• เขาขึ้นหรือเขานางบวชและวิหารพระอาจารย์ธรรมโชติ
    ....
    ในท้องทุ่งแห่งลุ่มแม่น้ำน้อยมีตำนานเล่าเรื่องวีรชนแห่งบ้านระจันหรือบางระจัน ที่ต้านทัพพม่า ซึ่งเข้ามาล้อมกรุงศรีอยุธยาที่อยู่ทางใต้ไม่ไกลนักได้ถึง ๗ ครั้ง ชาวบ้านบางระจันได้รวมตัวกันต่อสู้รบและเสียชีวิตทั้งหมู่บ้านในครั้งที่ ๘ แม้นักประวัติศาสตร์หลายท่านจะเห็นแย้งและกล่าวว่าทัพพม่าเข้ามาทางบ้านตากนั้นยังคงไม่ถึงกรุงศรีอยุธยา เอกสารที่บันทึกไว้อย่างละเอียดน่าจะเป็นพระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา ที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวน่าจะขยายความและบรรยายอย่างละเอียด โดยมีนำมากล่าวถึงในหนังสือไทยรบพม่าของ สมเด็จพระบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ส่วนพระราชพงศาวดารฉบับอื่นคงบรรยายไว้เพียงไม่มาก ปรากฎชื่อสถานที่ว่า ‘บ้านระจัน’ พระอาจารย์วัดเขานางบวชซึ่งก็หมายถึงพระอาจารย์ธรรมโชติ นายจันเขียว พระยารัตนาธิเบศ
    .
    อย่างไรก็ตาม พระราชพงศาวดารและบันทึกคำให้การต่างๆ ล้วนมีการบันทึกเหตุการณ์ที่ชาวบ้านเสียชีวิตทั้งหมด ซึ่งเป็นเหตุการณ์สำคัญและมีส่วนที่เป็นข้อเท็จจริง ส่วนจะมีรายละเอียดอย่างใดนั้น เรื่องเล่าติดที่คือตำนานต่างๆ ถูกสร้างและแต่งเสริมด้วยผู้คนที่เป็นชาวบ้านแห่งท้องทุ่งในลุ่มแม่น้ำน้อยนี้
    .
    น่าสนใจว่า ผู้นำทางจิตวิญญาณที่สำคัญ คือ ‘พระอาจารย์ธรรมโชติ’ แห่งวัดเขานางบวช สุพรรณบุรี นั้นกลายเป็น Culture hero แห่งเขตพื้นที่กลางอันเป็นพื้นที่นครรัฐเจนลีฟูแต่เดิม เมื่อย้อนกลับไปราวห้าร้อยกว่าปีก่อนหน้านั้น
    .
    พื้นที่สู้รบนั้นอยู่ตามลำแม่น้ำน้อย ตั้งแต่แขวงเมืองวิเศษไชยชาญจนลงเข้าสู่ผักไห่และตั้งค่ายสำคัญอยู่ที่สีกุก
    .
    ส่วนด้านทางเหนือก็เข้าควบคุมพื้นที่ ทำให้ชาวบ้านไปรวมกันแถบรอบวัดโพธิ์เก้าต้น ต่อชาวบ้านไปอาราธนาพระอาจารย์ธรรมโชติจากวัดเขานางบวช ให้ไปช่วยคุ้มครองทำผ้าประเจียด ตะกรุด พิสมร (ตะกรุดรูปแบบหนึ่ง ใช้ร้อยสายไว้ป้องกันอันตราย) แจกจ่ายนักรบชาวบ้าน เล่าสืบต่อมาว่าพระอาจารย์ธรรมโชติ บวชครั้งแรกที่ ‘วัดยาง’ ที่อยู่ฝั่งตรงข้าม ปัจจุบันอยู่ในเขตอำเภอแสวงหา จังหวัดอ่างทอง กับวัดโพธิ์เก้าต้นหรือที่ชาวบ้านเรียกว่า ‘วัดแดง’ เพราะมีดงไม้แดงขึ้นเยอะ ทั้งสองวัดนี้เป็นวัดเก่า เพราะมีวิหารแบบแอ่นท้องสำเภา พระพุทธรูปหินทราย และพระพุทธรูปปูนปั้นประดิษฐานไว้ ก่อนย้ายไปฝึกวิปัสสนากรรมฐานในถ้ำบนยอดเขานางบวช ต่อมาชาวบ้านบางระจันได้อาราธนามาอยู่ ณ วัดโพธิ์เก้าต้น เพื่อเป็นขวัญกำลังใจในการสู้รบ
    .
    บริเวณ ‘วัดโพธิ์เก้าต้น’ นี้เป็นย่านชุมชนเก่ามาตั้งแต่สมัยทวารวดีช่วงปลาย แต่อยู่อาศัยกันบางเบาเพราะเป็นเขตที่ต้องใช้ดารเดินทางติดต่อทางน้ำเป็นหลัก [Riverine] เพราะอยู่ไม่ไกลจาก ‘เมืองคูเมือง’ ในตำบลแสวงหา จังหวัดอ่างทอง ที่อยู่ห่างไปราว ๓ กิโลเมตร ซึ่งเป็นหนึ่งในกลุ่มเมืองรูปสี่เหลี่ยมของลุ่มน้ำระหว่างลำสีบัวทองและแม่น้ำน้อย มีการอยู่อาศัยมาตั้งแต่สมัยทวารวดีและยุคลพบุรีหรือราวพุทธศตวรรษที่ ๑๖ - ๑๘ และคงอยู่สืบเนื่องกันต่อเรื่อยมาจนถึงสิ้นกรุงศรีอยุธยา
    .
    พอพม่าเข้าตีค่ายบางระจันที่วัดโพธิ์เก้าต้นได้ ใน ‘ไทยรบพม่า’ พระนิพนธ์ของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ก็ว่าชาวบ้านที่เหลือตายหนีไปได้บ้าง พม่าจับเอาไปเป็นเชลยบ้าง แต่พระอาจารย์ธรรมโชตินั้นเลยหายสาบสูญไป จะถึงมรณภาพในเวลาเสียค่ายพม่าหรือหนีรอดไปได้ไม่มีหลักฐานปรากฎ
    .
    แต่ในบทความของอาจารย์มนัส โอภากุล เรื่อง พระอาจารย์ธรรมโชติ หายไปไหน? (มนัส โอภากุล. พระอาจารย์ธรรมโชติหายไปไหน? ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๒๗) ใช้ข้อมูลประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจากทายกวัดนางบวช อายุ ๗๕ ปี ใน พ.ศ. ๒๕๒๗ เล่าว่า พระอาจารย์ธรรมโชติกลับมาจำพรรษาที่วัดเขานางบวชตามเดิม โดยคำบอกเล่าของปู่ย่าตายายเล่าว่า เมื่อค่ายบางระจันแตก พระอาจารย์ธรรมโชติหลบหนีมาที่เขานางบวช ทหารก็ไล่ติดตามมาจนมาค้นที่วัดเขานางบวชหาตัวเท่าไหร่ก็ไม่พบ เพราะท่านลงไปหลบในอุโมงค์ภายในวิหารที่ยังปรากฎอยู่จนปัจจุบันที่เคยเป็นที่นั่งวิปัสสนากรรมฐาน เล่ากันว่าภายในมีพื้นที่ให้คนนั่งรวมกันได้ ๕ - ๖ คน ทุกวันนี้ก็ยังปรากฎอยู่....
    .
    ซึ่งเป็นความเชื่อในคุณวิเศษของพระอาจารย์ธรรมโชติ ที่ชาวบ้านทางแถบเดิมบางตลอดไปจนถึงเขาพระ หัวเขาและบ้านกำมะเชียร ในย่านลุ่มน้ำสุพรรณเชื่อถือกันสืบต่อมา
    .
    พระวิหารวิปัสสนาที่เขาขึ้นหรือวัดเขานางบวชนั้น เป็นอาคารยาวมุงกระเบื้องกาบกล้วยแบบเก่า ประดิษฐานรอยพระบาท ด้านหลังเป็นโพรงหรืออุโมงค์ลงไปในโพรงแคบๆ ของพระเจดีย์ที่อาจจะเป็นกรุมาแต่ดั้งเดิม (ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็มีพระราชวินิจฉัยเช่นเดียวกัน ไม่ใช่เป็นโพรงถ้ำวิปัสสนามาแต่ก่อน
    .
    ‘เขาขึ้น’ หรือ ‘เขานางบวช’ นั้นเป็นหนึ่งในกลุ่มโบราณสถานบนเขาและชุมชนยุคแรกๆ มราเข้ามาตั้งถิ่นฐานในบริเวณนี้ เนื่องจากใกล้ชิดกับชุมชนที่เดิมบางฯ ริมแม่น้ำสุพรรณซึ่งเป็นจุดที่เชื่อมต่อเส้นทางเดินทางสมัยโบราณได้หลายทิศทาง ไม่ว่าจะขึ้นเหนือไปทางลุ่มน้ำสะแกกรังผ่านไปทางลำน้ำปิง ทางลำน้ำมะเขามเฒ่าสู่กลุ่มเมืองทางอู่ตะเภาและพื้นที่ดอนที่ติดต่อกับที่ราบสูงโคราช ทางตะวันตกสู่ลุ่มน้ำสุพรรณ อู่ทองและแม่กลอง และทางใต้ติดต่อกับท้องทุ่งและลำน้ำใหญ่น้อยที่ลงสูากลุ่มละโว้ได้เช่นกัน และมีการอยู่อาศัยต่อเนื่อง จนกลายเป็นแลนด์มาร์กและวัดสำคัญของท้องถิ่น มำตำนานของผู้เข้ามาอยู่อาศัยใหม่ๆ สร้างให้กลายเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น และกลายมาเป็นการสร้างประเพณีสำคัญของท้องถิ่นสืบมาจนถึงปัจจุบัน
    .
    เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสขึ้นบนเขานางบวช เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๑ ในพระราชหัตถเลขาบันทึกไว้ว่า
    .
    ...ที่บนนั้นมีพระอุโบสถหลังหนึ่ง ห้าห้อง ไม่มีหน้าต่าง ก่อเว้นช่องอย่างวัดพุทไธสวรรย์ แต่ไม่มีหลังคามุงแฝกคลุมไว้ พระที่ตั้งอยู่บนฐานชุกชีเป็นพระพุทธรูปศิลาปั้นปูน ประกอบปิดทอง ผนังโบสถ์ด้านหนึ่งก่อเป็นแท่นเหมือนอาสนสงฆ์ ตั้งพระพุทธรูป เป็นพระยืนขนาดใหญ่ เห็นจะเป็นพระเก่าผีมือดี ๆ อย่างโบราณ สวมเทริด หน้าต่าง ๆ แต่ ชำรุดทั้งสิ้น ได้เชิญให้ลงมาปฏิสังขรณ์ ๔ องค์ ถ้าเสร็จแล้วจะส่งกลับไปไว้ที่เขานั้นบ้าง เสมาใช้ศิลาแผ่นใหญ่ ๆ อย่างเสมาวัดหลวงกรุงเก่า มีกำแพงแก้วรอบไป จนกระทั่งเจดีย์และวิหารด้วย แต่วิหารนั้นเป็นที่น่าสงสัยอยู่ว่า ทำเป็นสองคราว เพราะกระชั้นพระเจดีย์นัก ไม่ได้ไว้ช่อง อีกมีช่องหน้าต่างเล็กสูงเพียงศอกเดียว กว้างกับเศษ ๒ ช่องเท่านั้น ท้ายวิหารจดฐานพระเจดีย์ มีทางเข้าไปในองค์พระเจดีย์ที่กำแพงแก้ว มีพระเจดีย์ประจำมุมเห็นจะมีถึงด้านละ ๔ องค์ พระเจดีย์นั้นก็เป็นพานแว่นฟ้า ๓ ชั้น
    .
    เขานางบวชนี้เป็นที่ราษฎรนับถือมาก มีกำหนดขึ้นไหว้กันกลางเดือน ๔ ทุกปี มาแต่หัวเมืองอื่นก็มากใช้เดินทางบกทั้งนั้น...
    .
    ลักษณะของเจดีย์ที่สร้างแบบผสมกับหินก้อนใหญ่ๆ ซึ่งมักนิยมสร้างกันเช่นนี้ตามเขาที่มีฐานวิหารและพระเจดีย์บนเขา เช่น ที่บ้านหัวเขาในอำเภอเดิมบางฯ นี้ และแนวเขาพระที่ต่อเนื่องมาจากอู่ทองจนถึงเลาขวัญอีกหลายแห่ง ก็มีลักษณะคล้ายกัน ซึ่งเป็นยุคสมัยแบบลพบุรีหรือในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๖-๑๘ อันเป็นช่วงร่วมสมัยกับกลุ่มนครรัฐเจนลีฟูที่ปรากฎขึ้นในบริเวณนี้ และเป็นรัฐที่นับถือพุทธศาสนาเป็นหลักตามระบุไว้ในจดหมายเหตุจีน
    .
    และยังพบฐานแท่นหินทรายขนาดย่อมๆ สำหรับประติมากรรมที่อาจเป็นพระพุทธรูปหรือเทวรูปก็ได้ และพระพุทธรูปยืนสวมเทริดทำจากหินที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกล่าวถึงที่อาจนำไปปฏิสังขรณ์แล้วและอาจไม่ได้ส่งกลับมาก็เป็นได้ นอกจากนี้ยังพบพระพุทธรูปแบบหินทรายปางมารวิชัยแบบเก่าซึ่งพบในแถบพื้นที่ดอนของสามชุก หนองหญ้าไซ และดอนเจดีย์
    ...
    ภาพ วิหารพระอาจารย์ธรรมโชติบนเขาขึ้นหรือเขานางบวช ต่อด้วยเจดีย์ทำจากก้อนหินผสมกับอิฐ ซึ่งมีโพรงด้านใน และพระอุโบสถมีพระพุทธรูปหินทรายปางมารวิชัยที่พบในเขตนี้หลายองค์ ทั้งใบเสมาทำจากหินชนวนแบบวัดหลวงแต่ทำลวดลายที่พบได้ทั่วไปในเขตชัยนาท เมืองสิงห์เก่าและเมืองพรหมเก่า
    เขาขึ้นหรือเขานางบวชและวิหารพระอาจารย์ธรรมโชติ .... ในท้องทุ่งแห่งลุ่มแม่น้ำน้อยมีตำนานเล่าเรื่องวีรชนแห่งบ้านระจันหรือบางระจัน ที่ต้านทัพพม่า ซึ่งเข้ามาล้อมกรุงศรีอยุธยาที่อยู่ทางใต้ไม่ไกลนักได้ถึง ๗ ครั้ง ชาวบ้านบางระจันได้รวมตัวกันต่อสู้รบและเสียชีวิตทั้งหมู่บ้านในครั้งที่ ๘ แม้นักประวัติศาสตร์หลายท่านจะเห็นแย้งและกล่าวว่าทัพพม่าเข้ามาทางบ้านตากนั้นยังคงไม่ถึงกรุงศรีอยุธยา เอกสารที่บันทึกไว้อย่างละเอียดน่าจะเป็นพระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา ที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวน่าจะขยายความและบรรยายอย่างละเอียด โดยมีนำมากล่าวถึงในหนังสือไทยรบพม่าของ สมเด็จพระบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ส่วนพระราชพงศาวดารฉบับอื่นคงบรรยายไว้เพียงไม่มาก ปรากฎชื่อสถานที่ว่า ‘บ้านระจัน’ พระอาจารย์วัดเขานางบวชซึ่งก็หมายถึงพระอาจารย์ธรรมโชติ นายจันเขียว พระยารัตนาธิเบศ . อย่างไรก็ตาม พระราชพงศาวดารและบันทึกคำให้การต่างๆ ล้วนมีการบันทึกเหตุการณ์ที่ชาวบ้านเสียชีวิตทั้งหมด ซึ่งเป็นเหตุการณ์สำคัญและมีส่วนที่เป็นข้อเท็จจริง ส่วนจะมีรายละเอียดอย่างใดนั้น เรื่องเล่าติดที่คือตำนานต่างๆ ถูกสร้างและแต่งเสริมด้วยผู้คนที่เป็นชาวบ้านแห่งท้องทุ่งในลุ่มแม่น้ำน้อยนี้ . น่าสนใจว่า ผู้นำทางจิตวิญญาณที่สำคัญ คือ ‘พระอาจารย์ธรรมโชติ’ แห่งวัดเขานางบวช สุพรรณบุรี นั้นกลายเป็น Culture hero แห่งเขตพื้นที่กลางอันเป็นพื้นที่นครรัฐเจนลีฟูแต่เดิม เมื่อย้อนกลับไปราวห้าร้อยกว่าปีก่อนหน้านั้น . พื้นที่สู้รบนั้นอยู่ตามลำแม่น้ำน้อย ตั้งแต่แขวงเมืองวิเศษไชยชาญจนลงเข้าสู่ผักไห่และตั้งค่ายสำคัญอยู่ที่สีกุก . ส่วนด้านทางเหนือก็เข้าควบคุมพื้นที่ ทำให้ชาวบ้านไปรวมกันแถบรอบวัดโพธิ์เก้าต้น ต่อชาวบ้านไปอาราธนาพระอาจารย์ธรรมโชติจากวัดเขานางบวช ให้ไปช่วยคุ้มครองทำผ้าประเจียด ตะกรุด พิสมร (ตะกรุดรูปแบบหนึ่ง ใช้ร้อยสายไว้ป้องกันอันตราย) แจกจ่ายนักรบชาวบ้าน เล่าสืบต่อมาว่าพระอาจารย์ธรรมโชติ บวชครั้งแรกที่ ‘วัดยาง’ ที่อยู่ฝั่งตรงข้าม ปัจจุบันอยู่ในเขตอำเภอแสวงหา จังหวัดอ่างทอง กับวัดโพธิ์เก้าต้นหรือที่ชาวบ้านเรียกว่า ‘วัดแดง’ เพราะมีดงไม้แดงขึ้นเยอะ ทั้งสองวัดนี้เป็นวัดเก่า เพราะมีวิหารแบบแอ่นท้องสำเภา พระพุทธรูปหินทราย และพระพุทธรูปปูนปั้นประดิษฐานไว้ ก่อนย้ายไปฝึกวิปัสสนากรรมฐานในถ้ำบนยอดเขานางบวช ต่อมาชาวบ้านบางระจันได้อาราธนามาอยู่ ณ วัดโพธิ์เก้าต้น เพื่อเป็นขวัญกำลังใจในการสู้รบ . บริเวณ ‘วัดโพธิ์เก้าต้น’ นี้เป็นย่านชุมชนเก่ามาตั้งแต่สมัยทวารวดีช่วงปลาย แต่อยู่อาศัยกันบางเบาเพราะเป็นเขตที่ต้องใช้ดารเดินทางติดต่อทางน้ำเป็นหลัก [Riverine] เพราะอยู่ไม่ไกลจาก ‘เมืองคูเมือง’ ในตำบลแสวงหา จังหวัดอ่างทอง ที่อยู่ห่างไปราว ๓ กิโลเมตร ซึ่งเป็นหนึ่งในกลุ่มเมืองรูปสี่เหลี่ยมของลุ่มน้ำระหว่างลำสีบัวทองและแม่น้ำน้อย มีการอยู่อาศัยมาตั้งแต่สมัยทวารวดีและยุคลพบุรีหรือราวพุทธศตวรรษที่ ๑๖ - ๑๘ และคงอยู่สืบเนื่องกันต่อเรื่อยมาจนถึงสิ้นกรุงศรีอยุธยา . พอพม่าเข้าตีค่ายบางระจันที่วัดโพธิ์เก้าต้นได้ ใน ‘ไทยรบพม่า’ พระนิพนธ์ของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ก็ว่าชาวบ้านที่เหลือตายหนีไปได้บ้าง พม่าจับเอาไปเป็นเชลยบ้าง แต่พระอาจารย์ธรรมโชตินั้นเลยหายสาบสูญไป จะถึงมรณภาพในเวลาเสียค่ายพม่าหรือหนีรอดไปได้ไม่มีหลักฐานปรากฎ . แต่ในบทความของอาจารย์มนัส โอภากุล เรื่อง พระอาจารย์ธรรมโชติ หายไปไหน? (มนัส โอภากุล. พระอาจารย์ธรรมโชติหายไปไหน? ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๒๗) ใช้ข้อมูลประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจากทายกวัดนางบวช อายุ ๗๕ ปี ใน พ.ศ. ๒๕๒๗ เล่าว่า พระอาจารย์ธรรมโชติกลับมาจำพรรษาที่วัดเขานางบวชตามเดิม โดยคำบอกเล่าของปู่ย่าตายายเล่าว่า เมื่อค่ายบางระจันแตก พระอาจารย์ธรรมโชติหลบหนีมาที่เขานางบวช ทหารก็ไล่ติดตามมาจนมาค้นที่วัดเขานางบวชหาตัวเท่าไหร่ก็ไม่พบ เพราะท่านลงไปหลบในอุโมงค์ภายในวิหารที่ยังปรากฎอยู่จนปัจจุบันที่เคยเป็นที่นั่งวิปัสสนากรรมฐาน เล่ากันว่าภายในมีพื้นที่ให้คนนั่งรวมกันได้ ๕ - ๖ คน ทุกวันนี้ก็ยังปรากฎอยู่.... . ซึ่งเป็นความเชื่อในคุณวิเศษของพระอาจารย์ธรรมโชติ ที่ชาวบ้านทางแถบเดิมบางตลอดไปจนถึงเขาพระ หัวเขาและบ้านกำมะเชียร ในย่านลุ่มน้ำสุพรรณเชื่อถือกันสืบต่อมา . พระวิหารวิปัสสนาที่เขาขึ้นหรือวัดเขานางบวชนั้น เป็นอาคารยาวมุงกระเบื้องกาบกล้วยแบบเก่า ประดิษฐานรอยพระบาท ด้านหลังเป็นโพรงหรืออุโมงค์ลงไปในโพรงแคบๆ ของพระเจดีย์ที่อาจจะเป็นกรุมาแต่ดั้งเดิม (ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็มีพระราชวินิจฉัยเช่นเดียวกัน ไม่ใช่เป็นโพรงถ้ำวิปัสสนามาแต่ก่อน . ‘เขาขึ้น’ หรือ ‘เขานางบวช’ นั้นเป็นหนึ่งในกลุ่มโบราณสถานบนเขาและชุมชนยุคแรกๆ มราเข้ามาตั้งถิ่นฐานในบริเวณนี้ เนื่องจากใกล้ชิดกับชุมชนที่เดิมบางฯ ริมแม่น้ำสุพรรณซึ่งเป็นจุดที่เชื่อมต่อเส้นทางเดินทางสมัยโบราณได้หลายทิศทาง ไม่ว่าจะขึ้นเหนือไปทางลุ่มน้ำสะแกกรังผ่านไปทางลำน้ำปิง ทางลำน้ำมะเขามเฒ่าสู่กลุ่มเมืองทางอู่ตะเภาและพื้นที่ดอนที่ติดต่อกับที่ราบสูงโคราช ทางตะวันตกสู่ลุ่มน้ำสุพรรณ อู่ทองและแม่กลอง และทางใต้ติดต่อกับท้องทุ่งและลำน้ำใหญ่น้อยที่ลงสูากลุ่มละโว้ได้เช่นกัน และมีการอยู่อาศัยต่อเนื่อง จนกลายเป็นแลนด์มาร์กและวัดสำคัญของท้องถิ่น มำตำนานของผู้เข้ามาอยู่อาศัยใหม่ๆ สร้างให้กลายเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น และกลายมาเป็นการสร้างประเพณีสำคัญของท้องถิ่นสืบมาจนถึงปัจจุบัน . เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสขึ้นบนเขานางบวช เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๑ ในพระราชหัตถเลขาบันทึกไว้ว่า . ...ที่บนนั้นมีพระอุโบสถหลังหนึ่ง ห้าห้อง ไม่มีหน้าต่าง ก่อเว้นช่องอย่างวัดพุทไธสวรรย์ แต่ไม่มีหลังคามุงแฝกคลุมไว้ พระที่ตั้งอยู่บนฐานชุกชีเป็นพระพุทธรูปศิลาปั้นปูน ประกอบปิดทอง ผนังโบสถ์ด้านหนึ่งก่อเป็นแท่นเหมือนอาสนสงฆ์ ตั้งพระพุทธรูป เป็นพระยืนขนาดใหญ่ เห็นจะเป็นพระเก่าผีมือดี ๆ อย่างโบราณ สวมเทริด หน้าต่าง ๆ แต่ ชำรุดทั้งสิ้น ได้เชิญให้ลงมาปฏิสังขรณ์ ๔ องค์ ถ้าเสร็จแล้วจะส่งกลับไปไว้ที่เขานั้นบ้าง เสมาใช้ศิลาแผ่นใหญ่ ๆ อย่างเสมาวัดหลวงกรุงเก่า มีกำแพงแก้วรอบไป จนกระทั่งเจดีย์และวิหารด้วย แต่วิหารนั้นเป็นที่น่าสงสัยอยู่ว่า ทำเป็นสองคราว เพราะกระชั้นพระเจดีย์นัก ไม่ได้ไว้ช่อง อีกมีช่องหน้าต่างเล็กสูงเพียงศอกเดียว กว้างกับเศษ ๒ ช่องเท่านั้น ท้ายวิหารจดฐานพระเจดีย์ มีทางเข้าไปในองค์พระเจดีย์ที่กำแพงแก้ว มีพระเจดีย์ประจำมุมเห็นจะมีถึงด้านละ ๔ องค์ พระเจดีย์นั้นก็เป็นพานแว่นฟ้า ๓ ชั้น . เขานางบวชนี้เป็นที่ราษฎรนับถือมาก มีกำหนดขึ้นไหว้กันกลางเดือน ๔ ทุกปี มาแต่หัวเมืองอื่นก็มากใช้เดินทางบกทั้งนั้น... . ลักษณะของเจดีย์ที่สร้างแบบผสมกับหินก้อนใหญ่ๆ ซึ่งมักนิยมสร้างกันเช่นนี้ตามเขาที่มีฐานวิหารและพระเจดีย์บนเขา เช่น ที่บ้านหัวเขาในอำเภอเดิมบางฯ นี้ และแนวเขาพระที่ต่อเนื่องมาจากอู่ทองจนถึงเลาขวัญอีกหลายแห่ง ก็มีลักษณะคล้ายกัน ซึ่งเป็นยุคสมัยแบบลพบุรีหรือในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๖-๑๘ อันเป็นช่วงร่วมสมัยกับกลุ่มนครรัฐเจนลีฟูที่ปรากฎขึ้นในบริเวณนี้ และเป็นรัฐที่นับถือพุทธศาสนาเป็นหลักตามระบุไว้ในจดหมายเหตุจีน . และยังพบฐานแท่นหินทรายขนาดย่อมๆ สำหรับประติมากรรมที่อาจเป็นพระพุทธรูปหรือเทวรูปก็ได้ และพระพุทธรูปยืนสวมเทริดทำจากหินที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกล่าวถึงที่อาจนำไปปฏิสังขรณ์แล้วและอาจไม่ได้ส่งกลับมาก็เป็นได้ นอกจากนี้ยังพบพระพุทธรูปแบบหินทรายปางมารวิชัยแบบเก่าซึ่งพบในแถบพื้นที่ดอนของสามชุก หนองหญ้าไซ และดอนเจดีย์ ... ภาพ วิหารพระอาจารย์ธรรมโชติบนเขาขึ้นหรือเขานางบวช ต่อด้วยเจดีย์ทำจากก้อนหินผสมกับอิฐ ซึ่งมีโพรงด้านใน และพระอุโบสถมีพระพุทธรูปหินทรายปางมารวิชัยที่พบในเขตนี้หลายองค์ ทั้งใบเสมาทำจากหินชนวนแบบวัดหลวงแต่ทำลวดลายที่พบได้ทั่วไปในเขตชัยนาท เมืองสิงห์เก่าและเมืองพรหมเก่า
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 348 มุมมอง 0 รีวิว
  • ผบ.ทบ.แสดงความเสียใจต่อเหตุการณ์กระสุนปืนใหญ่ระเบิดระหว่างยิงสลุตงานอนุสรณ์ดอนเจดีย์ สั่งการให้ดูแลกำลังพลที่ได้รับบาดเจ็บอย่างดีที่สุด

    เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2568 เวลา 08.45 น. ได้เกิดเหตุระเบิดขึ้นระหว่างที่หน่วยกองพันทหารปืนใหญ่ที่ 19 กรมทหารปืนใหญ่ที่ 9 ปฏิบัติภารกิจยิงสลุตในพิธีถวายราชสักการะ พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในงานอนุสรณ์ดอนเจดีย์ ตำบลดอนเจดีย์ อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี โดยกระสุนปืนใหญ่ที่ใช้สำหรับการยิงสลุตซึ่งเป็นกระสุนซ้อมรบได้เกิดระเบิดขึ้นในระหว่างการบรรจุกระสุนเข้ารังเพลิง ทำให้พลประจำปืนได้รับบาดเจ็บจำนวน 2 นาย คือ จ่าสิบเอก ชัยศิลป์ รักชาติ มีบาดแผลฉกรรจ์ทำให้ต้องตัดแขนขวาท่อนล่างรวมถึงกระจกตาได้รับความกระทบกระเทือน ปัจจุบันอยู่ระหว่างการรักษาอาการบาดเจ็บ ณ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า และ จ่าสิบเอก วิชญ์พล ปรางค์ทอง ได้รับบาดเจ็บเล็กน้อย แพทย์อนุญาตให้กลับไปเฝ้าสังเกตอาการที่บ้านได้

    จากเหตุดังกล่าว พลเอก พนา แคล้วปลอดทุกข์ ผู้บัญชาการทหารบก ได้แสดงความเสียใจต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และได้สั่งการให้ระงับการใช้กระสุนล็อตเดียวกับที่เกิดเหตุ โดยให้ตรวจสอบหาสาเหตุของอุบัติเหตุครั้งนี้อย่างเร่งด่วน รวมถึงกำชับให้ผู้บังคับบัญชาหน่วยดูแลกำลังพลที่ได้รับบาดเจ็บอย่างดีที่สุดต่อไป
    ผบ.ทบ.แสดงความเสียใจต่อเหตุการณ์กระสุนปืนใหญ่ระเบิดระหว่างยิงสลุตงานอนุสรณ์ดอนเจดีย์ สั่งการให้ดูแลกำลังพลที่ได้รับบาดเจ็บอย่างดีที่สุด เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2568 เวลา 08.45 น. ได้เกิดเหตุระเบิดขึ้นระหว่างที่หน่วยกองพันทหารปืนใหญ่ที่ 19 กรมทหารปืนใหญ่ที่ 9 ปฏิบัติภารกิจยิงสลุตในพิธีถวายราชสักการะ พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในงานอนุสรณ์ดอนเจดีย์ ตำบลดอนเจดีย์ อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี โดยกระสุนปืนใหญ่ที่ใช้สำหรับการยิงสลุตซึ่งเป็นกระสุนซ้อมรบได้เกิดระเบิดขึ้นในระหว่างการบรรจุกระสุนเข้ารังเพลิง ทำให้พลประจำปืนได้รับบาดเจ็บจำนวน 2 นาย คือ จ่าสิบเอก ชัยศิลป์ รักชาติ มีบาดแผลฉกรรจ์ทำให้ต้องตัดแขนขวาท่อนล่างรวมถึงกระจกตาได้รับความกระทบกระเทือน ปัจจุบันอยู่ระหว่างการรักษาอาการบาดเจ็บ ณ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า และ จ่าสิบเอก วิชญ์พล ปรางค์ทอง ได้รับบาดเจ็บเล็กน้อย แพทย์อนุญาตให้กลับไปเฝ้าสังเกตอาการที่บ้านได้ จากเหตุดังกล่าว พลเอก พนา แคล้วปลอดทุกข์ ผู้บัญชาการทหารบก ได้แสดงความเสียใจต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และได้สั่งการให้ระงับการใช้กระสุนล็อตเดียวกับที่เกิดเหตุ โดยให้ตรวจสอบหาสาเหตุของอุบัติเหตุครั้งนี้อย่างเร่งด่วน รวมถึงกำชับให้ผู้บังคับบัญชาหน่วยดูแลกำลังพลที่ได้รับบาดเจ็บอย่างดีที่สุดต่อไป
    Sad
    Like
    5
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 315 มุมมอง 0 รีวิว
  • 433 ปี ยุทธหัตถีหนองสาหร่าย ศึกแห่งเกียรติยศขององค์ดำ-องค์ขาว 🇹🇭🐘

    ย้อนไปเมื่อ 433 ปี ที่ผ่านมา วันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2135 เป็นวันที่ประวัติศาสตร์ไทย ต้องจารึกไว้ด้วยความภาคภูมิใจ นั่นคือเหตุการณ์ “ยุทธหัตถีหนองสาหร่าย” ที่แสดงถึงความกล้าหาญ และพระปรีชาสามารถ ของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช (พระองค์ดำ) และสมเด็จพระเอกาทศรถ (พระองค์ขาว) ในการต่อสู้กับทัพพม่า ณ ตำบลหนองสาหร่าย อำเภอดอนเจดีย์ จังหวัดสุพรรณบุรี

    สงครามครั้งนี้ ไม่ได้เป็นเพียงการต่อสู้ เพื่ออาณาจักรเท่านั้น แต่ยังเป็นการแสดงถึง ศักดิ์ศรีของพระมหากษัตริย์ไทย ผู้ยอมเสี่ยงชีวิต เพื่อปกป้องผืนแผ่นดิน และประชาชนชาวไทย การยุทธหัตถีครั้งนี้ ไม่เพียงเป็นชัยชนะที่ยิ่งใหญ่ แต่ยังกลายเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ที่ยังคงมีการเล่าขาน และรำลึกถึงจนถึงทุกวันนี้

    สงครามบนหลังช้างที่สะท้อนศักดิ์ศรี
    ยุทธหัตถี หมายถึง การทำสงครามบนหลังช้าง โดยผู้บัญชาการสูงสุด ของกองทัพทั้งสองฝ่าย จะเผชิญหน้ากันบนหลังช้างศึก เป็นการต่อสู้ ที่ต้องอาศัยทั้งความสามารถ การฝึกฝน ความกล้าหาญของกษัตริย์ และช้างศึก การชนช้างนี้ถือว่า เป็นการทำศึกที่มีเกียรติยศ และเป็นที่ยอมรับ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะในประเทศไทย พม่า และกัมพูชา

    ในยุคโบราณ ช้างถือว่าเป็นสัตว์คู่บารมี ของพระมหากษัตริย์ และเป็นสัญลักษณ์ของความยิ่งใหญ่ การทำยุทธหัตถี จึงไม่เพียงแต่เป็นการต่อสู้ เพื่อชัยชนะทางการทหารเท่านั้น แต่ยังแสดงถึงความกล้าหาญและความสามารถของผู้ปกครอง ที่นำทัพด้วยตัวเอง

    สงครามยุทธหัตถีในปี พ.ศ. 2135 มีต้นเหตุจากการที่กรุงหงสาวดี (พม่า) มีความต้องการ จะยึดครองกรุงศรีอยุธยา พระเจ้านันทบุเรง ผู้ปกครองหงสาวดีในเวลานั้น จึงส่งกองทัพใหญ่กว่า 240,000 นาย นำโดย พระมหาอุปราชา (มังสามเกียด) และมางจาชโร เจ้าเมืองจาปะโร เข้ารุกรานกรุงศรีอยุธยา

    พระองค์ดำทรงทราบถึง การเคลื่อนทัพของพม่า จึงทรงระดมกำลังพลหนึ่งแสนนาย และเตรียมการป้องกันเมือง พร้อมกับทรงออกคำประกาศอิสรภาพที่เมืองแครง ในปี พ.ศ. 2127 ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้น ของการต่อต้านการปกครองของพม่า อย่างเต็มตัว

    เมื่อกองทัพของมังสามเกียด เคลื่อนมาถึงสุพรรณบุรี พระองค์ดำทรงนำทัพหลวงไปตั้งค่าย ที่ตำบลหนองสาหร่าย พร้อมกับพระองค์ขาว

    เช้าวันจันทร์ แรม 2 ค่ำ เดือนยี่ ปีมะโรง องค์ดำและองค์ขาว ทรงเครื่องพิชัยยุทธเต็มยศ พร้อมด้วยช้างศึกทรง 2 เชือก คือ

    เจ้าพระยาไชยานุภาพ (พลายภูเขาทอง) ช้างทรงของพระองค์ดำ
    เจ้าพระยาปราบไตรจักร (พลายบุญเรือง) ช้างทรงของพระองค์ขาว

    ทั้งสองพระองค์ทรงนำช้างศึกเข้าสู่สนามรบ แต่ระหว่างที่เคลื่อนทัพเกิดความวุ่นวาย ทำให้ช้างทรงของทั้งสองพระองค์ หลุดเข้าไปในวงล้อมของทัพพม่า และเผชิญหน้ากับมังสามเกียด และมางจาชโร โดยตรง

    เผชิญหน้าบนหลังช้าง
    พระองค์ดำทรงเรียกท้ามังสามเกียด ซึ่งสนิทสนมกันตั้งแต่วัยพระเยาว์ เมื่อครั้งองค์ดำ ทรงเป็นองค์ประกัน อยู่ที่กรุงหงสาวดี ให้มาทำยุทธหัตถี ด้วยพระดำรัส ที่แสดงถึงความองอาจว่า

    “พระเจ้าพี่เรา จะยืนอยู่ใยในร่มไม้เล่า เชิญออกมาทำยุทธหัตถีด้วยกัน ให้เป็นเกียรติยศไว้ในแผ่นดินเถิด”

    มังสามเกียดจึงไสช้าง เข้าชนเจ้าพระยาไชยานุภาพ เกิดการต่อสู้ที่ดุเดือด เมื่อถึงจังหวะสำคัญ พระองค์ดำทรงใช้พระแสงของ้าวแสนพลพ่าย ฟันเข้าที่พระอังสะขวา ของมังสามเกียด จนสิ้นพระชนม์บนหลังช้าง

    ในขณะเดียวกัน พระองค์ขาวทรงฟันมางจาชโร จนสิ้นพระชนม์บนหลังช้างเช่นกัน เป็นการปิดฉาก ศึกยุทธหัตถีอันยิ่งใหญ่

    ชัยชนะของพระองค์ดำ ในยุทธหัตถีครั้งนี้ ทำให้กรุงศรีอยุธยา สามารถรักษาเอกราชไว้ได้ และสร้างความเกรงขามให้แก่กรุงหงสาวดี จนไม่มีการรุกรานอีก เป็นเวลาหลายปี

    หลังสงคราม พระเจ้านันทบุเรงทรงเสียพระทัยอย่างยิ่ง ที่ต้องสูญเสียพระราชโอรสไป ในศึกครั้งนี้ และกรุงศรีอยุธยาก็ได้สร้าง พระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์ เพื่อรำลึกถึงเหตุการณ์อันสำคัญนี้

    ความสำคัญของยุทธหัตถี ในประวัติศาสตร์ไทย
    สัญลักษณ์ของเอกราช ยุทธหัตถีครั้งนี้ เป็นเหตุการณ์ที่สะท้อนถึง ความสามัคคีและการต่อสู้ เพื่อปกป้องอธิปไตยของชาติ

    พระปรีชาสามารถของกษัตริย์ไทย สมเด็จพระนเรศวร และสมเด็จพระเอกาทศรถ ได้ทรงแสดงให้เห็นถึงความกล้าหาญ และพระปรีชาสามารถในการนำทัพ

    มรดกทางวัฒนธรรม การยุทธหัตถีได้กลายเป็นตำนาน ที่มีการเล่าขาน และเป็นแรงบันดาลใจในงานศิลปะ วรรณกรรม และภาพยนตร์

    คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับยุทธหัตถี
    1. ยุทธหัตถีเกิดขึ้นที่ไหน?
    ยุทธหัตถีเกิดขึ้นที่ตำบลหนองสาหร่าย อำเภอดอนเจดีย์ จังหวัดสุพรรณบุรี

    2. ช้างศึกคืออะไร?
    ช้างศึกคือช้างที่ได้รับการฝึกฝน เพื่อใช้ในการทำสงคราม มีลักษณะเด่นตามตำราคชลักษณ์

    3. ทำไมยุทธหัตถีถึงมีเกียรติ?
    เพราะเป็นการต่อสู้ ระหว่างกษัตริย์ทั้งสองฝ่าย อย่างตรงไปตรงมา และแสดงถึงความกล้าหาญ

    ยุทธหัตถีหนองสาหร่ายในปี พ.ศ. 2135 เป็นสงครามที่แสดงถึงความกล้าหาญ และพระปรีชาสามารถ ของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และสมเด็จพระเอกาทศรถ ซึ่งทำให้กรุงศรีอยุธยา สามารถรักษาเอกราช และศักดิ์ศรีของชาติไว้ได้

    เหตุการณ์นี้ ยังคงเป็นแรงบันดาลใจให้แก่คนไทย ในการต่อสู้เพื่อสิ่งที่ถูกต้อง และรักษาเกียรติภูมิของตน

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 180833 ม.ค. 2568

    #สมเด็จพระนเรศวร #ยุทธหัตถี #ประวัติศาสตร์ไทย #สงครามชนช้าง #กรุงศรีอยุธยา #ดอนเจดีย์ #หงสาวดี #ชาติไทย #วีรกรรมไทย #สงครามไทย

    🎉
    433 ปี ยุทธหัตถีหนองสาหร่าย ศึกแห่งเกียรติยศขององค์ดำ-องค์ขาว 🇹🇭🐘 ย้อนไปเมื่อ 433 ปี ที่ผ่านมา วันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2135 เป็นวันที่ประวัติศาสตร์ไทย ต้องจารึกไว้ด้วยความภาคภูมิใจ นั่นคือเหตุการณ์ “ยุทธหัตถีหนองสาหร่าย” ที่แสดงถึงความกล้าหาญ และพระปรีชาสามารถ ของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช (พระองค์ดำ) และสมเด็จพระเอกาทศรถ (พระองค์ขาว) ในการต่อสู้กับทัพพม่า ณ ตำบลหนองสาหร่าย อำเภอดอนเจดีย์ จังหวัดสุพรรณบุรี สงครามครั้งนี้ ไม่ได้เป็นเพียงการต่อสู้ เพื่ออาณาจักรเท่านั้น แต่ยังเป็นการแสดงถึง ศักดิ์ศรีของพระมหากษัตริย์ไทย ผู้ยอมเสี่ยงชีวิต เพื่อปกป้องผืนแผ่นดิน และประชาชนชาวไทย การยุทธหัตถีครั้งนี้ ไม่เพียงเป็นชัยชนะที่ยิ่งใหญ่ แต่ยังกลายเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ที่ยังคงมีการเล่าขาน และรำลึกถึงจนถึงทุกวันนี้ สงครามบนหลังช้างที่สะท้อนศักดิ์ศรี ยุทธหัตถี หมายถึง การทำสงครามบนหลังช้าง โดยผู้บัญชาการสูงสุด ของกองทัพทั้งสองฝ่าย จะเผชิญหน้ากันบนหลังช้างศึก เป็นการต่อสู้ ที่ต้องอาศัยทั้งความสามารถ การฝึกฝน ความกล้าหาญของกษัตริย์ และช้างศึก การชนช้างนี้ถือว่า เป็นการทำศึกที่มีเกียรติยศ และเป็นที่ยอมรับ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะในประเทศไทย พม่า และกัมพูชา ในยุคโบราณ ช้างถือว่าเป็นสัตว์คู่บารมี ของพระมหากษัตริย์ และเป็นสัญลักษณ์ของความยิ่งใหญ่ การทำยุทธหัตถี จึงไม่เพียงแต่เป็นการต่อสู้ เพื่อชัยชนะทางการทหารเท่านั้น แต่ยังแสดงถึงความกล้าหาญและความสามารถของผู้ปกครอง ที่นำทัพด้วยตัวเอง สงครามยุทธหัตถีในปี พ.ศ. 2135 มีต้นเหตุจากการที่กรุงหงสาวดี (พม่า) มีความต้องการ จะยึดครองกรุงศรีอยุธยา พระเจ้านันทบุเรง ผู้ปกครองหงสาวดีในเวลานั้น จึงส่งกองทัพใหญ่กว่า 240,000 นาย นำโดย พระมหาอุปราชา (มังสามเกียด) และมางจาชโร เจ้าเมืองจาปะโร เข้ารุกรานกรุงศรีอยุธยา พระองค์ดำทรงทราบถึง การเคลื่อนทัพของพม่า จึงทรงระดมกำลังพลหนึ่งแสนนาย และเตรียมการป้องกันเมือง พร้อมกับทรงออกคำประกาศอิสรภาพที่เมืองแครง ในปี พ.ศ. 2127 ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้น ของการต่อต้านการปกครองของพม่า อย่างเต็มตัว เมื่อกองทัพของมังสามเกียด เคลื่อนมาถึงสุพรรณบุรี พระองค์ดำทรงนำทัพหลวงไปตั้งค่าย ที่ตำบลหนองสาหร่าย พร้อมกับพระองค์ขาว เช้าวันจันทร์ แรม 2 ค่ำ เดือนยี่ ปีมะโรง องค์ดำและองค์ขาว ทรงเครื่องพิชัยยุทธเต็มยศ พร้อมด้วยช้างศึกทรง 2 เชือก คือ เจ้าพระยาไชยานุภาพ (พลายภูเขาทอง) ช้างทรงของพระองค์ดำ เจ้าพระยาปราบไตรจักร (พลายบุญเรือง) ช้างทรงของพระองค์ขาว ทั้งสองพระองค์ทรงนำช้างศึกเข้าสู่สนามรบ แต่ระหว่างที่เคลื่อนทัพเกิดความวุ่นวาย ทำให้ช้างทรงของทั้งสองพระองค์ หลุดเข้าไปในวงล้อมของทัพพม่า และเผชิญหน้ากับมังสามเกียด และมางจาชโร โดยตรง เผชิญหน้าบนหลังช้าง พระองค์ดำทรงเรียกท้ามังสามเกียด ซึ่งสนิทสนมกันตั้งแต่วัยพระเยาว์ เมื่อครั้งองค์ดำ ทรงเป็นองค์ประกัน อยู่ที่กรุงหงสาวดี ให้มาทำยุทธหัตถี ด้วยพระดำรัส ที่แสดงถึงความองอาจว่า “พระเจ้าพี่เรา จะยืนอยู่ใยในร่มไม้เล่า เชิญออกมาทำยุทธหัตถีด้วยกัน ให้เป็นเกียรติยศไว้ในแผ่นดินเถิด” มังสามเกียดจึงไสช้าง เข้าชนเจ้าพระยาไชยานุภาพ เกิดการต่อสู้ที่ดุเดือด เมื่อถึงจังหวะสำคัญ พระองค์ดำทรงใช้พระแสงของ้าวแสนพลพ่าย ฟันเข้าที่พระอังสะขวา ของมังสามเกียด จนสิ้นพระชนม์บนหลังช้าง ในขณะเดียวกัน พระองค์ขาวทรงฟันมางจาชโร จนสิ้นพระชนม์บนหลังช้างเช่นกัน เป็นการปิดฉาก ศึกยุทธหัตถีอันยิ่งใหญ่ ชัยชนะของพระองค์ดำ ในยุทธหัตถีครั้งนี้ ทำให้กรุงศรีอยุธยา สามารถรักษาเอกราชไว้ได้ และสร้างความเกรงขามให้แก่กรุงหงสาวดี จนไม่มีการรุกรานอีก เป็นเวลาหลายปี หลังสงคราม พระเจ้านันทบุเรงทรงเสียพระทัยอย่างยิ่ง ที่ต้องสูญเสียพระราชโอรสไป ในศึกครั้งนี้ และกรุงศรีอยุธยาก็ได้สร้าง พระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์ เพื่อรำลึกถึงเหตุการณ์อันสำคัญนี้ ความสำคัญของยุทธหัตถี ในประวัติศาสตร์ไทย สัญลักษณ์ของเอกราช ยุทธหัตถีครั้งนี้ เป็นเหตุการณ์ที่สะท้อนถึง ความสามัคคีและการต่อสู้ เพื่อปกป้องอธิปไตยของชาติ พระปรีชาสามารถของกษัตริย์ไทย สมเด็จพระนเรศวร และสมเด็จพระเอกาทศรถ ได้ทรงแสดงให้เห็นถึงความกล้าหาญ และพระปรีชาสามารถในการนำทัพ มรดกทางวัฒนธรรม การยุทธหัตถีได้กลายเป็นตำนาน ที่มีการเล่าขาน และเป็นแรงบันดาลใจในงานศิลปะ วรรณกรรม และภาพยนตร์ คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับยุทธหัตถี 1. ยุทธหัตถีเกิดขึ้นที่ไหน? ยุทธหัตถีเกิดขึ้นที่ตำบลหนองสาหร่าย อำเภอดอนเจดีย์ จังหวัดสุพรรณบุรี 2. ช้างศึกคืออะไร? ช้างศึกคือช้างที่ได้รับการฝึกฝน เพื่อใช้ในการทำสงคราม มีลักษณะเด่นตามตำราคชลักษณ์ 3. ทำไมยุทธหัตถีถึงมีเกียรติ? เพราะเป็นการต่อสู้ ระหว่างกษัตริย์ทั้งสองฝ่าย อย่างตรงไปตรงมา และแสดงถึงความกล้าหาญ ยุทธหัตถีหนองสาหร่ายในปี พ.ศ. 2135 เป็นสงครามที่แสดงถึงความกล้าหาญ และพระปรีชาสามารถ ของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และสมเด็จพระเอกาทศรถ ซึ่งทำให้กรุงศรีอยุธยา สามารถรักษาเอกราช และศักดิ์ศรีของชาติไว้ได้ เหตุการณ์นี้ ยังคงเป็นแรงบันดาลใจให้แก่คนไทย ในการต่อสู้เพื่อสิ่งที่ถูกต้อง และรักษาเกียรติภูมิของตน ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 180833 ม.ค. 2568 #สมเด็จพระนเรศวร #ยุทธหัตถี #ประวัติศาสตร์ไทย #สงครามชนช้าง #กรุงศรีอยุธยา #ดอนเจดีย์ #หงสาวดี #ชาติไทย #วีรกรรมไทย #สงครามไทย 🎉
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 808 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,570
    วันพุธ: ขึ้น ๖ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง
    วันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (6 November 2024)

    Photo Album Set 1/2
    ทอดกฐินสามัคคี 20 วัด เป็นเงิน 400 บาท
    01. วัดภูมิขนุน อ.สังขะ จ.สุรินทร์
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    02. วัดมงคลนิมิตร อ.บางเสาธง จ.สมุทรปราการ
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    03. วัดรังสิต อ.เมือง จ.ปทุมธานี
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    04. วัดร่ำเปิง (ตโปทาราม) อ.เมือง จ.เชียงใหม่
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    05. วัดไร่รถ อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    06. วัดลาดชะโด อ.ผักไห่ จ.พระนครศรีอยุธยา
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    07. วัดลำป่าสักมูล อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    08. วัดเลิศดุสิตาราม อ.ปากท่อ จ.ราชบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    09. วัดวังกุ่ม อ.เมือง จ.กาญจนบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    10. วัดศรีนวรัฐ อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 98 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,570 วันพุธ: ขึ้น ๖ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง วันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (6 November 2024) Photo Album Set 1/2 ทอดกฐินสามัคคี 20 วัด เป็นเงิน 400 บาท 01. วัดภูมิขนุน อ.สังขะ จ.สุรินทร์ (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 02. วัดมงคลนิมิตร อ.บางเสาธง จ.สมุทรปราการ (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 03. วัดรังสิต อ.เมือง จ.ปทุมธานี (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 04. วัดร่ำเปิง (ตโปทาราม) อ.เมือง จ.เชียงใหม่ (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 05. วัดไร่รถ อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 06. วัดลาดชะโด อ.ผักไห่ จ.พระนครศรีอยุธยา (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 07. วัดลำป่าสักมูล อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์ (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 08. วัดเลิศดุสิตาราม อ.ปากท่อ จ.ราชบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 09. วัดวังกุ่ม อ.เมือง จ.กาญจนบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 10. วัดศรีนวรัฐ อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่ (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 98 วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 469 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,570
    วันพุธ: ขึ้น ๖ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง
    วันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (6 November 2024)

    Photo Album Set 1/2
    ทอดกฐินสามัคคี 20 วัด เป็นเงิน 400 บาท
    01. วัดภูมิขนุน อ.สังขะ จ.สุรินทร์
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    02. วัดมงคลนิมิตร อ.บางเสาธง จ.สมุทรปราการ
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    03. วัดรังสิต อ.เมือง จ.ปทุมธานี
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    04. วัดร่ำเปิง (ตโปทาราม) อ.เมือง จ.เชียงใหม่
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    05. วัดไร่รถ อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    06. วัดลาดชะโด อ.ผักไห่ จ.พระนครศรีอยุธยา
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    07. วัดลำป่าสักมูล อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    08. วัดเลิศดุสิตาราม อ.ปากท่อ จ.ราชบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    09. วัดวังกุ่ม อ.เมือง จ.กาญจนบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    10. วัดศรีนวรัฐ อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 98 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,570 วันพุธ: ขึ้น ๖ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง วันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ (6 November 2024) Photo Album Set 1/2 ทอดกฐินสามัคคี 20 วัด เป็นเงิน 400 บาท 01. วัดภูมิขนุน อ.สังขะ จ.สุรินทร์ (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 02. วัดมงคลนิมิตร อ.บางเสาธง จ.สมุทรปราการ (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 03. วัดรังสิต อ.เมือง จ.ปทุมธานี (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 04. วัดร่ำเปิง (ตโปทาราม) อ.เมือง จ.เชียงใหม่ (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 05. วัดไร่รถ อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 06. วัดลาดชะโด อ.ผักไห่ จ.พระนครศรีอยุธยา (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 07. วัดลำป่าสักมูล อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์ (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 08. วัดเลิศดุสิตาราม อ.ปากท่อ จ.ราชบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 09. วัดวังกุ่ม อ.เมือง จ.กาญจนบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 10. วัดศรีนวรัฐ อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่ (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 98 วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 460 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,560
    วันอาทิตย์: แรม ๑๐ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๖๗ (27 October 2024)

    Photo Album Set 3/3
    ทอดกฐินสามัคคี 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท
    21. วัดซับสมบูรณ์ อ.วิเชียรบุรี จ.เพชรบูรณ์
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    22. วัดดงขวาง อ.หนองขาหย่าง จ.อุทัยธานี
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    23 วัดดาวดึงษ์ อ.เมือง จ.ปทุมธานี
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    24. วัดดอนมะนาว อ.สองพี่น้อง จ.สุพรรณบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    25. วัดตะเข้ เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    26. วัดถ้ำเขาสวนกวาง อ.เมือง จ.ราชบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    27. วัดถ้ำผาวังจันทร์ อ.บ่อพลอย จ.กาญจนบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    28. วัดทอง อ.บางปะหัน จ.พระนครศรีอยุธยา
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    29. วัดท่ากุ่ม อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    30. วัดแทนวันดีเจริญสุข อ.บางขุนเทียน กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 108 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,560 วันอาทิตย์: แรม ๑๐ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๖๗ (27 October 2024) Photo Album Set 3/3 ทอดกฐินสามัคคี 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท 21. วัดซับสมบูรณ์ อ.วิเชียรบุรี จ.เพชรบูรณ์ (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 22. วัดดงขวาง อ.หนองขาหย่าง จ.อุทัยธานี (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 23 วัดดาวดึงษ์ อ.เมือง จ.ปทุมธานี (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 24. วัดดอนมะนาว อ.สองพี่น้อง จ.สุพรรณบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 25. วัดตะเข้ เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 26. วัดถ้ำเขาสวนกวาง อ.เมือง จ.ราชบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 27. วัดถ้ำผาวังจันทร์ อ.บ่อพลอย จ.กาญจนบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 28. วัดทอง อ.บางปะหัน จ.พระนครศรีอยุธยา (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 29. วัดท่ากุ่ม อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 30. วัดแทนวันดีเจริญสุข อ.บางขุนเทียน กรุงเทพฯ (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 108 วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 297 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,560
    วันอาทิตย์: แรม ๑๐ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๖๗ (27 October 2024)

    Photo Album Set 3/3
    ทอดกฐินสามัคคี 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท
    21. วัดซับสมบูรณ์ อ.วิเชียรบุรี จ.เพชรบูรณ์
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    22. วัดดงขวาง อ.หนองขาหย่าง จ.อุทัยธานี
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    23 วัดดาวดึงษ์ อ.เมือง จ.ปทุมธานี
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    24. วัดดอนมะนาว อ.สองพี่น้อง จ.สุพรรณบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    25. วัดตะเข้ เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    26. วัดถ้ำเขาสวนกวาง อ.เมือง จ.ราชบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    27. วัดถ้ำผาวังจันทร์ อ.บ่อพลอย จ.กาญจนบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    28. วัดทอง อ.บางปะหัน จ.พระนครศรีอยุธยา
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    29. วัดท่ากุ่ม อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    30. วัดแทนวันดีเจริญสุข อ.บางขุนเทียน กรุงเทพฯ
    (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 108 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,560 วันอาทิตย์: แรม ๑๐ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๖๗ (27 October 2024) Photo Album Set 3/3 ทอดกฐินสามัคคี 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท 21. วัดซับสมบูรณ์ อ.วิเชียรบุรี จ.เพชรบูรณ์ (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 22. วัดดงขวาง อ.หนองขาหย่าง จ.อุทัยธานี (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 23 วัดดาวดึงษ์ อ.เมือง จ.ปทุมธานี (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 24. วัดดอนมะนาว อ.สองพี่น้อง จ.สุพรรณบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 25. วัดตะเข้ เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 26. วัดถ้ำเขาสวนกวาง อ.เมือง จ.ราชบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 27. วัดถ้ำผาวังจันทร์ อ.บ่อพลอย จ.กาญจนบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 28. วัดทอง อ.บางปะหัน จ.พระนครศรีอยุธยา (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 29. วัดท่ากุ่ม อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) 30. วัดแทนวันดีเจริญสุข อ.บางขุนเทียน กรุงเทพฯ (ทอดกฐินสามัคคี 03 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 108 วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 277 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,553
    วันอาทิตย์: แรม ๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๖๗ (20 October 2024)

    Photo Album 2/5
    ทอดกฐินสามัคคี 50 วัด เป็นเงิน 1,000 บาท
    11. วัดสันต้นแฟน อ.เมือง จ.เชียงราย
    (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67)
    12. วัดสามบัณฑิต อ.อุทัย จ.พระนครศรีอยุธยา
    (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67)
    13. วัดสุทธาวาส อ.บัวใหญ่ จ.นครราชสีมา
    (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67)
    14. วัดสุนทรสถิต อ.บ้านแพ้ว จ.สมุทรสาคร
    (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67)
    15. วัดเสาธงทอง อ.ศรีประจันต์ จ.สุพรรณบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67)
    16. วัดโสธรนิมิตต์ อ.เมือง จ.สมุทรปราการ
    (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67)
    17. วัดหนองโกสูง อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67)
    18. วัดหนองผือ อ.พยัคฆภูมิพิสัย จ.มหาสารคาม
    (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67)
    19. วัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67)
    20. วัดห้วยขมิ้น อ.หนองแค จ.สระบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๑๕ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,553 วันอาทิตย์: แรม ๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๖๗ (20 October 2024) Photo Album 2/5 ทอดกฐินสามัคคี 50 วัด เป็นเงิน 1,000 บาท 11. วัดสันต้นแฟน อ.เมือง จ.เชียงราย (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67) 12. วัดสามบัณฑิต อ.อุทัย จ.พระนครศรีอยุธยา (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67) 13. วัดสุทธาวาส อ.บัวใหญ่ จ.นครราชสีมา (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67) 14. วัดสุนทรสถิต อ.บ้านแพ้ว จ.สมุทรสาคร (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67) 15. วัดเสาธงทอง อ.ศรีประจันต์ จ.สุพรรณบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67) 16. วัดโสธรนิมิตต์ อ.เมือง จ.สมุทรปราการ (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67) 17. วัดหนองโกสูง อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67) 18. วัดหนองผือ อ.พยัคฆภูมิพิสัย จ.มหาสารคาม (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67) 19. วัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67) 20. วัดห้วยขมิ้น อ.หนองแค จ.สระบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๑๕ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 322 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,553
    วันอาทิตย์: แรม ๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๖๗ (20 October 2024)

    Photo Album 2/5
    ทอดกฐินสามัคคี 50 วัด เป็นเงิน 1,000 บาท
    11. วัดสันต้นแฟน อ.เมือง จ.เชียงราย
    (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67)
    12. วัดสามบัณฑิต อ.อุทัย จ.พระนครศรีอยุธยา
    (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67)
    13. วัดสุทธาวาส อ.บัวใหญ่ จ.นครราชสีมา
    (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67)
    14. วัดสุนทรสถิต อ.บ้านแพ้ว จ.สมุทรสาคร
    (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67)
    15. วัดเสาธงทอง อ.ศรีประจันต์ จ.สุพรรณบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67)
    16. วัดโสธรนิมิตต์ อ.เมือง จ.สมุทรปราการ
    (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67)
    17. วัดหนองโกสูง อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67)
    18. วัดหนองผือ อ.พยัคฆภูมิพิสัย จ.มหาสารคาม
    (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67)
    19. วัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67)
    20. วัดห้วยขมิ้น อ.หนองแค จ.สระบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๑๕ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,553 วันอาทิตย์: แรม ๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๖๗ (20 October 2024) Photo Album 2/5 ทอดกฐินสามัคคี 50 วัด เป็นเงิน 1,000 บาท 11. วัดสันต้นแฟน อ.เมือง จ.เชียงราย (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67) 12. วัดสามบัณฑิต อ.อุทัย จ.พระนครศรีอยุธยา (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67) 13. วัดสุทธาวาส อ.บัวใหญ่ จ.นครราชสีมา (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67) 14. วัดสุนทรสถิต อ.บ้านแพ้ว จ.สมุทรสาคร (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67) 15. วัดเสาธงทอง อ.ศรีประจันต์ จ.สุพรรณบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67) 16. วัดโสธรนิมิตต์ อ.เมือง จ.สมุทรปราการ (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67) 17. วัดหนองโกสูง อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67) 18. วัดหนองผือ อ.พยัคฆภูมิพิสัย จ.มหาสารคาม (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67) 19. วัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67) 20. วัดห้วยขมิ้น อ.หนองแค จ.สระบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 20 ต.ค.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๑๕ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 296 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,547
    วันจันทร์: ขึ้น ๑๒ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๖๗ (14 October 2024)

    รายการทำบุญ (Photo Album) ชุดที่ 3/3
    ทอดกฐินสามัคคี 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท
    21. วัดสุทธาวาส อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    22. วัดสุภาษิตาราม อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    23. วัดหนองน้ำขุ่น อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    24. วัดหนองน้ำแดง อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    25. วัดหนองพรมหน่อ อ.โกรกพระ จ.นครสวรรค์
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    26. วัดหนองม่วง อ.ด่านช้าง จ.สุพรรณบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    27. วัดหนองมะค่า อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    28. วัดหนองหมู อ.พยุหะคีรี จ.นครสวรรค์
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    29. วัดหนองใหญ่ศิริธรรม อ.หนองใหญ่ จ.ชลบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    30. วัดห้วยยางราษฎร์บำรุง อ.เมือง จ.ชัยภูมิ
    (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๒๑ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,547 วันจันทร์: ขึ้น ๑๒ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๖๗ (14 October 2024) รายการทำบุญ (Photo Album) ชุดที่ 3/3 ทอดกฐินสามัคคี 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท 21. วัดสุทธาวาส อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 22. วัดสุภาษิตาราม อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 23. วัดหนองน้ำขุ่น อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 24. วัดหนองน้ำแดง อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 25. วัดหนองพรมหน่อ อ.โกรกพระ จ.นครสวรรค์ (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 26. วัดหนองม่วง อ.ด่านช้าง จ.สุพรรณบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 27. วัดหนองมะค่า อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 28. วัดหนองหมู อ.พยุหะคีรี จ.นครสวรรค์ (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 29. วัดหนองใหญ่ศิริธรรม อ.หนองใหญ่ จ.ชลบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) 30. วัดห้วยยางราษฎร์บำรุง อ.เมือง จ.ชัยภูมิ (ทอดกฐินสามัคคี 10 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๒๑ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 204 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,535
    วันพระ: แรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๖๗ (2 October 2024)

    Photo Album 1/3
    ทอดกฐินสามัคคี 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท
    01. วัดจั่นเสือ อ.บ้านหมอ จ.สระบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    02. วัดแจ่มราษฎร์ศรัทธาธรรม อ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    03. วัดชัยสิทธาวาส อ.สามโคก จ.ปทุมธานี
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    04. วัดด่านเกวียน อ.โนนสูง นครราชสีมา
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    05. วัดตรีวิสุทธิธรรม อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    06. วัดตะโหนดราย อ.บางคนที จ.สมุทรปราการ
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    07. วัดถ้ำกลองเพล อ.เมือง จ.หนองบัวลำภู
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    08. วัดถ้ำตะเพียนทอง อ.พัฒนานิคม จ.ลพบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    09. วัดทองรำไพ อ.พระสมุทรเจดีย์ จ.สมุทรปราการ
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    10. วัดเทพกุญชรวราราม อ.เมือง จ.ลพบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๓ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,535 วันพระ: แรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๖๗ (2 October 2024) Photo Album 1/3 ทอดกฐินสามัคคี 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท 01. วัดจั่นเสือ อ.บ้านหมอ จ.สระบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) 02. วัดแจ่มราษฎร์ศรัทธาธรรม อ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) 03. วัดชัยสิทธาวาส อ.สามโคก จ.ปทุมธานี (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) 04. วัดด่านเกวียน อ.โนนสูง นครราชสีมา (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) 05. วัดตรีวิสุทธิธรรม อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) 06. วัดตะโหนดราย อ.บางคนที จ.สมุทรปราการ (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) 07. วัดถ้ำกลองเพล อ.เมือง จ.หนองบัวลำภู (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) 08. วัดถ้ำตะเพียนทอง อ.พัฒนานิคม จ.ลพบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) 09. วัดทองรำไพ อ.พระสมุทรเจดีย์ จ.สมุทรปราการ (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) 10. วัดเทพกุญชรวราราม อ.เมือง จ.ลพบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๓ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 190 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,535
    วันพระ: แรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๖๗ (2 October 2024)

    Photo Album 1/3
    ทอดกฐินสามัคคี 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท
    01. วัดจั่นเสือ อ.บ้านหมอ จ.สระบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    02. วัดแจ่มราษฎร์ศรัทธาธรรม อ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    03. วัดชัยสิทธาวาส อ.สามโคก จ.ปทุมธานี
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    04. วัดด่านเกวียน อ.โนนสูง นครราชสีมา
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    05. วัดตรีวิสุทธิธรรม อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    06. วัดตะโหนดราย อ.บางคนที จ.สมุทรปราการ
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    07. วัดถ้ำกลองเพล อ.เมือง จ.หนองบัวลำภู
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    08. วัดถ้ำตะเพียนทอง อ.พัฒนานิคม จ.ลพบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    09. วัดทองรำไพ อ.พระสมุทรเจดีย์ จ.สมุทรปราการ
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    10. วัดเทพกุญชรวราราม อ.เมือง จ.ลพบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๓ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,535 วันพระ: แรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๖๗ (2 October 2024) Photo Album 1/3 ทอดกฐินสามัคคี 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท 01. วัดจั่นเสือ อ.บ้านหมอ จ.สระบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) 02. วัดแจ่มราษฎร์ศรัทธาธรรม อ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) 03. วัดชัยสิทธาวาส อ.สามโคก จ.ปทุมธานี (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) 04. วัดด่านเกวียน อ.โนนสูง นครราชสีมา (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) 05. วัดตรีวิสุทธิธรรม อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) 06. วัดตะโหนดราย อ.บางคนที จ.สมุทรปราการ (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) 07. วัดถ้ำกลองเพล อ.เมือง จ.หนองบัวลำภู (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) 08. วัดถ้ำตะเพียนทอง อ.พัฒนานิคม จ.ลพบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) 09. วัดทองรำไพ อ.พระสมุทรเจดีย์ จ.สมุทรปราการ (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) 10. วัดเทพกุญชรวราราม อ.เมือง จ.ลพบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๓ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 153 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,534
    วันอังคาร: แรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๗ (1 October 2024)

    Photo Album Set 3/3
    ทอดกฐินสามัคคี 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท
    21. วัดหนองเป่าปี่ อ.สามร้อยยอด จ.ประจวบคีรีขันธ์
    (ทอดกฐินสามัคคี 26 ต.ค.67)
    22. ที่พักสงฆ์วัดป่าเอกาวนาราม อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    23. วัดเกริ่นกฐิน อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    24. วัดเกาะเกรียง อ.เมือง จ.ปทุมธานี
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    25. วัดเขากอม อ.ท่าชนะ จ.สุราษฎร์ธานี
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    26. วัดเขาวง(ถ้ำนารายณ์) อ.พระพุทธบาท จ.สระบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    27. วัดเขาแหลม อ.วังสมบูรณ์ จ.สระแก้ว
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    28. วัดคงคา อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    29. วัดคันธารมณ์ อ.บ้านใหม่ไชยพจน์ จ.บุรีรัมย์
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    30. วัดโคกหม้อสุวรรณประทีป อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๔ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,534 วันอังคาร: แรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๗ (1 October 2024) Photo Album Set 3/3 ทอดกฐินสามัคคี 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท 21. วัดหนองเป่าปี่ อ.สามร้อยยอด จ.ประจวบคีรีขันธ์ (ทอดกฐินสามัคคี 26 ต.ค.67) 22. ที่พักสงฆ์วัดป่าเอกาวนาราม อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) 23. วัดเกริ่นกฐิน อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) 24. วัดเกาะเกรียง อ.เมือง จ.ปทุมธานี (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) 25. วัดเขากอม อ.ท่าชนะ จ.สุราษฎร์ธานี (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) 26. วัดเขาวง(ถ้ำนารายณ์) อ.พระพุทธบาท จ.สระบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) 27. วัดเขาแหลม อ.วังสมบูรณ์ จ.สระแก้ว (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) 28. วัดคงคา อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) 29. วัดคันธารมณ์ อ.บ้านใหม่ไชยพจน์ จ.บุรีรัมย์ (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) 30. วัดโคกหม้อสุวรรณประทีป อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๔ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 129 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,534
    วันอังคาร: แรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๗ (1 October 2024)

    Photo Album Set 3/3
    ทอดกฐินสามัคคี 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท
    21. วัดหนองเป่าปี่ อ.สามร้อยยอด จ.ประจวบคีรีขันธ์
    (ทอดกฐินสามัคคี 26 ต.ค.67)
    22. ที่พักสงฆ์วัดป่าเอกาวนาราม อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    23. วัดเกริ่นกฐิน อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    24. วัดเกาะเกรียง อ.เมือง จ.ปทุมธานี
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    25. วัดเขากอม อ.ท่าชนะ จ.สุราษฎร์ธานี
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    26. วัดเขาวง(ถ้ำนารายณ์) อ.พระพุทธบาท จ.สระบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    27. วัดเขาแหลม อ.วังสมบูรณ์ จ.สระแก้ว
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    28. วัดคงคา อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    29. วัดคันธารมณ์ อ.บ้านใหม่ไชยพจน์ จ.บุรีรัมย์
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    30. วัดโคกหม้อสุวรรณประทีป อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี
    (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๔ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,534 วันอังคาร: แรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๗ (1 October 2024) Photo Album Set 3/3 ทอดกฐินสามัคคี 30 วัด เป็นเงิน 600 บาท 21. วัดหนองเป่าปี่ อ.สามร้อยยอด จ.ประจวบคีรีขันธ์ (ทอดกฐินสามัคคี 26 ต.ค.67) 22. ที่พักสงฆ์วัดป่าเอกาวนาราม อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) 23. วัดเกริ่นกฐิน อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) 24. วัดเกาะเกรียง อ.เมือง จ.ปทุมธานี (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) 25. วัดเขากอม อ.ท่าชนะ จ.สุราษฎร์ธานี (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) 26. วัดเขาวง(ถ้ำนารายณ์) อ.พระพุทธบาท จ.สระบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) 27. วัดเขาแหลม อ.วังสมบูรณ์ จ.สระแก้ว (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) 28. วัดคงคา อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) 29. วัดคันธารมณ์ อ.บ้านใหม่ไชยพจน์ จ.บุรีรัมย์ (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) 30. วัดโคกหม้อสุวรรณประทีป อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี (ทอดกฐินสามัคคี 27 ต.ค.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๔ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 127 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,530
    วันศุกร์: แรม ๑๐ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๖๗ (27 September 2024)

    Photo Album Set 1/2
    โอนเงินทำบุญ 20 แห่ง เป็นเงิน 400 บาท
    01. วัดป่ายางสบยาบ อ.เชียงแสน จ.เชียงราย
    (หล่อพระเจ้าทองทิพย์ 5 ต.ค.67)
    02. วัดเนินแร่ อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี
    (หล่อหลวงพ่อสุโขทัย 13 ต.ค.67)
    03. วัดเจ้าบุญเกิด อ.ไชโย จ.อ่างทอง
    (หล่อหลวงพ่อสุโขทัย 17 ต.ค.67)
    04. วัดแสนหลวง อ.สารภี จ.เชียงใหม่
    (หล่อพระปางมารวิชัย 18 ต.ค.67)
    05. วัดหนองโกสูง อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี
    (หล่อพระพุทธเมตตา 20 ต.ค.67)
    06. วัดป่าเทพพิทักษ์วนาราม อ.พนมดงรัก จ.สุรินทร์
    (งานปริวาสกรรม 20-30 ต.ค.67)
    07. วัดศิวาราม อ.วังน้อย จ.พระนครศรีอยุธยา
    (งานปริวาสกรรม 21-30 ต.ค.67)
    08. วัดกะโสมใต้ อ.ทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช
    (งานปริวาสกรรม 23 ต.ค.- 1 พ.ย.67)
    09. วัดโนนขี้ตุ่น อ.ห้วยแถลง จ.นครราชสีมา
    (งานปริวาสกรรม 23 ต.ค.-1 พ.ย.67)
    10. วัดผักขวง อ.ทองแสนขัน จ.อุตรดิตถ์
    (งานปิดทองฝังลูกนิมิต 28 ต.ค.-1 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๘ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,530 วันศุกร์: แรม ๑๐ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๖๗ (27 September 2024) Photo Album Set 1/2 โอนเงินทำบุญ 20 แห่ง เป็นเงิน 400 บาท 01. วัดป่ายางสบยาบ อ.เชียงแสน จ.เชียงราย (หล่อพระเจ้าทองทิพย์ 5 ต.ค.67) 02. วัดเนินแร่ อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี (หล่อหลวงพ่อสุโขทัย 13 ต.ค.67) 03. วัดเจ้าบุญเกิด อ.ไชโย จ.อ่างทอง (หล่อหลวงพ่อสุโขทัย 17 ต.ค.67) 04. วัดแสนหลวง อ.สารภี จ.เชียงใหม่ (หล่อพระปางมารวิชัย 18 ต.ค.67) 05. วัดหนองโกสูง อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี (หล่อพระพุทธเมตตา 20 ต.ค.67) 06. วัดป่าเทพพิทักษ์วนาราม อ.พนมดงรัก จ.สุรินทร์ (งานปริวาสกรรม 20-30 ต.ค.67) 07. วัดศิวาราม อ.วังน้อย จ.พระนครศรีอยุธยา (งานปริวาสกรรม 21-30 ต.ค.67) 08. วัดกะโสมใต้ อ.ทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช (งานปริวาสกรรม 23 ต.ค.- 1 พ.ย.67) 09. วัดโนนขี้ตุ่น อ.ห้วยแถลง จ.นครราชสีมา (งานปริวาสกรรม 23 ต.ค.-1 พ.ย.67) 10. วัดผักขวง อ.ทองแสนขัน จ.อุตรดิตถ์ (งานปิดทองฝังลูกนิมิต 28 ต.ค.-1 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๘ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 196 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,530
    วันศุกร์: แรม ๑๐ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๖๗ (27 September 2024)

    Photo Album Set 1/2
    โอนเงินทำบุญ 20 แห่ง เป็นเงิน 400 บาท
    01. วัดป่ายางสบยาบ อ.เชียงแสน จ.เชียงราย
    (หล่อพระเจ้าทองทิพย์ 5 ต.ค.67)
    02. วัดเนินแร่ อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี
    (หล่อหลวงพ่อสุโขทัย 13 ต.ค.67)
    03. วัดเจ้าบุญเกิด อ.ไชโย จ.อ่างทอง
    (หล่อหลวงพ่อสุโขทัย 17 ต.ค.67)
    04. วัดแสนหลวง อ.สารภี จ.เชียงใหม่
    (หล่อพระปางมารวิชัย 18 ต.ค.67)
    05. วัดหนองโกสูง อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี
    (หล่อพระพุทธเมตตา 20 ต.ค.67)
    06. วัดป่าเทพพิทักษ์วนาราม อ.พนมดงรัก จ.สุรินทร์
    (งานปริวาสกรรม 20-30 ต.ค.67)
    07. วัดศิวาราม อ.วังน้อย จ.พระนครศรีอยุธยา
    (งานปริวาสกรรม 21-30 ต.ค.67)
    08. วัดกะโสมใต้ อ.ทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช
    (งานปริวาสกรรม 23 ต.ค.- 1 พ.ย.67)
    09. วัดโนนขี้ตุ่น อ.ห้วยแถลง จ.นครราชสีมา
    (งานปริวาสกรรม 23 ต.ค.-1 พ.ย.67)
    10. วัดผักขวง อ.ทองแสนขัน จ.อุตรดิตถ์
    (งานปิดทองฝังลูกนิมิต 28 ต.ค.-1 พ.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๘ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,530 วันศุกร์: แรม ๑๐ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๖๗ (27 September 2024) Photo Album Set 1/2 โอนเงินทำบุญ 20 แห่ง เป็นเงิน 400 บาท 01. วัดป่ายางสบยาบ อ.เชียงแสน จ.เชียงราย (หล่อพระเจ้าทองทิพย์ 5 ต.ค.67) 02. วัดเนินแร่ อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี (หล่อหลวงพ่อสุโขทัย 13 ต.ค.67) 03. วัดเจ้าบุญเกิด อ.ไชโย จ.อ่างทอง (หล่อหลวงพ่อสุโขทัย 17 ต.ค.67) 04. วัดแสนหลวง อ.สารภี จ.เชียงใหม่ (หล่อพระปางมารวิชัย 18 ต.ค.67) 05. วัดหนองโกสูง อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี (หล่อพระพุทธเมตตา 20 ต.ค.67) 06. วัดป่าเทพพิทักษ์วนาราม อ.พนมดงรัก จ.สุรินทร์ (งานปริวาสกรรม 20-30 ต.ค.67) 07. วัดศิวาราม อ.วังน้อย จ.พระนครศรีอยุธยา (งานปริวาสกรรม 21-30 ต.ค.67) 08. วัดกะโสมใต้ อ.ทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช (งานปริวาสกรรม 23 ต.ค.- 1 พ.ย.67) 09. วัดโนนขี้ตุ่น อ.ห้วยแถลง จ.นครราชสีมา (งานปริวาสกรรม 23 ต.ค.-1 พ.ย.67) 10. วัดผักขวง อ.ทองแสนขัน จ.อุตรดิตถ์ (งานปิดทองฝังลูกนิมิต 28 ต.ค.-1 พ.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๓๘ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 190 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,511
    วันอาทิตย์: ขึ้น ๖ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง
    วันที่ ๘ กันยายน ๒๕๖๗ (8 September 2024)

    ทอดผ้าป่าสามัคคี 10 โรงเรียน เป็นเงิน 200 บาท
    01. รร.วัดมฤคทายวัน อ.บางซ้าย จ.พระนครศรีอยุธยา
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 8 ก.ย.67)
    02. รร.วัดหนองเมือง อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 14 ก.ย.67)
    03. รร.บ้านคลองระ อ.หลังสวน จ.ชุมพร
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 15 ก.ย.67)
    04. รร.บ้านดอนตะหนิน อ.บ้านเหลื่อม จ.นครราชสีมา
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 15 ก.ย.67)
    05. รร.วัดดอนเจดีย์ราษฎร์บูรณะ อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 15 ก.ย.67)
    06. รร.วัดบางใหญ่ อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 15 ก.ย.67)
    07. รร.วัดยาง (เย็นประชาสรรค์) อ.เขาย้อย จ.เพชรบุรี
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 15 ก.ย.67)
    08. รร.วัดราษฎร์บำรุง อ.หนองแค จ.สระบุรี
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 15 ก.ย.67)
    09. รร.วัดศรีสุวรรณคงคารานม อ.เมือง จ.สมุทรสงคราม
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 15 ก.ย.67)
    10. รร.วัดศิริมงคล อ.เมือง จ.สมุทรสาคร
    (ทอดผ้าป่าสามัคคี 15 ก.ย.67)
    #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์
    * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๕๗ วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ทำบุญออนไลน์ >>> วันที่ 1,511 วันอาทิตย์: ขึ้น ๖ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะโรง วันที่ ๘ กันยายน ๒๕๖๗ (8 September 2024) ทอดผ้าป่าสามัคคี 10 โรงเรียน เป็นเงิน 200 บาท 01. รร.วัดมฤคทายวัน อ.บางซ้าย จ.พระนครศรีอยุธยา (ทอดผ้าป่าสามัคคี 8 ก.ย.67) 02. รร.วัดหนองเมือง อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี (ทอดผ้าป่าสามัคคี 14 ก.ย.67) 03. รร.บ้านคลองระ อ.หลังสวน จ.ชุมพร (ทอดผ้าป่าสามัคคี 15 ก.ย.67) 04. รร.บ้านดอนตะหนิน อ.บ้านเหลื่อม จ.นครราชสีมา (ทอดผ้าป่าสามัคคี 15 ก.ย.67) 05. รร.วัดดอนเจดีย์ราษฎร์บูรณะ อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี (ทอดผ้าป่าสามัคคี 15 ก.ย.67) 06. รร.วัดบางใหญ่ อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี (ทอดผ้าป่าสามัคคี 15 ก.ย.67) 07. รร.วัดยาง (เย็นประชาสรรค์) อ.เขาย้อย จ.เพชรบุรี (ทอดผ้าป่าสามัคคี 15 ก.ย.67) 08. รร.วัดราษฎร์บำรุง อ.หนองแค จ.สระบุรี (ทอดผ้าป่าสามัคคี 15 ก.ย.67) 09. รร.วัดศรีสุวรรณคงคารานม อ.เมือง จ.สมุทรสงคราม (ทอดผ้าป่าสามัคคี 15 ก.ย.67) 10. รร.วัดศิริมงคล อ.เมือง จ.สมุทรสาคร (ทอดผ้าป่าสามัคคี 15 ก.ย.67) #โอนเงินทำบุญโดยคุณณรงค์ * เวลาที่เหลืออยู่ในชาตินี้ เท่ากับ ๒๖ ปี ๑๕๗ วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 339 มุมมอง 0 รีวิว