตกด้วย เช่น ชาวซ็อกเดียน(Sogdians粟特) ชาวซานซาน(Shanshan鄯善人)และชาวเติร์ก(Turks突厥人) 🥸ก่อนที่ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)จะมาถึง ประเทศนี้ก็ก่อตั้งขึ้นที่นั่นมานานกว่า 100 ปีแล้ว เขารู้สึกยินดีเป็นอย่างยิ่งที่พบว่าข้อมูลจำเพาะของเมืองที่นี่มีความคล้ายคลึงกับเมืองฉางอัน(长安)ในราชวงศ์ซุย(隋)และราชวงศ์ถัง(唐)มาก นอกจากนี้ยังมีรูปของ ดยุคไอแห่งหลู่(鲁哀公)สอดถามขงจื๊อ(孔子)เกี่ยวกับปัญหาการเมืองที่แขวนอยู่ในพระราชวังของอาณาจักร เกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)🥸 😎การต้อนรับด้วยมารยาทอันสูงส่ง😎 🥸ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)และบิดาของเขาเดินทางไปยังราชวงศ์สุย(隋)ในยุครุ่งเรืองเพื่อเข้าเฝ้าจักรพรรดิสุยหยางตี้(隋炀帝)🥸 เขาไม่เพียงแต่เดินทางไปยังฉางอาน(长安) ล่อหยาง(洛阳) เฝินหยาง(汾阳) เอี้ยนตี้(燕地) ไต้ตี้(代地) และเมืองสำคัญอื่นๆ และได้เห็นวัฒนธรรมฮั่น(汉)ของที่ราบตอนกลางดั้งเดิม แต่เขายังไปเยี่ยมคารวะพระภิกษุผู้มีชื่อเสียงและผู้มีคุณธรรมอีกมากมาย และเขาก็ชื่นชมที่ราบภาคกลางที่เป็นบ้านเกิดทางวัฒนธรรมของเขาเป็นอย่างมาก แต่ ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)รู้สึกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับพระภิกษุผู้มีชื่อเสียงในอดีตของราชวงศ์ซุย ความฉลาดสามารถของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)นั้นเหนือกว่ามาก เมื่อใดก็ตามที่พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)บรรยายธรรมแก่ขุนนางของเกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)ในเต็นท์ใหญ่ ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)ก็ถือกระถางธูปเพื่อเคลียร์นำทางให้พระภิกษุผู้มีชื่อเสียงด้วยตนเอง เมื่อพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไปที่แท่นธรรมาสน์เพื่อขึ้นเทศนาธรรม กษัตริย์แห่งเกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)ถึงกับคุกเข่าโน้มตัวลง และทำหน้าที่เป็นบันไดให้ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ก้าวขึ้นแท่นธรรมาสน์ การปฏิบัตินี้ไม่สอดคล้องกับประเพณีตะวันออก แต่ก็มีบันทึกไว้ในหนังสือดั้งเดิมของอินเดียบางเรื่อง สิ่งนี้พิสูจน์ได้จากสิ่งแวดล้อมข้วงเคียงว่า เกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)คือจุดทางสี่แยกของอารยธรรมตะวันออกและตะวันตก นอกจากนี้ยังอธิบายถึงการบูชาสักการะอย่างสูงสุดต่อ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ของ ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰) พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ยังคัดเลือกพระภิกษุในท้องถิ่นหลายแห่งใน เกาชาง(Gaochang高昌)ให้เป็นนักเรียนและคนรับใช้ นิสัยปกิบัติในการรับลูกศิษย์ไปตลอดทางนี้ กลายเป็นต้นแบบทางประวัติศาสตร์สำหรับทีมอาจารย์และลูกศิษย์ของภิกษุราชวงศ์ถัง(唐)ที่ขยายตัวอย่างต่อเนื่องใน "บันทึกการเดินทางสู่ตะวันตก(Journey to the West西游记)" แม้ว่ากษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)แห่งเกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国)จะชื่นชมพรสวรรค์และการเรียนรู้อย่างลึกซึ้งของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) เขาถึงกับมีความคิดหน่วงรั้งพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไว้ที่เกาชาง(Gaochang高昌)ด้วยซ้ำ และขอให้ประทับอยู่ที่นี่ตลอดไป แสดงธรรมสั่งสอนให้ความรู้ความกระจ่างแก่คนทั่วไป จนกระทั่งเป็นพระอาจารย์ระดับชาติของ เกาชางเกว๋าะ(Gaochang高昌国) พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไม่เห็นด้วยเพราะมีตวามเห็นว่าเรื่องธรรมะเป็นเรื่องใหญ่กว่า กษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)เห็นว่าพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) มีความมุ่งมั่นดังนั้นเขาจึงจำต้องโยนไพ่ตายทางเลือกสุดท้ายของเขาออกไป: 🥸ถ้าพระคุณท่านไม่ปรารถนาอยู่ในเกาชาง(Gaochang高昌) ข้าพระเจ้าจะไม่มีทางเลือกอื่นนอกจากส่งท่านอาจารย์กลับไปทางทิศตะวันออก🥸 เมื่อต้องเผชิญกับกลยุทธ์ไม้แข็งและไม้อ่อนร่วมกันของ ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰) พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) กล่าวด้วยท่าทีที่ไม่ถ่อมตัวหรือหยิ่งผยองว่า: 🥸พระองค์สามารถจะเพียงได้รับกระดูกของอาตมาเอาไว้ได้ แต่พระองค์ไม่สามารถหยุดยั้งความตั้งใจของอาตมาที่จะไปทางตะวันตกได้🥸 😎หนทางเบื้องหน้าอันยาวไกล😎 🥸ด้วยเหตุนี้ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) จึงอดอาหารเป็นเวลาสามวันเพื่อแสดงความตั้งใจมุ่งมั่นที่จะเดินทางไปดินแดนทางทิศตะวันตก🥸 ในฐานะเป็นอาณาจักรในภูมิภาคตะวันตกที่นับถือศาสนาพุทธ หากมีพระภิกษุที่แสวงหาธรรมะมาอดอยากจนตายภายในดินแดนของตน ชื่อเสียงสู่ภายนอกของเกาชาง(Gaochang高昌)ในภูมิภาคตะวันตกจะเสียหายอย่างมาก และเขาจะพลอยได้รับชื่อเสียงเสื่อมเสียงจากการทำร้ายพระภิกษุที่มีชื่อเสียงด้วย ยิ่งไปกว่านั้นความจริงแล้ว การขัดขวางการเดินทางไปดินแดนทางทิศตะวันตกของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) ด้วยเพื่อความปรารถนาอันเห็นแก่ตัวของเขาเองก็เป็นการขัดแย้งกับความตั้งใจเดิมของเขา 🥸เมื่อเขาคิดมาถึง ณ จุดนี้ กษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)ก็ก้มหัวให้ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) เพื่อขอโทษ🥸 ความคิดที่เห็นแก่ตัวของเขาที่มีต่อเกาชาง(Gaochang高昌) ก็ถูกขจัดออกไปในที่สุดด้วยความมุ่งมั่นมีเมตตาที่จะช่วยสิ่งมีชีวิตทั้งหมด ในเวลาเดียวกันกับขณะที่รู้สึกประทับใจกับความมุ่งมั่นอย่างแน่วแน่ของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ที่จะแสวงหาธรรมะโดยปราศจากสิ่งภายนอกมาบั่นทอนความตั้งใจ กษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)และพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ได้สาบานต่อฟ้าดินสัญญาเป็นพี่น้องกัน ภายใต้การอุปถัมภ์จากแม่ของแผ่นดินเจ้าจอมมารดา จาง(张太妃) เพื่อให้พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)เดินทางไปถึงอินเดียได้อย่างราบรื่น กษัตริย์เกาชาง(Gaochang高昌) ทรงสั่งการให้จัดทีมงานเล็กๆ ประกอบด้วยม้า 30 ตัว พนักงานข้าราชการเกาชาง(Gaochang高昌)1 คน ผู้ติดตามกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ 25 คน และพระภิกษุหนุ่ม 4 รูป เพื่อดูแลเรื่องอาหาร เสื้อผ้า และชีวิตประจำวันของพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) นอกจากนี้ ยังมีการเตรียมหน้ากากและหมวกพิเศษสำหรับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)สำหรับการเดินทางผ่านภูเขาและทะเลทรายที่เต็มไปด้วยหิมะ รวมถึงเสื้อคลุมสำหรับพระสงฆ์ซึ่งสามารถปรับให้เข้ากับเขตภูมิอากาศต่างๆ จัดทหารม้าขนนำทองคำ เงิน และผ้าไหมจำนวนมากไว้สำหรับการครั้งนี้ ทำให้มั่นใจได้ว่าพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไม่เพียงแต่จะไม่ต้องทนทุกข์จากความหิวโหยระหว่างทางไปอินเดียเท่านั้น แต่ยังมีเงินเพียงพอที่จะทำทานอีกด้วย ในสิ่งแต่งเคิมเหล่านี้เป็นรายละเอียดด้านที่อ่อนโยนของประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่ที่มีต่ออัครสาวก 🥸นอกจากทรัพย์สินแล้ว เนื่องจากเจ้าผู้ครองแคว้นตะวันตกในขณะนั้น คือ ข่านเตอร์กตะวันตก(西突厥)ได้สมรสกับราชวงศ์เกาชาง(Gaochang高昌) ยังมีจดหมายแสดงความเคารพที่กษัตริย์แห่งเกาชาง(Gaochang高昌)มอบให้กับข่านแห่งเติร์กตะวันตก(西突厥) อธิบายถึงความตั้งใจของ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ที่จะไปทางดินแดนแคว้นตะวันตกเพื่อแสวงหาธรรมะ🥸 ภายใต้การคุ้มครองของเตอร์กข่านตะวันตก (西突厥) ทุกประเทศในภูมิภาคตะวันตกตลอดเส้นทางให้ความเคารพแก่พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) และให้การสนับสนุนทางทหารที่เข้มแข็งและมีควาทปลอดภัยที่สุดสำหรับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)และคณะเดินทางของเขา และจดหมายแสดงความเคารพของกษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)ถึงพระมหากษัตริย์ของยี่สิบสี่ประเทศในภูมิภาคตะวันตกจะช่วยให้การเดินทางของ พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) ง่ายและสะดวกขึ้นอย่างมาก 🥸ในช่วงเวลาอันศักดิ์สิทธิ์ของการอำลาอาณาจักรเกาชาง(Gaochang高昌) บรรดาราชวงศ์และชาวเกาชาง(Gaochang高昌)ก็ออกจากเมืองเพื่อส่งอำลา🥸 พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)สัญญาว่า เมื่อเดินทางผ่านเกาชาง(Gaochang高昌)หลังจากกลับจากการศึกษาในอินเดียจะแสดงเทศนาธรรมอีก จากนั้นเขาก็กล่าวคำอำลากษัตริย์ชวีเหวินไท่(Qu Wentai麹文泰)ด้วยน้ำตา พวกบรรดาราชวงศ์ เกาชาง(Gaochang高昌)เจ้าหน้าที่และประชาชนชาวพุทธต่างพากันออกจากเมืองส่งเสียงอำลาดังลั่นสั่นสะเทือนไปทั่วทั้งถิ่น ราวกับว่ามือแห่งโชคชะตาได้ฉีกหัวใจและจิตวิญญาณออกจากร่างกายของชาวเกาชาง(Gaochang高昌) ทำให้พวกเขาสูญเสียสมบัติของชาติไปตลอดกาล บรรดาพวกราชวงศ์เกาชาง(Gaochang高昌) ส่งพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ออกไปนอกเมืองหลายสิบลี้ แม้ว่าพระภิกษุสมณเพศจะมองเห็นบรรลุแล้วการจากแยกอำลาในทางโลกแล้วก็ตาม แต่พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ผู้ที่มีจิตใจละเอียดอ่อนและยังคงเห็นคุณค่าของความสัมพันธ์ของมนุษย์ก็ยังมีอารมณ์อ่อนไหวมาก เขาขอบคุณต่ออาณาจักรเกาชาง(Gaochang高昌)อย่างสุดซึ้งอีกครั้งสำหรับการสนับสนุนอย่างมีน้ำใจ ราชาแห่งเกาชาง(Gaochang高昌)ยังจับพระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)ไว้แน่นด้วยมือทั้งสองข้าง ร่ำไห้ราวกับสายฝนกล่าวว่า 🥸ในเมื่อพระคุณท่านถือเป็นพี่น้องกัน สัตว์พาหนะต่าง ๆ ในประเทศก็มีเจ้าของคนเดียวกัน แล้วเหตุใดจึงต้องขอบคุณพวกเขาด้วย?🥸 พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘) ตอบว่า: 🥸ฉันจะไม่มีวันลืมความเมตตาของเสด็จพี่ตลอดชีวิตของอาตมา ในวันที่อาตมากลับจากนำพระคัมภีร์ทางพุทธศาสนากลับมา อาตมาจะอยู่สอนธรรมะในเกาชาง(Gaochang高昌)เป็นเวลาสามปีเป็นการตอบแทน!🥸 หลายปีต่อมาในฉางอาน(长安) พระถังซัมจั๋ง(Xuanzang 玄奘)เล่าถึงเหตุการณ์อันน่าประทับใจนี้ในช่วงเวลาที่ยากลำบากให้เหล่าสาวกฟัง มิตรภาพฉันท์พี่น้องที่มีต่อราชาแห่งเกาชาง(Gaochang高昌)ยังคงเกินคำบรรยาย ดูเหมือนราวกับว่าพิธีอำลาที่หรูหราและยิ่งใหญ่นั้นได่เกิดขึ้นเมื่อวานนี้เอง ตอนนั้นเขาไม่รู้ 🥸นี่ยังจะเป็นครั้งสุดท้ายที่เขาจะได้พบกับพี่ชายร่วมสาบานของเขา🥸 🥳โปรดติดตามบทความ#โลกของภูมิภาคตะวันตกในสายตาของพระภิกษุถังซัมจั๋ง ตอน 02. #อาณาจักรคาราซาห์และคูชาที่น่าสนใจต่อไป.ในโอกาสหน้า🥳 🥰กราบขออภัยในความผิดพลาดและกราบขอบพระคุณของข้อชี้แนะ🥰
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 284 มุมมอง 0 รีวิว
  • พุทธังสะระณังคัจฉามิ
    ธัมมังสะระณังคัจฉามิ
    สังฆังสะระณังคัจฉามิ
    ข้าพเจ้าขอถึงซึ่งพระพุทธพระธรรมพระสงฆ์เป็นที่พึ่งที่ระลึก
    พุทธังสะระณังคัจฉามิ ธัมมังสะระณังคัจฉามิ สังฆังสะระณังคัจฉามิ ข้าพเจ้าขอถึงซึ่งพระพุทธพระธรรมพระสงฆ์เป็นที่พึ่งที่ระลึก
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 78 มุมมอง 0 รีวิว
  • รมว.วธ. เป็นประธานในพิธีบวงสรวง วันคล้ายวันสถาปนา ครบรอบ 22 ปี กระทรวงวัฒนธรรม

    วันที่ 3 ตุลาคม 2567 เวลา 07.30 น. นางสาวสุดาวรรณ หวังศุภกิจโกศล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ได้เป็นประธานในพิธีบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในกระทรวงวัฒนธรรม เนื่องในโอกาสวันครบรอบ 22 ปี ของการสถาปนากระทรวงวัฒนธรรม โดยมี ดร.ยุพา ทวีวัฒนกิจบวร ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม พร้อมด้วยผู้บริหารระดับสูง ข้าราชการ และเจ้าหน้าที่ของกระทรวงร่วมพิธีบวงสรวงในช่วงเช้าที่ผ่านมา บรรยากาศภายในงานเต็มไปด้วยความสงบและศรัทธา มีการจัดเตรียมสถานที่และสิ่งของบวงสรวงอย่างเป็นระเบียบ

    ในการเริ่มต้นพิธีในช่วงเช้า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมได้สักการะพระพุทธสิริวัฒนธรรโมภาส พระสยามเทวาธิราช และศาลตา-ยาย ประจำกระทรวงวัฒนธรรม เพื่อขอพรให้กระทรวงและบุคลากรมีความเจริญก้าวหน้า ปลอดภัย และประสบความสำเร็จในการทำงานเพื่อประโยชน์ของประชาชน ทั้งนี้ การบวงสรวงยังได้รับการประกอบพิธีโดยพระมหาราชครูพิธีศรีวิสุทธิคุณ ประธานพระครูพราหมณ์ เพื่อเสริมสร้างสิริมงคลให้กับกระทรวงวัฒนธรรม และเพื่อระลึกถึงบทบาทที่สำคัญของการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและส่งเสริมค่านิยมที่ดีงามให้คงอยู่สืบไป

    ต่อมาในเวลา 09.20 น. ได้มีพิธีสวดพุทธชัยมงคลคาถา โดยพระสงฆ์จำนวน 10 รูป เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ภายในกระทรวงวัฒนธรรม การสวดพุทธชัยมงคลคาถาเป็นพิธีที่สำคัญและเป็นมงคลในการเริ่มต้นสิ่งใหม่ๆ โดยเฉพาะในวาระพิเศษเช่นนี้ เพื่อให้เกิดความสบายใจและเป็นกำลังใจในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรที่ร่วมกันสร้างสรรค์และอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ในพิธีทางศาสนายังได้มีการทำบุญเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้กับผู้ล่วงลับอีกด้วย

    นางสาวสุดาวรรณ หวังศุภกิจโกศล และผู้บริหารกระทรวงฯ ได้ร่วมกันทอดผ้าบังสกุล จำนวน 10 ผืน และกรวดน้ำอุทิศส่วนบุญกุศลให้กับเด็กนักเรียนในจังหวัดอุทัยธานี ที่ประสบอุบัติเหตุจากเหตุการณ์รถบัสทัศนศึกษาที่เกิดเพลิงไหม้เมื่อวันที่ 1 ตุลาคมที่ผ่านมา การกระทำดังกล่าวเป็นการแสดงถึงความห่วงใยและความเอื้อเฟื้อของกระทรวงวัฒนธรรมต่อประชาชนทั่วไป อีกทั้งยังสะท้อนถึงบทบาทที่กระทรวงต้องการเป็นส่วนหนึ่งในการส่งเสริมและสนับสนุนคุณภาพชีวิตของประชาชน การทำบุญให้กับเด็กนักเรียนที่เสียชีวิตเป็นการสร้างกำลังใจให้กับครอบครัวและผู้ได้รับผลกระทบ

    หลังจากเสร็จสิ้นพิธีทางศาสนาแล้ว นางสาวสุดาวรรณ และคณะผู้บริหารของกระทรวงวัฒนธรรม ได้ให้การต้อนรับแขกผู้มีเกียรติที่มาร่วมงานในครั้งนี้ ผู้แทนจากหน่วยงานต่างๆ ได้เดินทางมาแสดงความยินดีและร่วมเป็นส่วนหนึ่งในวันคล้ายวันสถาปนากระทรวงวัฒนธรรมครั้งที่ 22 ทั้งนี้ การเข้าร่วมพิธีครั้งนี้ไม่เพียงแต่เป็นการเฉลิมฉลองการก่อตั้งกระทรวงเท่านั้น แต่ยังเป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างหน่วยงานราชการและประชาชนที่เข้ามาร่วมงาน การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและการร่วมมือกันในการส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นสิ่งสำคัญที่ทำให้กระทรวงวัฒนธรรมสามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

    การถ่ายรูปร่วมกันและการมอบช่อดอกไม้และของที่ระลึกให้กับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม นับเป็นอีกหนึ่งช่วงเวลาที่สร้างความประทับใจให้กับผู้ร่วมงาน สื่อถึงความร่วมมือและความสัมพันธ์อันดีระหว่างหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง การแสดงความยินดีต่อการครบรอบ 22 ปี ของการสถาปนากระทรวงวัฒนธรรมเป็นการยืนยันถึงความสำคัญของงานที่กระทรวงวัฒนธรรมทำเพื่อสังคมและประเทศชาติ โดยมีเป้าหมายในการอนุรักษ์ ส่งเสริม และเผยแพร่วัฒนธรรมไทยให้คงอยู่และสืบทอดไปสู่คนรุ่นหลัง

    กระทรวงวัฒนธรรมก่อตั้งขึ้นเพื่อดำเนินงานด้านการอนุรักษ์ ส่งเสริม และพัฒนาวัฒนธรรมไทยให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยและโลก กระทรวงวัฒนธรรมเป็นหน่วยงานที่มีบทบาทสำคัญในการรักษามรดกทางวัฒนธรรมทั้งที่เป็นวัตถุและไม่เป็นวัตถุ ไม่ว่าจะเป็นการดูแลโบราณสถาน โบราณวัตถุ รวมถึงการส่งเสริมงานศิลปะและการแสดงต่างๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของเอกลักษณ์ไทย นอกจากนี้ กระทรวงยังทำหน้าที่ในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์วัฒนธรรม ผ่านการจัดกิจกรรมต่างๆ เช่น การประกวด การอบรม และการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม

    ตลอดระยะเวลา 22 ปีที่ผ่านมา กระทรวงวัฒนธรรมได้สร้างผลงานที่โดดเด่นและเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับประเทศและระดับนานาชาติ โดยมีเป้าหมายในการสร้างสังคมที่มีความสมานฉันท์และภาคภูมิใจในวัฒนธรรมของตนเอง ทั้งนี้ กระทรวงได้ให้ความสำคัญกับการส่งเสริมค่านิยมที่ดีในสังคมไทย เช่น การเคารพผู้ใหญ่ การช่วยเหลือกัน และการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญในการสร้างสังคมที่เข้มแข็งและยั่งยืน

    ในช่วงเวลาปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว กระทรวงวัฒนธรรมยังมีบทบาทในการนำวัฒนธรรมมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของโลกยุคใหม่ การใช้เทคโนโลยีเพื่อการเผยแพร่วัฒนธรรมและการสร้างความเข้าใจในวัฒนธรรมระหว่างประเทศถือเป็นสิ่งสำคัญ กระทรวงได้มีการจัดทำเนื้อหาด้านวัฒนธรรมในรูปแบบดิจิทัล เช่น การสร้างพิพิธภัณฑ์ออนไลน์ การจัดทำฐานข้อมูลวัฒนธรรม และการใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อเผยแพร่ความรู้และกิจกรรมด้านวัฒนธรรม

    กระทรวงวัฒนธรรมมีการดำเนินกิจกรรมและโครงการที่หลากหลายเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์และพัฒนาวัฒนธรรมไทย กิจกรรมที่ได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก เช่น โครงการฟื้นฟูและอนุรักษ์โบราณสถานทั่วประเทศ การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การสนับสนุนศิลปินพื้นบ้านและศิลปินแห่งชาติ รวมถึงการจัดงานเทศกาลทางวัฒนธรรมต่างๆ ที่มีเป้าหมายในการส่งเสริมความเข้าใจและความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมไทย

    อีกทั้งกระทรวงยังมีการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้วัฒนธรรมในกลุ่มเยาวชน โดยการนำวัฒนธรรมเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการเรียนการสอน เพื่อให้เยาวชนได้เรียนรู้และเข้าใจถึงรากฐาน

    ภาพ/ข่าว​ โย​ ประเด็นรัฐ
    รมว.วธ. เป็นประธานในพิธีบวงสรวง วันคล้ายวันสถาปนา ครบรอบ 22 ปี กระทรวงวัฒนธรรม วันที่ 3 ตุลาคม 2567 เวลา 07.30 น. นางสาวสุดาวรรณ หวังศุภกิจโกศล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ได้เป็นประธานในพิธีบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในกระทรวงวัฒนธรรม เนื่องในโอกาสวันครบรอบ 22 ปี ของการสถาปนากระทรวงวัฒนธรรม โดยมี ดร.ยุพา ทวีวัฒนกิจบวร ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม พร้อมด้วยผู้บริหารระดับสูง ข้าราชการ และเจ้าหน้าที่ของกระทรวงร่วมพิธีบวงสรวงในช่วงเช้าที่ผ่านมา บรรยากาศภายในงานเต็มไปด้วยความสงบและศรัทธา มีการจัดเตรียมสถานที่และสิ่งของบวงสรวงอย่างเป็นระเบียบ ในการเริ่มต้นพิธีในช่วงเช้า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมได้สักการะพระพุทธสิริวัฒนธรรโมภาส พระสยามเทวาธิราช และศาลตา-ยาย ประจำกระทรวงวัฒนธรรม เพื่อขอพรให้กระทรวงและบุคลากรมีความเจริญก้าวหน้า ปลอดภัย และประสบความสำเร็จในการทำงานเพื่อประโยชน์ของประชาชน ทั้งนี้ การบวงสรวงยังได้รับการประกอบพิธีโดยพระมหาราชครูพิธีศรีวิสุทธิคุณ ประธานพระครูพราหมณ์ เพื่อเสริมสร้างสิริมงคลให้กับกระทรวงวัฒนธรรม และเพื่อระลึกถึงบทบาทที่สำคัญของการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและส่งเสริมค่านิยมที่ดีงามให้คงอยู่สืบไป ต่อมาในเวลา 09.20 น. ได้มีพิธีสวดพุทธชัยมงคลคาถา โดยพระสงฆ์จำนวน 10 รูป เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ภายในกระทรวงวัฒนธรรม การสวดพุทธชัยมงคลคาถาเป็นพิธีที่สำคัญและเป็นมงคลในการเริ่มต้นสิ่งใหม่ๆ โดยเฉพาะในวาระพิเศษเช่นนี้ เพื่อให้เกิดความสบายใจและเป็นกำลังใจในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรที่ร่วมกันสร้างสรรค์และอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ในพิธีทางศาสนายังได้มีการทำบุญเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้กับผู้ล่วงลับอีกด้วย นางสาวสุดาวรรณ หวังศุภกิจโกศล และผู้บริหารกระทรวงฯ ได้ร่วมกันทอดผ้าบังสกุล จำนวน 10 ผืน และกรวดน้ำอุทิศส่วนบุญกุศลให้กับเด็กนักเรียนในจังหวัดอุทัยธานี ที่ประสบอุบัติเหตุจากเหตุการณ์รถบัสทัศนศึกษาที่เกิดเพลิงไหม้เมื่อวันที่ 1 ตุลาคมที่ผ่านมา การกระทำดังกล่าวเป็นการแสดงถึงความห่วงใยและความเอื้อเฟื้อของกระทรวงวัฒนธรรมต่อประชาชนทั่วไป อีกทั้งยังสะท้อนถึงบทบาทที่กระทรวงต้องการเป็นส่วนหนึ่งในการส่งเสริมและสนับสนุนคุณภาพชีวิตของประชาชน การทำบุญให้กับเด็กนักเรียนที่เสียชีวิตเป็นการสร้างกำลังใจให้กับครอบครัวและผู้ได้รับผลกระทบ หลังจากเสร็จสิ้นพิธีทางศาสนาแล้ว นางสาวสุดาวรรณ และคณะผู้บริหารของกระทรวงวัฒนธรรม ได้ให้การต้อนรับแขกผู้มีเกียรติที่มาร่วมงานในครั้งนี้ ผู้แทนจากหน่วยงานต่างๆ ได้เดินทางมาแสดงความยินดีและร่วมเป็นส่วนหนึ่งในวันคล้ายวันสถาปนากระทรวงวัฒนธรรมครั้งที่ 22 ทั้งนี้ การเข้าร่วมพิธีครั้งนี้ไม่เพียงแต่เป็นการเฉลิมฉลองการก่อตั้งกระทรวงเท่านั้น แต่ยังเป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างหน่วยงานราชการและประชาชนที่เข้ามาร่วมงาน การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและการร่วมมือกันในการส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นสิ่งสำคัญที่ทำให้กระทรวงวัฒนธรรมสามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ การถ่ายรูปร่วมกันและการมอบช่อดอกไม้และของที่ระลึกให้กับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม นับเป็นอีกหนึ่งช่วงเวลาที่สร้างความประทับใจให้กับผู้ร่วมงาน สื่อถึงความร่วมมือและความสัมพันธ์อันดีระหว่างหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง การแสดงความยินดีต่อการครบรอบ 22 ปี ของการสถาปนากระทรวงวัฒนธรรมเป็นการยืนยันถึงความสำคัญของงานที่กระทรวงวัฒนธรรมทำเพื่อสังคมและประเทศชาติ โดยมีเป้าหมายในการอนุรักษ์ ส่งเสริม และเผยแพร่วัฒนธรรมไทยให้คงอยู่และสืบทอดไปสู่คนรุ่นหลัง กระทรวงวัฒนธรรมก่อตั้งขึ้นเพื่อดำเนินงานด้านการอนุรักษ์ ส่งเสริม และพัฒนาวัฒนธรรมไทยให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยและโลก กระทรวงวัฒนธรรมเป็นหน่วยงานที่มีบทบาทสำคัญในการรักษามรดกทางวัฒนธรรมทั้งที่เป็นวัตถุและไม่เป็นวัตถุ ไม่ว่าจะเป็นการดูแลโบราณสถาน โบราณวัตถุ รวมถึงการส่งเสริมงานศิลปะและการแสดงต่างๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของเอกลักษณ์ไทย นอกจากนี้ กระทรวงยังทำหน้าที่ในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์วัฒนธรรม ผ่านการจัดกิจกรรมต่างๆ เช่น การประกวด การอบรม และการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม ตลอดระยะเวลา 22 ปีที่ผ่านมา กระทรวงวัฒนธรรมได้สร้างผลงานที่โดดเด่นและเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับประเทศและระดับนานาชาติ โดยมีเป้าหมายในการสร้างสังคมที่มีความสมานฉันท์และภาคภูมิใจในวัฒนธรรมของตนเอง ทั้งนี้ กระทรวงได้ให้ความสำคัญกับการส่งเสริมค่านิยมที่ดีในสังคมไทย เช่น การเคารพผู้ใหญ่ การช่วยเหลือกัน และการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญในการสร้างสังคมที่เข้มแข็งและยั่งยืน ในช่วงเวลาปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว กระทรวงวัฒนธรรมยังมีบทบาทในการนำวัฒนธรรมมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของโลกยุคใหม่ การใช้เทคโนโลยีเพื่อการเผยแพร่วัฒนธรรมและการสร้างความเข้าใจในวัฒนธรรมระหว่างประเทศถือเป็นสิ่งสำคัญ กระทรวงได้มีการจัดทำเนื้อหาด้านวัฒนธรรมในรูปแบบดิจิทัล เช่น การสร้างพิพิธภัณฑ์ออนไลน์ การจัดทำฐานข้อมูลวัฒนธรรม และการใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อเผยแพร่ความรู้และกิจกรรมด้านวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรมมีการดำเนินกิจกรรมและโครงการที่หลากหลายเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์และพัฒนาวัฒนธรรมไทย กิจกรรมที่ได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก เช่น โครงการฟื้นฟูและอนุรักษ์โบราณสถานทั่วประเทศ การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การสนับสนุนศิลปินพื้นบ้านและศิลปินแห่งชาติ รวมถึงการจัดงานเทศกาลทางวัฒนธรรมต่างๆ ที่มีเป้าหมายในการส่งเสริมความเข้าใจและความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมไทย อีกทั้งกระทรวงยังมีการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้วัฒนธรรมในกลุ่มเยาวชน โดยการนำวัฒนธรรมเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการเรียนการสอน เพื่อให้เยาวชนได้เรียนรู้และเข้าใจถึงรากฐาน ภาพ/ข่าว​ โย​ ประเด็นรัฐ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 272 มุมมอง 0 รีวิว
  • อุโบสถที่ ๗ ขึ้น ๑๕ ค่ำ (๑ ค่ำปักข์ถ้วน ) วันเสาร์ที่ ๖ กรกฏาคม พุทธศักราช ๒๕๖๗
    พระเดชพระคุณ พระครูปลัดอวยชัย รัตนอวยชัย ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดดวงแข เป็นประธานนำ คณะสงฆ์วัดดวงแข ร่วมกันทำสังฆกรรมฟังสาธยายพระปาฏิโมกข์
    พรมหาศุภชัย แซ่เถียร อชิโต ป.ธ.๗ องค์สวดสาธยายพระปาฏิโมกข์
    พรปลัดธงชัยพันธ์ องค์ทวนพระปาฏิโมกข์
    พระภิกษุสงฆ์ลงอุโบสถกรรมสวดพระปาฏิโมกข์ หรือศีล ๒๒๗ ข้อ ในวันอุโบสถ วันพระจันทร์เพ็ญ และวันพระจันทร์ดับ คือ วันพระข้างขึ้น ๑๕ ค่ำ และข้างแรม ๑๕ ค่ำ หรือแรม๑๔ ค่ำ ในเดือนขาด
    พระพุทธเจ้าได้ประทับเป็นประธานหมู่พระสงฆ์ แล้วก็ทรงแสดงพระโอวาทปาติโมกข์ขึ้นด้วยพระองค์เองทุก ๑๕ วัน แปลว่า ทรงทำอุโบสถร่วมด้วยภิกษุสงฆ์แล้วก็เรียกว่า ปาริสุทธิอุโบสถ คือ เป็นอุโบสถที่บริสุทธิ์
    พระพุทธเจ้าก็ทรงบริสุทธิ์ พระสงฆ์ก็บริสุทธิ์ จนถึงมีเรื่องที่เกิดขึ้นในเวลาต่อมามีเล่าไว้ในบาลีวินัย ว่า พระสงฆ์มาประชุมพร้อมกันแล้ว พระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลงมา
    จนถึงเวลายามที่ ๑ พระอานนท์ก็ไปกราบทูลเตือนว่า ยามหนึ่งแล้วพระมานั่งรออยู่นานแล้ว ขอให้พระองค์ท่านเสด็จลงทรงสวดพระปาติโมกข์เถิด พระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลง
    ครั้นถึงยามที่ ๒ พระอานนท์ก็ไปกราบทูลเตือนอีก พระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลง
    ครั้นถึงยามที่ ๓ พระอานนท์ก็ไปกราบทูลเตือนอีกพระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลง แต่ได้มีพระพุทธดำรัสว่า บริษัทไม่บริสุทธิ์ คือ ว่ามีพระทุศีลมาปนอยู่ด้วย
    พระโมคคัลลานะจึงได้เที่ยวตรวจดู เมื่อไปพบภิกษุที่ทุศีลก็บอกให้ออกไปจากที่ประชุม ผู้นั้นก็ไม่ยอมออกไป ต้องฉุดแขนออกไป แต่ก็สว่างเสียแล้ว พ้นเวลาที่จะทำอุโบสถ ก็เป็นอันว่าในอุโบสถนั้นไม่ได้ทำ พระพุทธเจ้าจึงทรงปรารภเรื่องนี้ ตรัสให้พระสงฆ์ยกเอาพระวินัยที่ทรงบัญญัติขึ้นไว้มาสวดเป็นปาติโมกข์แทน และให้พระสงฆ์สวดกันเอง พระพุทธเจ้าไม่เสด็จมาทำอุโบสถร่วมด้วยอีกต่อไป
    เพราะฉะนั้นจึงมีการยกเอาวินัยขึ้นสวดเป็นปาติโมกข์ทุก ๆ ๑๕ วัน สืบต่อมาจนบัดนี้ ปาติโมกข์ที่ยกเอาพระวินัยขึ้นสวดนี้ เรียกว่า วินัยปาติโมกข์ ซึ่งก็คือ คัมภีร์รวมวินัยสงฆ์ ๒๒๗ ข้อ ซึ่งต้องสวดทบทวนในที่ประชุมสงฆ์ หรือการลงอุโบสถทุกกึ่งเดือนในวันพระ
    พระพุทธเจ้าตรัสห้ามมิให้สวดปาฏิโมกข์โดยมีคฤหัสถ์ปนอยู่ในท่ามกลางหมู่ภิกษุสงฆ์ หมายความว่าไม่พึงสวดปาติโมกข์ในบริษัทที่มีคฤหัสถ์ปนอยู่ด้วย รูปใดสวดต้องอาบัติทุกกฏ
    การฟังปาฏิโมกข์เป็นกิจสงฆ์ที่สำคัญ และเป็นสังฆกรรมเฉพาะพระภิกษุเท่านั้น แม้สามเณรก็เข้าร่วมไม่ได้ ในระหว่างที่กำลังสวดปาฏิโมกข์ หากมีผู้มิใช่ภิกษุเข้ามาในหัตถบาสต้องเริ่มสวดปาฏิโมกข์ใหม่ เพราะเป็นสังฆกรรมวิบัติ
    การฟังพระสวดปาฏิโมกข์แล้วจะเข้าใจความหมายก็ตาม หรือไม่เข้าใจก็ตาม ผู้ฟังแล้วจะได้ทั้งบุญและอานิสงส์มาก เพราะการสวดปาฏิโมกข์เป็นภาษาบาลี หรือภาษามคธ ภาษาของพระพุทธเจ้า พระสงฆ์ที่เข้าร่วมฟังปาฏิโมกข์จะรู้ได้เฉพาะตน หรือพระสงฆ์ที่มีเปรียญธรรม ๕ ประโยคขึ้นไปฟังรู้เรื่องและเข้าใจความหมายได้
    อุโบสถที่ ๗ ขึ้น ๑๕ ค่ำ (๑ ค่ำปักข์ถ้วน ) วันเสาร์ที่ ๖ กรกฏาคม พุทธศักราช ๒๕๖๗ พระเดชพระคุณ พระครูปลัดอวยชัย รัตนอวยชัย ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดดวงแข เป็นประธานนำ คณะสงฆ์วัดดวงแข ร่วมกันทำสังฆกรรมฟังสาธยายพระปาฏิโมกข์ พรมหาศุภชัย แซ่เถียร อชิโต ป.ธ.๗ องค์สวดสาธยายพระปาฏิโมกข์ พรปลัดธงชัยพันธ์ องค์ทวนพระปาฏิโมกข์ พระภิกษุสงฆ์ลงอุโบสถกรรมสวดพระปาฏิโมกข์ หรือศีล ๒๒๗ ข้อ ในวันอุโบสถ วันพระจันทร์เพ็ญ และวันพระจันทร์ดับ คือ วันพระข้างขึ้น ๑๕ ค่ำ และข้างแรม ๑๕ ค่ำ หรือแรม๑๔ ค่ำ ในเดือนขาด พระพุทธเจ้าได้ประทับเป็นประธานหมู่พระสงฆ์ แล้วก็ทรงแสดงพระโอวาทปาติโมกข์ขึ้นด้วยพระองค์เองทุก ๑๕ วัน แปลว่า ทรงทำอุโบสถร่วมด้วยภิกษุสงฆ์แล้วก็เรียกว่า ปาริสุทธิอุโบสถ คือ เป็นอุโบสถที่บริสุทธิ์ พระพุทธเจ้าก็ทรงบริสุทธิ์ พระสงฆ์ก็บริสุทธิ์ จนถึงมีเรื่องที่เกิดขึ้นในเวลาต่อมามีเล่าไว้ในบาลีวินัย ว่า พระสงฆ์มาประชุมพร้อมกันแล้ว พระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลงมา จนถึงเวลายามที่ ๑ พระอานนท์ก็ไปกราบทูลเตือนว่า ยามหนึ่งแล้วพระมานั่งรออยู่นานแล้ว ขอให้พระองค์ท่านเสด็จลงทรงสวดพระปาติโมกข์เถิด พระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลง ครั้นถึงยามที่ ๒ พระอานนท์ก็ไปกราบทูลเตือนอีก พระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลง ครั้นถึงยามที่ ๓ พระอานนท์ก็ไปกราบทูลเตือนอีกพระพุทธเจ้าก็ไม่เสด็จลง แต่ได้มีพระพุทธดำรัสว่า บริษัทไม่บริสุทธิ์ คือ ว่ามีพระทุศีลมาปนอยู่ด้วย พระโมคคัลลานะจึงได้เที่ยวตรวจดู เมื่อไปพบภิกษุที่ทุศีลก็บอกให้ออกไปจากที่ประชุม ผู้นั้นก็ไม่ยอมออกไป ต้องฉุดแขนออกไป แต่ก็สว่างเสียแล้ว พ้นเวลาที่จะทำอุโบสถ ก็เป็นอันว่าในอุโบสถนั้นไม่ได้ทำ พระพุทธเจ้าจึงทรงปรารภเรื่องนี้ ตรัสให้พระสงฆ์ยกเอาพระวินัยที่ทรงบัญญัติขึ้นไว้มาสวดเป็นปาติโมกข์แทน และให้พระสงฆ์สวดกันเอง พระพุทธเจ้าไม่เสด็จมาทำอุโบสถร่วมด้วยอีกต่อไป เพราะฉะนั้นจึงมีการยกเอาวินัยขึ้นสวดเป็นปาติโมกข์ทุก ๆ ๑๕ วัน สืบต่อมาจนบัดนี้ ปาติโมกข์ที่ยกเอาพระวินัยขึ้นสวดนี้ เรียกว่า วินัยปาติโมกข์ ซึ่งก็คือ คัมภีร์รวมวินัยสงฆ์ ๒๒๗ ข้อ ซึ่งต้องสวดทบทวนในที่ประชุมสงฆ์ หรือการลงอุโบสถทุกกึ่งเดือนในวันพระ พระพุทธเจ้าตรัสห้ามมิให้สวดปาฏิโมกข์โดยมีคฤหัสถ์ปนอยู่ในท่ามกลางหมู่ภิกษุสงฆ์ หมายความว่าไม่พึงสวดปาติโมกข์ในบริษัทที่มีคฤหัสถ์ปนอยู่ด้วย รูปใดสวดต้องอาบัติทุกกฏ การฟังปาฏิโมกข์เป็นกิจสงฆ์ที่สำคัญ และเป็นสังฆกรรมเฉพาะพระภิกษุเท่านั้น แม้สามเณรก็เข้าร่วมไม่ได้ ในระหว่างที่กำลังสวดปาฏิโมกข์ หากมีผู้มิใช่ภิกษุเข้ามาในหัตถบาสต้องเริ่มสวดปาฏิโมกข์ใหม่ เพราะเป็นสังฆกรรมวิบัติ การฟังพระสวดปาฏิโมกข์แล้วจะเข้าใจความหมายก็ตาม หรือไม่เข้าใจก็ตาม ผู้ฟังแล้วจะได้ทั้งบุญและอานิสงส์มาก เพราะการสวดปาฏิโมกข์เป็นภาษาบาลี หรือภาษามคธ ภาษาของพระพุทธเจ้า พระสงฆ์ที่เข้าร่วมฟังปาฏิโมกข์จะรู้ได้เฉพาะตน หรือพระสงฆ์ที่มีเปรียญธรรม ๕ ประโยคขึ้นไปฟังรู้เรื่องและเข้าใจความหมายได้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 69 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts