• เมื่ออเมริกา ยึดรัสเซีย และจีนไม่ได้ อเมริกาจึงมาตั้งนานโต้ ตามสันดาน

    เมื่อวันที่ 4 เม.ย. 2492 (ค.ศ. 1949) สหรัฐอเมริกาและประเทศต่าง ๆ ในยุโรปรวม 12 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร แคนาดา เบลเยียม เดนมาร์ก ฝรั่งเศส ไอซ์แลนด์ อิตาลี ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ นอรเวย์ และโปรตุเกส ได้ร่วมกันลงนามในสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (the North Atlantic Treaty) ก่อตั้งองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือหรือนาโต้ขึ้นในช่วงหลังสงครามโลก ครั้งที่สอง โดยมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 24 ส.ค. 2492
    วัตถุประสงค์เริ่มแรกก่อตั้ง คือ เพื่อจัดตั้งระบบพันธมิตรทางทหารในการถ่วงดุลอำนาจกับฝ่ายคอมมิวนิสต์ (สหภาพโซเวียต) และให้ความช่วยเหลือประเทศสมาชิกในกรณีที่ประเทศสมาชิกถูกคุกคามจากภายนอก ตลอดจนส่งเสริมความมั่นคงในทางเศรษฐกิจ
    เมื่ออเมริกา ยึดรัสเซีย และจีนไม่ได้ อเมริกาจึงมาตั้งนานโต้ ตามสันดาน เมื่อวันที่ 4 เม.ย. 2492 (ค.ศ. 1949) สหรัฐอเมริกาและประเทศต่าง ๆ ในยุโรปรวม 12 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร แคนาดา เบลเยียม เดนมาร์ก ฝรั่งเศส ไอซ์แลนด์ อิตาลี ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ นอรเวย์ และโปรตุเกส ได้ร่วมกันลงนามในสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (the North Atlantic Treaty) ก่อตั้งองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือหรือนาโต้ขึ้นในช่วงหลังสงครามโลก ครั้งที่สอง โดยมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 24 ส.ค. 2492 วัตถุประสงค์เริ่มแรกก่อตั้ง คือ เพื่อจัดตั้งระบบพันธมิตรทางทหารในการถ่วงดุลอำนาจกับฝ่ายคอมมิวนิสต์ (สหภาพโซเวียต) และให้ความช่วยเหลือประเทศสมาชิกในกรณีที่ประเทศสมาชิกถูกคุกคามจากภายนอก ตลอดจนส่งเสริมความมั่นคงในทางเศรษฐกิจ
    0 Comments 0 Shares 98 Views 0 Reviews
  • วันนี้ตื่นเช้ามาก็พยายมเลี่ยงไทม์ไลน์ FB ที่ตอนนี้หลังรู้ว่าเป็นบริษัทจากจีนทั้ๆที่ชาวเน็ตจีนกับรัฐบาลจีนกำลังสอบสวนการทุจริตของบริษัทที่ทำตึก สตง.ถล่มลงมาหลังแผ่นดินไหว พวกต่อต้านจีนส่วนใหญ่ในโซเชียลกระแสหลักไทยก็พากันโทษรัฐบาลจีน โทษพรรคคอมมิวนิสต์จีน และหนักกว่านั้นคือปั่นเฟคนิวส์ว่าแผ่นดินไหวไม่ใช่ภัยพิบัติ แต่เป็นพระจีนทดสอบสร้างโรงไฟฟ้าความร้อนใต้พิภพที่เมียนมาจนเกิดแผ่นดินไหวต่างหาก แค่พูดออกมาผมก็ไม่เชื่อแล้ว
    วันนี้ตื่นเช้ามาก็พยายมเลี่ยงไทม์ไลน์ FB ที่ตอนนี้หลังรู้ว่าเป็นบริษัทจากจีนทั้ๆที่ชาวเน็ตจีนกับรัฐบาลจีนกำลังสอบสวนการทุจริตของบริษัทที่ทำตึก สตง.ถล่มลงมาหลังแผ่นดินไหว พวกต่อต้านจีนส่วนใหญ่ในโซเชียลกระแสหลักไทยก็พากันโทษรัฐบาลจีน โทษพรรคคอมมิวนิสต์จีน และหนักกว่านั้นคือปั่นเฟคนิวส์ว่าแผ่นดินไหวไม่ใช่ภัยพิบัติ แต่เป็นพระจีนทดสอบสร้างโรงไฟฟ้าความร้อนใต้พิภพที่เมียนมาจนเกิดแผ่นดินไหวต่างหาก แค่พูดออกมาผมก็ไม่เชื่อแล้ว
    0 Comments 0 Shares 115 Views 0 Reviews
  • สหรัฐฯ ส่งระบบขีปนาวุธต่อต้านเรือ NMesis ไปฟิลิปปินส์ ส่งผลความตึงเครียดในภูมิภาคเพิ่มขึ้น

    พีท เฮกเซธ รัฐมนตรีกลาโหมสหรัฐ เปิดเผยแผนการยกระดับการเผชิญหน้ากับจีนระหว่างการเยือนฟิลิปปินส์ โดยประกาศส่งระบบขีปนาวุธต่อต้านเรือชายฝั่ง NMesis (Navy Marine Expeditionary Ship Interdiction System) เข้าประจำการในเกาะฟิลิปปินส์ซึ่งอยู่ทางใต้ของจีน

    เฮกเซธระบุว่าเป็นการต่อต้าน "การรุกรานของจีนคอมมิวนิสต์" ซึ่งถือเป็นครั้งแรกที่เจ้าหน้าที่ระดับสูงของสหรัฐระบุชื่อจีนเป็นภัยคุกคามโดยตรง

    ทางด้าน เฉิน เสี่ยวตง รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงต่างประเทศของจีน ออกมาส่งสัญญาณเตือนไปถึงฟิลิปปินส์ทันทีว่า "ผู้ที่เต็มใจเป็นเบี้ยจะต้องถูกทิ้งอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้"

    สำหรับ NMESIS (Navy Marine Expeditionary Ship Interdiction System) เริ่มเข้าประจำการในปี 2021 กับนาวิกโยธินสหรัฐ เป็นระบบขีปนาวุธต่อต้านเรือชายฝั่งที่มีความคล่องตัวสูงซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อให้สามารถโจมตีเรือผิวน้ำของศัตรูจากตำแหน่งบนบกได้ ด้วยการผสานระบบปล่อยขีปนาวุธโจมตีทางเรือ (NSM) เข้ากับ ROGUE Fires Carrier ซึ่งเป็นยานพาหนะภาคพื้นดินที่ควบคุมจากระยะไกลและถูกติดตั้งบน Joint Light Tactical Vehicle (JLTV) เพื่อเพิ่มความคล่องตัว และความยืดหยุ่นสำหรับการปฏิบัติการป้องกันชายฝั่งสมัยใหม่
    สหรัฐฯ ส่งระบบขีปนาวุธต่อต้านเรือ NMesis ไปฟิลิปปินส์ ส่งผลความตึงเครียดในภูมิภาคเพิ่มขึ้น พีท เฮกเซธ รัฐมนตรีกลาโหมสหรัฐ เปิดเผยแผนการยกระดับการเผชิญหน้ากับจีนระหว่างการเยือนฟิลิปปินส์ โดยประกาศส่งระบบขีปนาวุธต่อต้านเรือชายฝั่ง NMesis (Navy Marine Expeditionary Ship Interdiction System) เข้าประจำการในเกาะฟิลิปปินส์ซึ่งอยู่ทางใต้ของจีน เฮกเซธระบุว่าเป็นการต่อต้าน "การรุกรานของจีนคอมมิวนิสต์" ซึ่งถือเป็นครั้งแรกที่เจ้าหน้าที่ระดับสูงของสหรัฐระบุชื่อจีนเป็นภัยคุกคามโดยตรง ทางด้าน เฉิน เสี่ยวตง รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงต่างประเทศของจีน ออกมาส่งสัญญาณเตือนไปถึงฟิลิปปินส์ทันทีว่า "ผู้ที่เต็มใจเป็นเบี้ยจะต้องถูกทิ้งอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้" สำหรับ NMESIS (Navy Marine Expeditionary Ship Interdiction System) เริ่มเข้าประจำการในปี 2021 กับนาวิกโยธินสหรัฐ เป็นระบบขีปนาวุธต่อต้านเรือชายฝั่งที่มีความคล่องตัวสูงซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อให้สามารถโจมตีเรือผิวน้ำของศัตรูจากตำแหน่งบนบกได้ ด้วยการผสานระบบปล่อยขีปนาวุธโจมตีทางเรือ (NSM) เข้ากับ ROGUE Fires Carrier ซึ่งเป็นยานพาหนะภาคพื้นดินที่ควบคุมจากระยะไกลและถูกติดตั้งบน Joint Light Tactical Vehicle (JLTV) เพื่อเพิ่มความคล่องตัว และความยืดหยุ่นสำหรับการปฏิบัติการป้องกันชายฝั่งสมัยใหม่
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 228 Views 0 Reviews
  • 27-03-68/03 : หมี CNN / "เสือกเฉพาะเรื่อง" EP2

    "เปิดแผนสวรรค์ การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ ที่มรึงเองยังไม่กล้าจะคิด?" หลายคนไม่เชื่อ หลายคนหมดศรัทธากับแผ่นดินนี้ แต่ช้าก่อน โปรดฟัง และคิดตามนี้ โลกยุคเก่านำโดยสหรัฐและฝูงเหี้ย ใช้ปชต.ตอแหลบังคับให้ชาติประเทศที่ 3 หรือด้อยพัฒนา ต้องปฎิบัติตามเพื่อคำว่า "สากล" มาดูปีนี้ พศ.นี้ 2025 ใครนำโลก ใครคือขั้วใหม่ รัสเซีย จีน เค้าเป็นปชต.เต็มรูปแบบมั้ยล่ะ? ตอบว่าไม่ ทุกอย่างรัสเซียใช้สภาดูม่าออกกฎหมายบังคับทั้งประเทศ จีนใช้พรรคคอมมิวนิสต์จีน ปกครองแผ่นดินมายาวนาน หลังปฎิวัติใหญ่สำเร็จ ดังนั้น รูปแบบการปกครองจึงต้องเปลี่ยนไปตามเจ้ามือโลกใหม่ไงล่ะ ถามว่า หากมรึงเป็นปชต.จ๋า จะเอาแต่โหวดอย่างเดียว เค้าก็ไม่ว่ามรึงดอก ตราบใดที่มรึงยังไม่ขัดแข้งขัดขาเค้า หรือรับใช้เป็นขี้ข้าเหี้ยขั้วเก่าไม่เลิก เค้าก็ไม่เอามรึงไงล่ะ เพราะวัตถุดิบโลก อาหารโลก พลังงานโลก อยู่ในมือขั้วใหม่เบ็ดเสร็จเด็ดขาดแล้ว ใครกล้างัดกันล่ะ ขนาดสหรัฐ และยุโรป ยังต้องกราบตรีน ดังนั้น ในอดีต สยามประเทศปกครองโดยกษัตริย์ จนมาถึงยุคปล้นพระราชอำนาจ พศ.2475 ครั้นไทยเราจะกลับไปใช้การปกครองเดิม ถามว่าเจ้ามือโลกใหม่จะมีปัญหามั้ย? ตอบว่าไม่ แถมเชิญให้ไว เข้าใจยัง? ทุกอย่างในโลก มันอยู่ที่เจ้ามือ ไอ้สัส! เมือไทยนำโด่ง เปลี่ยนการปกครอง กลับไปใช้ระบบกษัตริย์ ยุโรป และแอฟริกา อาจจะตามมาทันที เพราะเบื่อการเมืองบัดซบมาเต็มกลืนแล้ว ตอนนี้ ทราบหรือไม่ ยุโรปจะมีการนำระบบกษัตริย์กลับมาอีกครั้ง หลัง EU แตกจ๊ะ เพราะอะไร เพราะเจ้ามือเก่ามันไม่อยู่แล้วไง เจ้ามือเก่าไม่มีเงินจ่ายแล้ว ปชต.อยู่ได้เพราะเงินจ๊ะ เมื่อ BRICS กลายเป็นศูนย์กลางโลก ใยต้องกังวลว่าจะต้องเป็นการปกครองแบบใดอีก เพราะทุกชาติถูกปลดแอกจากเหี้ยหมดแล้ว มรึงยังจะอยากเป็นทาสไปตลอดชีวิตรึไง ทุกชาติจะหันกลับมาใช้การปกครองที่เหมาะกับตัวเอง โดยมีรัสเซีย จีน ให้การสนับสนุน สิ่งที่มรึงมองไม่เห็นแต่กูมองเห็น เป็นเพราะ "เจ้ามือ" ไงล่ะ หัวนำ ใครก็ตาม หัวเหี้ย โลกก็เหี้ย หัวดี โลกก็สดใส ยิ่งการเมืองปาหี่บ้านเรา ยิ่งมีกระแสโหยหา "มอบพระราชอำนาจคืนให้พ่อท่าน" อย่าเอาอีกเลย ไอ้นักการเมืองหัวกวยเนี่ย? เอามาให้แดร๊กแผ่นดิน กินหัวคิวไม่เลิกเหรอ? ส่วนอีควายไทยบัดซบ 24 ล้านตัว จะเงิบแดร๊ก เมื่อคนทั้งแผ่นดิน ยกมือกราบไหว้ "ทรงพระเจริญ ยิ่งยืนนาน" มรึงจะกลายเป็นส่วนเกินของสังคมทันที ปชต.จะหายสาปสูญไปตลอดกาล ทุกอย่างอยู่ที่เจ้ามือจ๊ะ ไม่ได้เปลี่ยนเพราะอยากจะเปลี่ยน แต่เปลี่ยนเพราะเหี้ยมันตาย และเจ้ามือใหม่ ไม่ต้องการปชต.ตอแหล ชัดน่ะ? ที่มาว่าทำไม มรึงถึงยังไม่เชื่อในสิ่งที่อยู่ตรงหน้าตอนนี้ เพราะกูพูดในสิ่งที่จะเกิดขึ้นล่วงหน้า อันมีสาเหตุมาจากการเปลี่ยนแปลงโลกนั่นเอง โลกนำ สยามตาม เข้าใจตรงกันน่ะ? ส่วนเรื่องผนวกดินแดนเพิ่ม กูไม่ได้พูดเล่น เอามันส์ เมื่อไทยเป็นฮับ อยากได้เงินบาทไทยที่แข็งโป๊กมั้ย ที่นิยมใช้กันทั้งอาเซียน ก็ย้ายเข้ามาอยู่ร่วมกัน เริ่มแรก อาจจะเป็นรัฐอิสระ ที่แยกตัวออกมาจากพม่า และบางส่วนจากอีขะแมร์ บางส่วนจากลาว แต่ต่อไป หากไทยรุ่งเรืองจนขีดสุด ใครล่ะ ไม่อยากจะเป็นเมืองใต้อาณัติที่มีอนาคตสดใสรออยู่ มันจะมาเอง มรึงไม่ต้องไปไล่ล่าอะไรทั้งนั้น ของมันดี ใครก็อยากจะเข้า BRICS นี่แหละ จะทำให้ไทยรวมแผ่นดินพ่อเดิม ยุคพ่อร.5 กลับมา เหมือนที่ปูตินจะได้อดีตโซเวียตเดิมกลับมา เหมือนที่สีจิ้นผิงจะได้ไต้หวันกลับมาอีกครั้ง ทุกอย่างมันมาทิศทางเดียวกันหมด อะไรที่เป็นของเรา มันก็คือของเราอยู่วันยันค่ำ ไม่ว่าจะผ่านไปอีกกี่ 100 ปี ก็ตาม?

    หมี CNN(ความกังวลของมรึง มันอยู่ในอกพ่ออยู่หัว นับตั้งแต่รัชกาลที่ 3 มานานแล้ว พ่อสอนลูก ส่งไม้ต่อ แล้วเมื่อถึงเวลา ยุคศิวิไล ไทยเราจะได้ผนวกรวมแผ่นดินเดิมกลับคืนสู่ดินแดนสุวรรณภูมิอีกครั้ง วันนี้ มรึงยังไม่เชื่อ แต่อีกไม่นาน มรึงจะเริ่มเห็นแสงสีทองตามที่กูบอก ไม่มีผิด เพราะกูนั่งไทม์แมชชีนไปกับโดราเอมอน ไปดูมาแล้ว อะไรน่ะ โนบิตะได้แต่งงานกับชิซูกะหรือไม่ อ๋อ..เสร็จอีโดราเอม่อนจ๊ะ 555+)
    27 มีนาคม 68
    17.24 น.

    ------------------------------------------------------------------------—
    เข้าถ้ำ RONIN คลิกที่ LINK ตามนี้ : https://line.me/R/ti/p/@mheecnn

    หรือเข้า LINE OFFICIAL ACCOUNT
    https://voom-studio.line.biz/account/@hfs0310u/voom หรือเสิร์หหาใน LINE ได้ที่ @hfs0310u

    **เพจหลักของหมี CNN คือ**
    https://www.minds.com/mheecnn2/

    เพจ VK ของรัสเซีย พิมคำว่า Frank Mheecnn
    www.vk.com/id448335733

    **เพจหมี CNN ใน Twitter ตัวใหม่ล่าสุด!**
    https://twitter.com/CnnMhee

    **เพจหมี CNN ใน FB ห้องปิด ตัวใหม่ล่าสุด(2568)**
    ชื่อเพจ "SUBPRAYUTH THALUFAH" สัปยุทธ ทะลุฟ้า
    https://www.facebook.com/profile.php?id=61573193903186
    27-03-68/03 : หมี CNN / "เสือกเฉพาะเรื่อง" EP2 "เปิดแผนสวรรค์ การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ ที่มรึงเองยังไม่กล้าจะคิด?" หลายคนไม่เชื่อ หลายคนหมดศรัทธากับแผ่นดินนี้ แต่ช้าก่อน โปรดฟัง และคิดตามนี้ โลกยุคเก่านำโดยสหรัฐและฝูงเหี้ย ใช้ปชต.ตอแหลบังคับให้ชาติประเทศที่ 3 หรือด้อยพัฒนา ต้องปฎิบัติตามเพื่อคำว่า "สากล" มาดูปีนี้ พศ.นี้ 2025 ใครนำโลก ใครคือขั้วใหม่ รัสเซีย จีน เค้าเป็นปชต.เต็มรูปแบบมั้ยล่ะ? ตอบว่าไม่ ทุกอย่างรัสเซียใช้สภาดูม่าออกกฎหมายบังคับทั้งประเทศ จีนใช้พรรคคอมมิวนิสต์จีน ปกครองแผ่นดินมายาวนาน หลังปฎิวัติใหญ่สำเร็จ ดังนั้น รูปแบบการปกครองจึงต้องเปลี่ยนไปตามเจ้ามือโลกใหม่ไงล่ะ ถามว่า หากมรึงเป็นปชต.จ๋า จะเอาแต่โหวดอย่างเดียว เค้าก็ไม่ว่ามรึงดอก ตราบใดที่มรึงยังไม่ขัดแข้งขัดขาเค้า หรือรับใช้เป็นขี้ข้าเหี้ยขั้วเก่าไม่เลิก เค้าก็ไม่เอามรึงไงล่ะ เพราะวัตถุดิบโลก อาหารโลก พลังงานโลก อยู่ในมือขั้วใหม่เบ็ดเสร็จเด็ดขาดแล้ว ใครกล้างัดกันล่ะ ขนาดสหรัฐ และยุโรป ยังต้องกราบตรีน ดังนั้น ในอดีต สยามประเทศปกครองโดยกษัตริย์ จนมาถึงยุคปล้นพระราชอำนาจ พศ.2475 ครั้นไทยเราจะกลับไปใช้การปกครองเดิม ถามว่าเจ้ามือโลกใหม่จะมีปัญหามั้ย? ตอบว่าไม่ แถมเชิญให้ไว เข้าใจยัง? ทุกอย่างในโลก มันอยู่ที่เจ้ามือ ไอ้สัส! เมือไทยนำโด่ง เปลี่ยนการปกครอง กลับไปใช้ระบบกษัตริย์ ยุโรป และแอฟริกา อาจจะตามมาทันที เพราะเบื่อการเมืองบัดซบมาเต็มกลืนแล้ว ตอนนี้ ทราบหรือไม่ ยุโรปจะมีการนำระบบกษัตริย์กลับมาอีกครั้ง หลัง EU แตกจ๊ะ เพราะอะไร เพราะเจ้ามือเก่ามันไม่อยู่แล้วไง เจ้ามือเก่าไม่มีเงินจ่ายแล้ว ปชต.อยู่ได้เพราะเงินจ๊ะ เมื่อ BRICS กลายเป็นศูนย์กลางโลก ใยต้องกังวลว่าจะต้องเป็นการปกครองแบบใดอีก เพราะทุกชาติถูกปลดแอกจากเหี้ยหมดแล้ว มรึงยังจะอยากเป็นทาสไปตลอดชีวิตรึไง ทุกชาติจะหันกลับมาใช้การปกครองที่เหมาะกับตัวเอง โดยมีรัสเซีย จีน ให้การสนับสนุน สิ่งที่มรึงมองไม่เห็นแต่กูมองเห็น เป็นเพราะ "เจ้ามือ" ไงล่ะ หัวนำ ใครก็ตาม หัวเหี้ย โลกก็เหี้ย หัวดี โลกก็สดใส ยิ่งการเมืองปาหี่บ้านเรา ยิ่งมีกระแสโหยหา "มอบพระราชอำนาจคืนให้พ่อท่าน" อย่าเอาอีกเลย ไอ้นักการเมืองหัวกวยเนี่ย? เอามาให้แดร๊กแผ่นดิน กินหัวคิวไม่เลิกเหรอ? ส่วนอีควายไทยบัดซบ 24 ล้านตัว จะเงิบแดร๊ก เมื่อคนทั้งแผ่นดิน ยกมือกราบไหว้ "ทรงพระเจริญ ยิ่งยืนนาน" มรึงจะกลายเป็นส่วนเกินของสังคมทันที ปชต.จะหายสาปสูญไปตลอดกาล ทุกอย่างอยู่ที่เจ้ามือจ๊ะ ไม่ได้เปลี่ยนเพราะอยากจะเปลี่ยน แต่เปลี่ยนเพราะเหี้ยมันตาย และเจ้ามือใหม่ ไม่ต้องการปชต.ตอแหล ชัดน่ะ? ที่มาว่าทำไม มรึงถึงยังไม่เชื่อในสิ่งที่อยู่ตรงหน้าตอนนี้ เพราะกูพูดในสิ่งที่จะเกิดขึ้นล่วงหน้า อันมีสาเหตุมาจากการเปลี่ยนแปลงโลกนั่นเอง โลกนำ สยามตาม เข้าใจตรงกันน่ะ? ส่วนเรื่องผนวกดินแดนเพิ่ม กูไม่ได้พูดเล่น เอามันส์ เมื่อไทยเป็นฮับ อยากได้เงินบาทไทยที่แข็งโป๊กมั้ย ที่นิยมใช้กันทั้งอาเซียน ก็ย้ายเข้ามาอยู่ร่วมกัน เริ่มแรก อาจจะเป็นรัฐอิสระ ที่แยกตัวออกมาจากพม่า และบางส่วนจากอีขะแมร์ บางส่วนจากลาว แต่ต่อไป หากไทยรุ่งเรืองจนขีดสุด ใครล่ะ ไม่อยากจะเป็นเมืองใต้อาณัติที่มีอนาคตสดใสรออยู่ มันจะมาเอง มรึงไม่ต้องไปไล่ล่าอะไรทั้งนั้น ของมันดี ใครก็อยากจะเข้า BRICS นี่แหละ จะทำให้ไทยรวมแผ่นดินพ่อเดิม ยุคพ่อร.5 กลับมา เหมือนที่ปูตินจะได้อดีตโซเวียตเดิมกลับมา เหมือนที่สีจิ้นผิงจะได้ไต้หวันกลับมาอีกครั้ง ทุกอย่างมันมาทิศทางเดียวกันหมด อะไรที่เป็นของเรา มันก็คือของเราอยู่วันยันค่ำ ไม่ว่าจะผ่านไปอีกกี่ 100 ปี ก็ตาม? หมี CNN(ความกังวลของมรึง มันอยู่ในอกพ่ออยู่หัว นับตั้งแต่รัชกาลที่ 3 มานานแล้ว พ่อสอนลูก ส่งไม้ต่อ แล้วเมื่อถึงเวลา ยุคศิวิไล ไทยเราจะได้ผนวกรวมแผ่นดินเดิมกลับคืนสู่ดินแดนสุวรรณภูมิอีกครั้ง วันนี้ มรึงยังไม่เชื่อ แต่อีกไม่นาน มรึงจะเริ่มเห็นแสงสีทองตามที่กูบอก ไม่มีผิด เพราะกูนั่งไทม์แมชชีนไปกับโดราเอมอน ไปดูมาแล้ว อะไรน่ะ โนบิตะได้แต่งงานกับชิซูกะหรือไม่ อ๋อ..เสร็จอีโดราเอม่อนจ๊ะ 555+) 27 มีนาคม 68 17.24 น. ------------------------------------------------------------------------— เข้าถ้ำ RONIN คลิกที่ LINK ตามนี้ : https://line.me/R/ti/p/@mheecnn หรือเข้า LINE OFFICIAL ACCOUNT https://voom-studio.line.biz/account/@hfs0310u/voom หรือเสิร์หหาใน LINE ได้ที่ @hfs0310u **เพจหลักของหมี CNN คือ** https://www.minds.com/mheecnn2/ เพจ VK ของรัสเซีย พิมคำว่า Frank Mheecnn www.vk.com/id448335733 **เพจหมี CNN ใน Twitter ตัวใหม่ล่าสุด!** https://twitter.com/CnnMhee **เพจหมี CNN ใน FB ห้องปิด ตัวใหม่ล่าสุด(2568)** ชื่อเพจ "SUBPRAYUTH THALUFAH" สัปยุทธ ทะลุฟ้า https://www.facebook.com/profile.php?id=61573193903186
    LINE.ME
    title
    description
    0 Comments 0 Shares 399 Views 0 Reviews
  • ท้องฟ้าผ่องอำไพ ประชาชนเป็นใหญ่ในแผ่นดิน ? แต่พวกคอมมิวนิสต์มากีกี้ของแม้วหมด
    ท้องฟ้าผ่องอำไพ ประชาชนเป็นใหญ่ในแผ่นดิน ? แต่พวกคอมมิวนิสต์มากีกี้ของแม้วหมด
    0 Comments 0 Shares 93 Views 0 Reviews
  • เหลนเจียงไคเชกออกจากไต้หวันทุนนิยมไปใช้ชีวิตในจีนแผ่นดินใหญ่คอมมิวนิสต์! 😆ตอนนี้เขาอยู่ที่หางโจวจะชนะสงครามได้อย่างไรโดยไม่ต้องสู้รบ!(เจียง ไคเชกและภริยาของเขา พร้อมด้วย เอฟดีอาร์ และเชอร์ชิล ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2)
    เหลนเจียงไคเชกออกจากไต้หวันทุนนิยมไปใช้ชีวิตในจีนแผ่นดินใหญ่คอมมิวนิสต์! 😆ตอนนี้เขาอยู่ที่หางโจวจะชนะสงครามได้อย่างไรโดยไม่ต้องสู้รบ!(เจียง ไคเชกและภริยาของเขา พร้อมด้วย เอฟดีอาร์ และเชอร์ชิล ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2)
    Like
    2
    0 Comments 0 Shares 145 Views 0 Reviews
  • เหรียญพิทักษ์เสรีชน ปี2512
    เหรียญพิทักษ์เสรีชน "อสาธุํ สาธุนา ชิเน" ปี2512 // พระราชทานแก่ผู้ที่กระทำการปราบปรามผู้ก่อการร้าย คอมมิวนิสต์ // พระสถาพสวย ผิวหิ้ง พระดูง่าย เนื้อแห้ง หายากกครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >>

    ** พุทธคุณ แคล้วคลาดปลอดภัย มหาอุด ทั้งคงกระพันชาตรี เจริญก้าวหน้าในอาชีพการงาน เลื่อนยศ เลื่อนตำแหน่ง การเงิน โชคลาภค้าขาย เรียกทรัพย์ เมตตามหานิยม ประสบการณ์มากมาย รวมทั้งไล่ภูตผี และใช้กันเสนียดจัญไรได้อีกด้วย >>

    ** เหรียญพิทักษ์เสรีชน (ส.ช.) ชั้นที่1 "อสาธุํ สาธุนา ชิเน" ปี ๒๕๑๒ เป็นเหรียญสำหรับพระราชทานเป็นบำเหน็จกล้าหาญ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่๙ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเหรียญนี้ขึ้นสำหรับ พระราชทานแก่ทหาร ตำรวจ และราษฎร ซึ่งได้ปฏิบัติการสู้รบกับผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ด้วยความกล้าหาญ หรือได้รับบาดเจ็บ หรือตายในการสู้รบ และการสู้รบนั้นได้ก่อให้เกิดผลดีแก่การปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ สมควรให้มีเหรียญพิทักษ์เสรีชน สำหรับพระราชทานแก่บุคคลดังกล่าว เพื่อเป็นเกียรติแก่วงศ์ตระกูล โดยตรา พระราชบัญญัติเหรียญพิทักษ์เสรีชน พ.ศ. ๒๕๑๒ >>


    ** พระสถาพสวย ผิวหิ้ง พระดูง่าย เนื้อแห้ง หายากกครับ

    ช่องทางติดต่อ
    LINE 0881915131
    โทรศัพท์ 0881915131
    เหรียญพิทักษ์เสรีชน ปี2512 เหรียญพิทักษ์เสรีชน "อสาธุํ สาธุนา ชิเน" ปี2512 // พระราชทานแก่ผู้ที่กระทำการปราบปรามผู้ก่อการร้าย คอมมิวนิสต์ // พระสถาพสวย ผิวหิ้ง พระดูง่าย เนื้อแห้ง หายากกครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >> ** พุทธคุณ แคล้วคลาดปลอดภัย มหาอุด ทั้งคงกระพันชาตรี เจริญก้าวหน้าในอาชีพการงาน เลื่อนยศ เลื่อนตำแหน่ง การเงิน โชคลาภค้าขาย เรียกทรัพย์ เมตตามหานิยม ประสบการณ์มากมาย รวมทั้งไล่ภูตผี และใช้กันเสนียดจัญไรได้อีกด้วย >> ** เหรียญพิทักษ์เสรีชน (ส.ช.) ชั้นที่1 "อสาธุํ สาธุนา ชิเน" ปี ๒๕๑๒ เป็นเหรียญสำหรับพระราชทานเป็นบำเหน็จกล้าหาญ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่๙ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเหรียญนี้ขึ้นสำหรับ พระราชทานแก่ทหาร ตำรวจ และราษฎร ซึ่งได้ปฏิบัติการสู้รบกับผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ด้วยความกล้าหาญ หรือได้รับบาดเจ็บ หรือตายในการสู้รบ และการสู้รบนั้นได้ก่อให้เกิดผลดีแก่การปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ สมควรให้มีเหรียญพิทักษ์เสรีชน สำหรับพระราชทานแก่บุคคลดังกล่าว เพื่อเป็นเกียรติแก่วงศ์ตระกูล โดยตรา พระราชบัญญัติเหรียญพิทักษ์เสรีชน พ.ศ. ๒๕๑๒ >> ** พระสถาพสวย ผิวหิ้ง พระดูง่าย เนื้อแห้ง หายากกครับ ช่องทางติดต่อ LINE 0881915131 โทรศัพท์ 0881915131
    0 Comments 0 Shares 306 Views 0 Reviews
  • 56 ปี สิ้น “อิศรา อมันตกุล” นายกสมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทยคนแรก
    ตำนานนักหนังสือพิมพ์ผู้กล้า ✊ สู่ต้นแบบนักสื่อสารมวลชนไทย

    รัฐจับขัง 5 ปี ไม่มีสั่งฟ้อง! แต่หัวใจนักข่าวไม่เคยสิ้นไฟ

    📌 ถ้าพูดถึงตำนานนักข่าวไทย ชื่อ “อิศรา อมันตกุล” คงเป็นหนึ่งในบุคคล ที่ถูกกล่าวถึงมากที่สุด เพราะคือผู้ที่ไม่เพียงแต่เป็น นายกสมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทยคนแรก แต่ยังเป็นนักข่าว นักเขียน และนักต่อสู้เพื่อสิทธิเสรีภาพของประชาชน ตัวจริงเสียงจริง วั

    💥 ย้อนไปในอดีตเมื่อ 56 ปี ที่ผ่านมา เพื่อรำลึกถึงชายผู้พลิกโฉม วงการสื่อสารมวลชนไทย อย่างแท้จริง "อาจไม่ใช่คนดังในโลกออนไลน์ แต่ในยุคที่ปากกาคืออาวุธ อิศราคือหนึ่งในนักรบผู้ยิ่งใหญ่"

    “อิศรา อมันตกุล” นักหนังสือพิมพ์ที่ชีวิตจริงยิ่งกว่านวนิยาย
    🗓 เกิดวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2464
    🏠 เชื้อสายมุสลิมอินเดีย จากครอบครัวมูฮัมหมัดซาเลย์ อะมัน และวัน อมรทัต
    🎓 จบชั้นประถมจากโรงเรียนบำรุงวิทยา จ.นครปฐม และชั้นมัธยมจากโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน ปี 2479 คะแนนภาษาอังกฤษอันดับ 1 ของประเทศ

    ชีวิตอิศราไม่ใช่เส้นตรง เริ่มจากครูสอนหนังสือในนครศรีธรรมราช ก่อนที่โชคชะตาจะพากลับสู่เส้นทางของ “นักข่าว”

    นายกสมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทยคนแรก บทบาทที่สร้างมาตรฐานวิชาชีพสื่อไทย ในปี พ.ศ. 2499 อิศราได้รับเลือกให้เป็น นายกสมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทยคนแรก และดำรงตำแหน่งต่อเนื่อง 3 สมัย (2499 - 2501)

    💡 ผลงานสำคัญ เปลี่ยนรูปแบบการจัดหน้าหนังสือพิมพ์จาก 7 คอลัมน์เป็น 8 คอลัมน์ วางรากฐานจรรยาบรรณนักข่าวไทย 🌱 ปกป้องสิทธิเสรีภาพสื่อ แม้ต้องแลกด้วยอิสรภาพของตัวเองก็ตาม "อิศราเชื่อว่า หนังสือพิมพ์คือบันทึกประวัติศาสตร์รายวัน"

    เสรีภาพกับราคาที่ต้องจ่าย เมื่อ “อิศรา” ต้องติดคุกเกือบ 6 ปี โดยไม่มีการฟ้องร้อง!
    📆 วันที่ 21 ตุลาคม 2501 หลังรัฐประหารของจอมพลสฤษดิ์ อิศราในฐานะบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ บางกอกเดลิเมล์ ถูกจับกุมข้อหาคอมมิวนิสต์
    🚫 ไม่มีการสอบสวน ไม่มีการส่งฟ้อง
    ⏳ ถูกขัง 5 ปี 10 เดือน

    แม้จะอยู่ในเรือนจำ แต่อิศรายังคงเขียนงานอย่างต่อเนื่อง ใช้นามปากกามากกว่า 10 ชื่อ เช่น
    ✨ นายอิสระ
    ✨ มะงุมมะงาหรา
    ✨ ธนุธร
    ✨ ดร.x XYZ

    🗨 "เอ็งติดตะรางเพราะทำงานหนังสือพิมพ์ มันยังโก้กว่าติดตะรางเพราะเป็นหัวไม้" เสียงแม่ที่ยังอยู่ในใจอิศราเสมอ

    ผลงานเด่นในวงการหนังสือพิมพ์ ครอบคลุมทุกแขนงข่าว จนกลายเป็นต้นแบบนักข่าว
    📰 หนังสือพิมพ์ที่อิศราเคยร่วมงาน สุภาพบุรุษ, สุวัณณภูมิ, บางกอกรายวัน, พิมพ์ไทยเบื้องหลังข่าว, เอกราช, เดลินิวส์

    📍 อิศราคือผู้ควบคุมการผลิตข่าว สารคดีเชิงข่าว เรื่องแรกของไทย คดีปล้นร้านทองเบ๊ลี่แซ นำไปสร้างเป็นละครเวที และภาพยนตร์ในเวลาต่อมา

    🎯 เทคนิคข่าวของอิศรา เน้นความถูกต้อง เที่ยงธรรม และตรวจสอบได้ "ข่าวไม่ใช่การสร้างสีสัน แต่คือการสะท้อนความจริงของสังคม"

    จุดยืนเพื่อเสรีภาพและศักดิ์ศรี ไม่เคยยอมอำนาจรัฐ ไม่รับสินบน ไม่หวั่นคำขู่ อิศราเป็นนักข่าว ที่ไม่ยอมให้นายทุน หรืออำนาจรัฐแทรกแซงสื่อ
    💼 ตรวจสอบทุกแหล่งข่าว
    🛑 ไม่ประณามผู้ต้องหาโดยไม่มีหลักฐาน
    ✍ ไม่ละเมิดความเป็นส่วนตัวของบุคคล

    อิศราเคยกล่าวว่า "หนังสือพิมพ์อาจดูเหมือนกระดาษไร้ค่า แต่ในวันหน้า มันคือหลักฐานทางประวัติศาสตร์"

    นักเขียนนวนิยายที่ตีแผ่สังคมไทย ผลงานที่ฝังลึกในหัวใจคนไทย
    📚 นวนิยาย นักบุญ-คนบาป (2486)
    🎭 เรื่องสั้น-นวนิยายกว่า 100 เรื่อง
    🖋 ภาษาเขียนที่สวิงสวาย แตกต่างจากนักเขียนร่วมยุค

    "...ชีพจรของงานเต้นเร็วถี่ขึ้นเป็นลำดับ..."
    "...เสียงซ่าของคลื่นที่ยื่นปากจูบชายหาย..."

    จอมพลสฤษดิ์ กับการปิดปากนักข่าว คุกคือคำตอบของรัฐต่อ “ปากกา” ของอิศรา
    📅 ตุลาคม 2501 รัฐประหาร -> จับนักข่าว นักการเมือง นักวิชาการ 📌 รวมถึง กุหลาบ สายประดิษฐ์, สุวัฒน์ วรดิลก และอิศรา อมันตกุล ไม่มีการพิสูจน์ ไม่มีหลักฐาน แต่ถูกขังโดยไม่ไต่สวน

    "นักหนังสือพิมพ์ถูกจับเ พราะเขียนข่าวที่รัฐไม่พอใจ"

    แม้ไร้อิสรภาพ แต่หัวใจยังคงเสรี เขียนหนังสือแม้ในเรือนจำ ใช้หลายนามปากกาเขียนคอลัมน์ และเรื่องสั้น

    📜 แสดงความกล้าหาญในการพูดถึงสังคม
    📢 ปกป้องเสรีภาพผ่านตัวหนังสือ

    "การติดคุกเพราะทำหนังสือพิมพ์ ยังโก้กว่าเป็นหัวไม้!" แม่ของอิศรา

    วาระสุดท้ายที่ไม่สิ้นไฟ ปากกาวาง...แต่คำยังสะท้อนก้อง

    🕯 เสียชีวิต 14 มีนาคม 2512 ด้วยโรคมะเร็งลิ้น อายุ 47 ปี "ผมไม่เสียใจเลย ที่เกิดมาเป็นหนังสือพิมพ์"
    แม้เจ็บป่วยแ ต่ยังเขียนข้อความสั้นๆ ฝากถึงเพื่อนร่วมวิชาชีพ

    ✒ ปณิธานนักข่าวไม่เคยจางหาย สารจากอิศรา ถึงคนข่าวรุ่นใหม่ "ข้าพเจ้าเป็นคนสามัญคนหนึ่ง ซึ่งมั่นหมายจะเขียน เฉพาะเรื่องราวของประชาชน เพื่อถ่ายทอดความคิด ความรู้สึก ความดิ้นรน และความหวังจากประชาชนไปสู่ประชาชน เพราะประชาชนเท่านั้นที่เป็นผู้กำลังต่อสู้ และกำลังทำงานเพื่อสร้างเสรีภาพอันถูกต้อง และศตวรรษแห่งสามัญชน"

    สรุปบทเรียนจากชีวิต “อิศรา อมันตกุล”
    ✨ นักข่าวคือผู้บันทึกประวัติศาสตร์
    ✨ เสรีภาพไม่ใช่ของขวัญจากรัฐ แต่คือสิทธิที่ต้องรักษา
    ✨ จรรยาบรรณต้องมาก่อนผลประโยชน์
    ✨ ปากกาคืออาวุธ แต่ใจต้องเป็นธรรม

    🔖 คำคมจากอิศรา 🖋 "หนังสือพิมพ์คือเอกสารทางประวัติศาสตร์อย่างหนึ่ง และนักข่าวคือผู้บันทึกประวัติศาสตร์วันต่อวัน"

    “เพราะหนังสือพิมพ์ในวันนี้ คือประวัติศาสตร์ของวันหน้า”

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 141021 มี.ค. 2568

    🏷️ #อิศราอมันตกุล #นักข่าวต้นแบบ #เสรีภาพสื่อไทย #สมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทย #นักหนังสือพิมพ์ในตำนาน #ประวัติศาสตร์ข่าวไทย #ชีวิตอิศรา #นักข่าวสายตรง #นักเขียนเพื่อประชาชน #สื่อเสรีไทย
    56 ปี สิ้น “อิศรา อมันตกุล” นายกสมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทยคนแรก ตำนานนักหนังสือพิมพ์ผู้กล้า ✊ สู่ต้นแบบนักสื่อสารมวลชนไทย รัฐจับขัง 5 ปี ไม่มีสั่งฟ้อง! แต่หัวใจนักข่าวไม่เคยสิ้นไฟ 📌 ถ้าพูดถึงตำนานนักข่าวไทย ชื่อ “อิศรา อมันตกุล” คงเป็นหนึ่งในบุคคล ที่ถูกกล่าวถึงมากที่สุด เพราะคือผู้ที่ไม่เพียงแต่เป็น นายกสมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทยคนแรก แต่ยังเป็นนักข่าว นักเขียน และนักต่อสู้เพื่อสิทธิเสรีภาพของประชาชน ตัวจริงเสียงจริง วั 💥 ย้อนไปในอดีตเมื่อ 56 ปี ที่ผ่านมา เพื่อรำลึกถึงชายผู้พลิกโฉม วงการสื่อสารมวลชนไทย อย่างแท้จริง "อาจไม่ใช่คนดังในโลกออนไลน์ แต่ในยุคที่ปากกาคืออาวุธ อิศราคือหนึ่งในนักรบผู้ยิ่งใหญ่" “อิศรา อมันตกุล” นักหนังสือพิมพ์ที่ชีวิตจริงยิ่งกว่านวนิยาย 🗓 เกิดวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2464 🏠 เชื้อสายมุสลิมอินเดีย จากครอบครัวมูฮัมหมัดซาเลย์ อะมัน และวัน อมรทัต 🎓 จบชั้นประถมจากโรงเรียนบำรุงวิทยา จ.นครปฐม และชั้นมัธยมจากโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน ปี 2479 คะแนนภาษาอังกฤษอันดับ 1 ของประเทศ ชีวิตอิศราไม่ใช่เส้นตรง เริ่มจากครูสอนหนังสือในนครศรีธรรมราช ก่อนที่โชคชะตาจะพากลับสู่เส้นทางของ “นักข่าว” นายกสมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทยคนแรก บทบาทที่สร้างมาตรฐานวิชาชีพสื่อไทย ในปี พ.ศ. 2499 อิศราได้รับเลือกให้เป็น นายกสมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทยคนแรก และดำรงตำแหน่งต่อเนื่อง 3 สมัย (2499 - 2501) 💡 ผลงานสำคัญ เปลี่ยนรูปแบบการจัดหน้าหนังสือพิมพ์จาก 7 คอลัมน์เป็น 8 คอลัมน์ วางรากฐานจรรยาบรรณนักข่าวไทย 🌱 ปกป้องสิทธิเสรีภาพสื่อ แม้ต้องแลกด้วยอิสรภาพของตัวเองก็ตาม "อิศราเชื่อว่า หนังสือพิมพ์คือบันทึกประวัติศาสตร์รายวัน" เสรีภาพกับราคาที่ต้องจ่าย เมื่อ “อิศรา” ต้องติดคุกเกือบ 6 ปี โดยไม่มีการฟ้องร้อง! 📆 วันที่ 21 ตุลาคม 2501 หลังรัฐประหารของจอมพลสฤษดิ์ อิศราในฐานะบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ บางกอกเดลิเมล์ ถูกจับกุมข้อหาคอมมิวนิสต์ 🚫 ไม่มีการสอบสวน ไม่มีการส่งฟ้อง ⏳ ถูกขัง 5 ปี 10 เดือน แม้จะอยู่ในเรือนจำ แต่อิศรายังคงเขียนงานอย่างต่อเนื่อง ใช้นามปากกามากกว่า 10 ชื่อ เช่น ✨ นายอิสระ ✨ มะงุมมะงาหรา ✨ ธนุธร ✨ ดร.x XYZ 🗨 "เอ็งติดตะรางเพราะทำงานหนังสือพิมพ์ มันยังโก้กว่าติดตะรางเพราะเป็นหัวไม้" เสียงแม่ที่ยังอยู่ในใจอิศราเสมอ ผลงานเด่นในวงการหนังสือพิมพ์ ครอบคลุมทุกแขนงข่าว จนกลายเป็นต้นแบบนักข่าว 📰 หนังสือพิมพ์ที่อิศราเคยร่วมงาน สุภาพบุรุษ, สุวัณณภูมิ, บางกอกรายวัน, พิมพ์ไทยเบื้องหลังข่าว, เอกราช, เดลินิวส์ 📍 อิศราคือผู้ควบคุมการผลิตข่าว สารคดีเชิงข่าว เรื่องแรกของไทย คดีปล้นร้านทองเบ๊ลี่แซ นำไปสร้างเป็นละครเวที และภาพยนตร์ในเวลาต่อมา 🎯 เทคนิคข่าวของอิศรา เน้นความถูกต้อง เที่ยงธรรม และตรวจสอบได้ "ข่าวไม่ใช่การสร้างสีสัน แต่คือการสะท้อนความจริงของสังคม" จุดยืนเพื่อเสรีภาพและศักดิ์ศรี ไม่เคยยอมอำนาจรัฐ ไม่รับสินบน ไม่หวั่นคำขู่ อิศราเป็นนักข่าว ที่ไม่ยอมให้นายทุน หรืออำนาจรัฐแทรกแซงสื่อ 💼 ตรวจสอบทุกแหล่งข่าว 🛑 ไม่ประณามผู้ต้องหาโดยไม่มีหลักฐาน ✍ ไม่ละเมิดความเป็นส่วนตัวของบุคคล อิศราเคยกล่าวว่า "หนังสือพิมพ์อาจดูเหมือนกระดาษไร้ค่า แต่ในวันหน้า มันคือหลักฐานทางประวัติศาสตร์" นักเขียนนวนิยายที่ตีแผ่สังคมไทย ผลงานที่ฝังลึกในหัวใจคนไทย 📚 นวนิยาย นักบุญ-คนบาป (2486) 🎭 เรื่องสั้น-นวนิยายกว่า 100 เรื่อง 🖋 ภาษาเขียนที่สวิงสวาย แตกต่างจากนักเขียนร่วมยุค "...ชีพจรของงานเต้นเร็วถี่ขึ้นเป็นลำดับ..." "...เสียงซ่าของคลื่นที่ยื่นปากจูบชายหาย..." จอมพลสฤษดิ์ กับการปิดปากนักข่าว คุกคือคำตอบของรัฐต่อ “ปากกา” ของอิศรา 📅 ตุลาคม 2501 รัฐประหาร -> จับนักข่าว นักการเมือง นักวิชาการ 📌 รวมถึง กุหลาบ สายประดิษฐ์, สุวัฒน์ วรดิลก และอิศรา อมันตกุล ไม่มีการพิสูจน์ ไม่มีหลักฐาน แต่ถูกขังโดยไม่ไต่สวน "นักหนังสือพิมพ์ถูกจับเ พราะเขียนข่าวที่รัฐไม่พอใจ" แม้ไร้อิสรภาพ แต่หัวใจยังคงเสรี เขียนหนังสือแม้ในเรือนจำ ใช้หลายนามปากกาเขียนคอลัมน์ และเรื่องสั้น 📜 แสดงความกล้าหาญในการพูดถึงสังคม 📢 ปกป้องเสรีภาพผ่านตัวหนังสือ "การติดคุกเพราะทำหนังสือพิมพ์ ยังโก้กว่าเป็นหัวไม้!" แม่ของอิศรา วาระสุดท้ายที่ไม่สิ้นไฟ ปากกาวาง...แต่คำยังสะท้อนก้อง 🕯 เสียชีวิต 14 มีนาคม 2512 ด้วยโรคมะเร็งลิ้น อายุ 47 ปี "ผมไม่เสียใจเลย ที่เกิดมาเป็นหนังสือพิมพ์" แม้เจ็บป่วยแ ต่ยังเขียนข้อความสั้นๆ ฝากถึงเพื่อนร่วมวิชาชีพ ✒ ปณิธานนักข่าวไม่เคยจางหาย สารจากอิศรา ถึงคนข่าวรุ่นใหม่ "ข้าพเจ้าเป็นคนสามัญคนหนึ่ง ซึ่งมั่นหมายจะเขียน เฉพาะเรื่องราวของประชาชน เพื่อถ่ายทอดความคิด ความรู้สึก ความดิ้นรน และความหวังจากประชาชนไปสู่ประชาชน เพราะประชาชนเท่านั้นที่เป็นผู้กำลังต่อสู้ และกำลังทำงานเพื่อสร้างเสรีภาพอันถูกต้อง และศตวรรษแห่งสามัญชน" สรุปบทเรียนจากชีวิต “อิศรา อมันตกุล” ✨ นักข่าวคือผู้บันทึกประวัติศาสตร์ ✨ เสรีภาพไม่ใช่ของขวัญจากรัฐ แต่คือสิทธิที่ต้องรักษา ✨ จรรยาบรรณต้องมาก่อนผลประโยชน์ ✨ ปากกาคืออาวุธ แต่ใจต้องเป็นธรรม 🔖 คำคมจากอิศรา 🖋 "หนังสือพิมพ์คือเอกสารทางประวัติศาสตร์อย่างหนึ่ง และนักข่าวคือผู้บันทึกประวัติศาสตร์วันต่อวัน" “เพราะหนังสือพิมพ์ในวันนี้ คือประวัติศาสตร์ของวันหน้า” ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 141021 มี.ค. 2568 🏷️ #อิศราอมันตกุล #นักข่าวต้นแบบ #เสรีภาพสื่อไทย #สมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทย #นักหนังสือพิมพ์ในตำนาน #ประวัติศาสตร์ข่าวไทย #ชีวิตอิศรา #นักข่าวสายตรง #นักเขียนเพื่อประชาชน #สื่อเสรีไทย
    0 Comments 0 Shares 781 Views 0 Reviews
  • 15 ปี สิ้น “จ่าเพียร ขาเหล็ก” ผู้กำกับนักสู้แห่งเทือกเขาบูโด ตำนานย้ายยากเย็น เซ่นสลับบัญชี โชคร้ายตายก่อนขึ้นรองผู้การ

    🚔 “คงอยากจะขอยศพันตำรวจเอกให้ผม ตอนที่ผมตายแล้ว” คำพูดที่ยังคงก้องในหัวใจคนไทยหลายคน… 🕊️

    🌿 ตำนานที่ยังไม่ลืม ผ่านมากว่า 15 ปี แล้ว... แต่เรื่องราวของ “จ่าเพียร ขาเหล็ก” หรือ พ.ต.อ.สมเพียร เอกสมญา ผกก.สภ.บันนังสตา ภ.จว.ยะลา ยังถูกเล่าขานในฐานะ “นักสู้แห่งเทือกเขาบูโด” ผู้ทุ่มเทชีวิตเพื่อความสงบสุขของแผ่นดินปลายด้ามขวาน 🗡️ แม้จะแลกด้วยความเหน็ดเหนื่อย เจ็บปวด และสุดท้าย... ชีวิต

    👮‍♂️ “สมเพียร เอกสมญา” หรือชื่อเล่นว่า “เนี้ยบ” เกิดเมื่อปี 2493 ในครอบครัวยากจนที่จังหวัดสงขลา ชีวิตในวัยเด็กเต็มไปด้วยความลำบาก ต้องช่วยพ่อแม่กรีดยาง เพื่อหารายได้จุนเจือครอบครัว แต่ความยากจน ไม่สามารถปิดกั้นความฝันได้ 🎓

    หลังเรียนจบชั้นประถมปีที่ 4 สมเพียรตัดสินใจเป็นศิษย์วัดเพื่อเรียนต่อ และก้าวขึ้นสู่การเป็นนักเรียนตำรวจ ต้องเปลี่ยนนามสกุลจาก “แซ่เจ่ง” เป็น “เอกสมญา” เพื่อเข้ารับราชการในยุคนั้น

    จุดเริ่มต้นของนักรบแดนใต้ ปี 2513 สมเพียรเริ่มต้นอาชีพตำรวจที่ สถานีตำรวจภูธรบันนังสตา ภ.จว.ยะลา ในช่วงเวลาที่ภาคใต้ร้อนระอุ จากความขัดแย้งของพรรคคอมมิวนิสต์มลายา (พคม.) และกลุ่มขบวนการแบ่งแยกดินแดน

    ชีวิตของสมเพียร ไม่ใช่แค่การจับผู้ร้ายทั่วไป แต่ต้องเผชิญหน้ากับสงครามกองโจร และการลอบสังหารเกือบทุกวัน 😔

    🔥 วีรกรรมและตำนาน “ขาเหล็ก” เหตุการณ์ปะทะที่เกือบเอาชีวิตไม่รอด ปี 2519 ขณะที่ครองยศ "จ่าสิบตำรวจ" ได้เข้าปะทะกับขบวนการก่อการไม่สงบ ที่จับตำรวจและครอบครัวเป็นตัวประกัน บนเขาเจาะปันตัง เหตุการณ์นั้นทำให้ จ่าเพียรเกือบเสียขาข้างซ้าย ต้องใส่เหล็กดามขามาตลอดชีวิต จนได้ฉายาว่า “จ่าเพียร ขาเหล็ก” 🦿

    🦾 “ผมไม่อยากเป็นวีรบุรุษ และจะไม่ขอตายในชุดนักรบ” พ.ต.อ.สมเพียร เอกสมญา

    🦅 ปฏิบัติการ “ยูงทอง” ชุดปฏิบัติการปราบปราม กลุ่มก่อการไม่สงบในบันนังสตา มีชื่อเสียงอย่างมากภาย ใต้การนำของจ่าเพียร เคยนำทีมเข้าปะทะกองกำลังกว่า 30 คน ในปี 2526 แม้ตัวเองจะโดนยิงที่ต้นขาขวา แต่ยังสู้ไม่ถอย ✊

    🏡 ความฝันสุดท้ายของจ่าเพียร อยากกลับบ้าน...แค่ใช้ชีวิตกับครอบครัว ในช่วงสุดท้ายของชีวิต พ.ต.อ.สมเพียร ยื่นเรื่องขอย้ายกลับไปอยู่ สภ.กันตัง จ.ตรัง บ้านเกิดของภรรยา เพื่อใช้ชีวิตเงียบสงบช่วง 18 เดือนก่อนเกษียณ แต่การโยกย้ายกลับไม่เกิดขึ้น แม้ว่าจะมีชื่อติดในโผโยกย้ายตั้งแต่แรก แต่ในขั้นตอนสุดท้าย กลับถูกสับเปลี่ยนชื่อ สลับบัญชี เพื่อหลีกทางให้คนของนักการเมือง 🍃

    จ่าเพียรไม่ยอมรับโผอัปยศ จึงเดินทางจากชายแดนใต้สู่กรุงเทพฯ ไปทวงถามความเป็นธรรม ถึงทำเนียบรัฐบาล และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ซึ่งได้รับคำปลอบใจว่า จะเยียวยาโดยให้ขึ้นตำแหน่ง "รองผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด" ก่อนที่จะเกษียณอายุราชการ

    💬 “ไม่มีการแต่งตั้งตำรวจครั้งไหนที่แย่เท่าครั้งนี้อีกแล้ว” แม้ว่าจ่าเพยีจะพูดด้วยน้ำตา แต่ไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง

    💔 วันแห่งความสูญเสีย ปฏิบัติการสุดท้ายที่บ้านทับช้าง ในเช้าวันศุกร์ที่ 12 มีนาคม 2553 จ่าเพียร พร้อมด้วยลูกน้อง 4 นาย และ อส.คนสนิทอีก 1 นาย นั่งรถยนต์ปิกอัพ โตโยต้าไฮลักซ์วีโก้ 4 ประตู สีน้ำตาล หมายเลขทะเบียน กข 9302 ยะลา และอส.คนสนิท อีก 1 นาย ออกลาดตระเวนในพื้นที่บ้านทับช้าง แต่ถูกกลุ่มก่อการไม่สงบ กดระเบิด และกราดยิงด้วยอาวุธสงครามอย่างหนัก จ่าเพียรได้รับบาดเจ็บสาหัส และเสียชีวิตในเวลาต่อมา ที่โรงพยาบาลศูนย์ยะลา ลูกน้องได้รับบาดเจ็บสาหัส 3 นาย และอีก 1 นายเสียชีวิต 🔫

    ⚰️ อายุ 59 ปี สิ้นสุดเส้นทางของนักรบผู้ภักดีต่อหน้าที่ บทเรียนชีวิตและความจริงที่เจ็บปวด การต่อสู้ของจ่าเพียร ไม่ใช่แค่ศึกในสนามรบ แต่ยังเป็นศึกในระบบราชการที่ซับซ้อน และมีปัญหาเรื่องอุปถัมภ์ จ่าเพียรไม่ได้รับโอกาสเลื่อนยศหรือโยกย้าย จนกว่าจะเสียชีวิตแล้ว ถึงได้เลื่อนยศ 7 ขั้น เป็น "พลตำรวจเอก" 🕊️

    ⚖️ ระบบที่ควรตอบแทนคนทุ่มเท กลับถูกแทนที่ด้วยสายสัมพันธ์และอำนาจ มรดกและแรงบันดาลใจ
    หลังจากการเสียชีวิตของจ่าเพียร สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ได้มอบเงินช่วยเหลือครอบครัวจำนวน 3 ล้านบาท และรับผิดชอบการศึกษาของลูก จนจบปริญญาตรี แต่สิ่งที่จ่าเพียรทิ้งไว้ไม่ใช่แค่เงินทอง

    ❤️ “จ่าเพียร ขาเหล็ก” กลายเป็นสัญลักษณ์ของตำรวจที่ทุ่มเท และไม่ยอมแพ้ต่ออุปถัมภ์

    🗣️ คำพูดสุดท้ายที่ยังตราตรึง "ผมไม่ได้อยากย้ายเพื่อความก้าวหน้า แต่อยากกลับไปอยู่กับครอบครัว ผมทำงานมา 40 ปี แทบไม่มีเวลาให้พวกเขาเลย"

    ❓ คำถามที่ยังไร้คำตอบ แม้เวลาจะผ่านไป 15 ปี แต่เรื่องราวของจ่าเพียร ยังเป็นกระจกสะท้อนปัญหาระบบราชการไทย หลายคนยังสงสัยว่า…

    - ทำไมตำรวจน้ำดี ต้องตายก่อนจึงได้รับการยกย่อง?
    - ทำไมระบบโยกย้าย ถึงเต็มไปด้วยข้อครหา?
    - ใครจะปกป้องผู้พิทักษ์สันติราษฎร์ ที่ไม่มีเส้นสาย?

    🤝 เสียงจากคนในพื้นที่ “จ่าเพียรกลับมาแล้ว” ไม่ใช่แค่ตำรวจ แต่เป็นที่พึ่งของชาวบ้าน

    🕊️ “กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ยะลา ปัตตานี นราธิวาส รู้จักจ่าเพียรในฐานะคนที่ไม่เคยทิ้งพื้นที่”

    🌳 "คนที่เคยเป็นเยาวชนไม่มีอนาคต กลายมาเป็นอาสาสมัครในทีมของจ่าเพียร ด้วยศรัทธาและความเชื่อมั่น"

    🕯️ ตำนานที่ไม่ควรจางหาย ผู้พิทักษ์สันติราษฎร์ที่ชื่อ "สมเพียร เอกสมญา" ไม่ได้ตายเพราะกระสุนหรือระเบิด แต่เพราะระบบที่ล้มเหลวในการดูแลคนดี 💐

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 121155 มี.ค. 2568

    #จ่าเพียรขาเหล็ก #ฮีโร่แดนใต้ #ผู้กำกับนักสู้ #สมเพียรเอกสมญา #ชายแดนใต้ #นักรบแห่งบูโด #ตำรวจไทย #ผู้พิทักษ์สันติราษฎร์ #วีรบุรุษแดนใต้ #ระบบอุปถัมภ์

    15 ปี สิ้น “จ่าเพียร ขาเหล็ก” ผู้กำกับนักสู้แห่งเทือกเขาบูโด ตำนานย้ายยากเย็น เซ่นสลับบัญชี โชคร้ายตายก่อนขึ้นรองผู้การ 🚔 “คงอยากจะขอยศพันตำรวจเอกให้ผม ตอนที่ผมตายแล้ว” คำพูดที่ยังคงก้องในหัวใจคนไทยหลายคน… 🕊️ 🌿 ตำนานที่ยังไม่ลืม ผ่านมากว่า 15 ปี แล้ว... แต่เรื่องราวของ “จ่าเพียร ขาเหล็ก” หรือ พ.ต.อ.สมเพียร เอกสมญา ผกก.สภ.บันนังสตา ภ.จว.ยะลา ยังถูกเล่าขานในฐานะ “นักสู้แห่งเทือกเขาบูโด” ผู้ทุ่มเทชีวิตเพื่อความสงบสุขของแผ่นดินปลายด้ามขวาน 🗡️ แม้จะแลกด้วยความเหน็ดเหนื่อย เจ็บปวด และสุดท้าย... ชีวิต 👮‍♂️ “สมเพียร เอกสมญา” หรือชื่อเล่นว่า “เนี้ยบ” เกิดเมื่อปี 2493 ในครอบครัวยากจนที่จังหวัดสงขลา ชีวิตในวัยเด็กเต็มไปด้วยความลำบาก ต้องช่วยพ่อแม่กรีดยาง เพื่อหารายได้จุนเจือครอบครัว แต่ความยากจน ไม่สามารถปิดกั้นความฝันได้ 🎓 หลังเรียนจบชั้นประถมปีที่ 4 สมเพียรตัดสินใจเป็นศิษย์วัดเพื่อเรียนต่อ และก้าวขึ้นสู่การเป็นนักเรียนตำรวจ ต้องเปลี่ยนนามสกุลจาก “แซ่เจ่ง” เป็น “เอกสมญา” เพื่อเข้ารับราชการในยุคนั้น จุดเริ่มต้นของนักรบแดนใต้ ปี 2513 สมเพียรเริ่มต้นอาชีพตำรวจที่ สถานีตำรวจภูธรบันนังสตา ภ.จว.ยะลา ในช่วงเวลาที่ภาคใต้ร้อนระอุ จากความขัดแย้งของพรรคคอมมิวนิสต์มลายา (พคม.) และกลุ่มขบวนการแบ่งแยกดินแดน ชีวิตของสมเพียร ไม่ใช่แค่การจับผู้ร้ายทั่วไป แต่ต้องเผชิญหน้ากับสงครามกองโจร และการลอบสังหารเกือบทุกวัน 😔 🔥 วีรกรรมและตำนาน “ขาเหล็ก” เหตุการณ์ปะทะที่เกือบเอาชีวิตไม่รอด ปี 2519 ขณะที่ครองยศ "จ่าสิบตำรวจ" ได้เข้าปะทะกับขบวนการก่อการไม่สงบ ที่จับตำรวจและครอบครัวเป็นตัวประกัน บนเขาเจาะปันตัง เหตุการณ์นั้นทำให้ จ่าเพียรเกือบเสียขาข้างซ้าย ต้องใส่เหล็กดามขามาตลอดชีวิต จนได้ฉายาว่า “จ่าเพียร ขาเหล็ก” 🦿 🦾 “ผมไม่อยากเป็นวีรบุรุษ และจะไม่ขอตายในชุดนักรบ” พ.ต.อ.สมเพียร เอกสมญา 🦅 ปฏิบัติการ “ยูงทอง” ชุดปฏิบัติการปราบปราม กลุ่มก่อการไม่สงบในบันนังสตา มีชื่อเสียงอย่างมากภาย ใต้การนำของจ่าเพียร เคยนำทีมเข้าปะทะกองกำลังกว่า 30 คน ในปี 2526 แม้ตัวเองจะโดนยิงที่ต้นขาขวา แต่ยังสู้ไม่ถอย ✊ 🏡 ความฝันสุดท้ายของจ่าเพียร อยากกลับบ้าน...แค่ใช้ชีวิตกับครอบครัว ในช่วงสุดท้ายของชีวิต พ.ต.อ.สมเพียร ยื่นเรื่องขอย้ายกลับไปอยู่ สภ.กันตัง จ.ตรัง บ้านเกิดของภรรยา เพื่อใช้ชีวิตเงียบสงบช่วง 18 เดือนก่อนเกษียณ แต่การโยกย้ายกลับไม่เกิดขึ้น แม้ว่าจะมีชื่อติดในโผโยกย้ายตั้งแต่แรก แต่ในขั้นตอนสุดท้าย กลับถูกสับเปลี่ยนชื่อ สลับบัญชี เพื่อหลีกทางให้คนของนักการเมือง 🍃 จ่าเพียรไม่ยอมรับโผอัปยศ จึงเดินทางจากชายแดนใต้สู่กรุงเทพฯ ไปทวงถามความเป็นธรรม ถึงทำเนียบรัฐบาล และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ซึ่งได้รับคำปลอบใจว่า จะเยียวยาโดยให้ขึ้นตำแหน่ง "รองผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด" ก่อนที่จะเกษียณอายุราชการ 💬 “ไม่มีการแต่งตั้งตำรวจครั้งไหนที่แย่เท่าครั้งนี้อีกแล้ว” แม้ว่าจ่าเพยีจะพูดด้วยน้ำตา แต่ไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง 💔 วันแห่งความสูญเสีย ปฏิบัติการสุดท้ายที่บ้านทับช้าง ในเช้าวันศุกร์ที่ 12 มีนาคม 2553 จ่าเพียร พร้อมด้วยลูกน้อง 4 นาย และ อส.คนสนิทอีก 1 นาย นั่งรถยนต์ปิกอัพ โตโยต้าไฮลักซ์วีโก้ 4 ประตู สีน้ำตาล หมายเลขทะเบียน กข 9302 ยะลา และอส.คนสนิท อีก 1 นาย ออกลาดตระเวนในพื้นที่บ้านทับช้าง แต่ถูกกลุ่มก่อการไม่สงบ กดระเบิด และกราดยิงด้วยอาวุธสงครามอย่างหนัก จ่าเพียรได้รับบาดเจ็บสาหัส และเสียชีวิตในเวลาต่อมา ที่โรงพยาบาลศูนย์ยะลา ลูกน้องได้รับบาดเจ็บสาหัส 3 นาย และอีก 1 นายเสียชีวิต 🔫 ⚰️ อายุ 59 ปี สิ้นสุดเส้นทางของนักรบผู้ภักดีต่อหน้าที่ บทเรียนชีวิตและความจริงที่เจ็บปวด การต่อสู้ของจ่าเพียร ไม่ใช่แค่ศึกในสนามรบ แต่ยังเป็นศึกในระบบราชการที่ซับซ้อน และมีปัญหาเรื่องอุปถัมภ์ จ่าเพียรไม่ได้รับโอกาสเลื่อนยศหรือโยกย้าย จนกว่าจะเสียชีวิตแล้ว ถึงได้เลื่อนยศ 7 ขั้น เป็น "พลตำรวจเอก" 🕊️ ⚖️ ระบบที่ควรตอบแทนคนทุ่มเท กลับถูกแทนที่ด้วยสายสัมพันธ์และอำนาจ มรดกและแรงบันดาลใจ หลังจากการเสียชีวิตของจ่าเพียร สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ได้มอบเงินช่วยเหลือครอบครัวจำนวน 3 ล้านบาท และรับผิดชอบการศึกษาของลูก จนจบปริญญาตรี แต่สิ่งที่จ่าเพียรทิ้งไว้ไม่ใช่แค่เงินทอง ❤️ “จ่าเพียร ขาเหล็ก” กลายเป็นสัญลักษณ์ของตำรวจที่ทุ่มเท และไม่ยอมแพ้ต่ออุปถัมภ์ 🗣️ คำพูดสุดท้ายที่ยังตราตรึง "ผมไม่ได้อยากย้ายเพื่อความก้าวหน้า แต่อยากกลับไปอยู่กับครอบครัว ผมทำงานมา 40 ปี แทบไม่มีเวลาให้พวกเขาเลย" ❓ คำถามที่ยังไร้คำตอบ แม้เวลาจะผ่านไป 15 ปี แต่เรื่องราวของจ่าเพียร ยังเป็นกระจกสะท้อนปัญหาระบบราชการไทย หลายคนยังสงสัยว่า… - ทำไมตำรวจน้ำดี ต้องตายก่อนจึงได้รับการยกย่อง? - ทำไมระบบโยกย้าย ถึงเต็มไปด้วยข้อครหา? - ใครจะปกป้องผู้พิทักษ์สันติราษฎร์ ที่ไม่มีเส้นสาย? 🤝 เสียงจากคนในพื้นที่ “จ่าเพียรกลับมาแล้ว” ไม่ใช่แค่ตำรวจ แต่เป็นที่พึ่งของชาวบ้าน 🕊️ “กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ยะลา ปัตตานี นราธิวาส รู้จักจ่าเพียรในฐานะคนที่ไม่เคยทิ้งพื้นที่” 🌳 "คนที่เคยเป็นเยาวชนไม่มีอนาคต กลายมาเป็นอาสาสมัครในทีมของจ่าเพียร ด้วยศรัทธาและความเชื่อมั่น" 🕯️ ตำนานที่ไม่ควรจางหาย ผู้พิทักษ์สันติราษฎร์ที่ชื่อ "สมเพียร เอกสมญา" ไม่ได้ตายเพราะกระสุนหรือระเบิด แต่เพราะระบบที่ล้มเหลวในการดูแลคนดี 💐 ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 121155 มี.ค. 2568 #จ่าเพียรขาเหล็ก #ฮีโร่แดนใต้ #ผู้กำกับนักสู้ #สมเพียรเอกสมญา #ชายแดนใต้ #นักรบแห่งบูโด #ตำรวจไทย #ผู้พิทักษ์สันติราษฎร์ #วีรบุรุษแดนใต้ #ระบบอุปถัมภ์
    0 Comments 0 Shares 976 Views 0 Reviews
  • Guan Wenhui สมาชิกสภานิติบัญญัติของจีนได้เสนอข้อกฎหมายใหม่ที่ช่วยให้บริษัทที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลจีนสามารถปกปิดข้อมูลแหล่งที่มาของซัพพลายเออร์ต่างประเทศได้ การเสนอแก้ไขครั้งนี้มุ่งเน้นไปที่การหลีกเลี่ยงข้อจำกัดทางการค้าจากสหรัฐฯ ที่ทำให้จีนมีความยากลำบากในการเข้าถึงโปรเซสเซอร์ที่ทันสมัย ซอฟต์แวร์ และเครื่องมือในการผลิตชิป

    Guan ซึ่งเป็นผู้แทนจาก National People’s Congress แนะนำว่าบริษัทที่ถูกสหรัฐฯ ขึ้นบัญชีดำไม่ควรต้องเปิดเผยแหล่งซัพพลายเออร์ในการเสนอราคาสาธารณะ การทำเช่นนี้จะช่วยลดแรงกดดันที่อาจทำให้ซัพพลายเออร์ต่างประเทศต้องตัดสัมพันธ์กับผู้ซื้อชาวจีน และทำให้การเข้าถึงเทคโนโลยีต่างประเทศยังคงมีอยู่

    บริษัทจีน โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริษัทที่ถูกขึ้นบัญชีดำ ได้ใช้วิธีการต่าง ๆ เช่น การลักลอบนำเข้าสินค้าจากประเทศที่สามเพื่อให้ได้ชิ้นส่วนที่ต้องการ ข้อกฎหมายใหม่นี้จะทำให้การตรวจสอบและการระบุส่วนประกอบของซัพพลายเออร์ต่างประเทศยากยิ่งขึ้นสำหรับนักวิเคราะห์ ผู้สังเกตการณ์ และเจ้าหน้าที่รัฐบาล

    แม้ว่าข้อเสนอจาก NPC อาจไม่ได้นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงนโยบายในทันที แต่ก็แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงสำคัญในลำดับความสำคัญของพรรคคอมมิวนิสต์จีน ความคิดเห็นของ Guan ยังบ่งชี้ว่าจีนกำลังมองหาวิธีการที่จะรักษาการเข้าถึงเทคโนโลยีระดับโลกขณะลดการเผชิญกับมาตรการคว่ำบาตรจากสหรัฐฯ นอกจากนี้ การผลักดันนวัตกรรมภายในประเทศยังเป็นเป้าหมายสำคัญที่จีนให้ความสำคัญมากยิ่งขึ้น

    https://www.tomshardware.com/tech-industry/chinese-lawmaker-proposes-law-to-allow-chinese-companies-to-hide-their-foreign-suppliers
    Guan Wenhui สมาชิกสภานิติบัญญัติของจีนได้เสนอข้อกฎหมายใหม่ที่ช่วยให้บริษัทที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลจีนสามารถปกปิดข้อมูลแหล่งที่มาของซัพพลายเออร์ต่างประเทศได้ การเสนอแก้ไขครั้งนี้มุ่งเน้นไปที่การหลีกเลี่ยงข้อจำกัดทางการค้าจากสหรัฐฯ ที่ทำให้จีนมีความยากลำบากในการเข้าถึงโปรเซสเซอร์ที่ทันสมัย ซอฟต์แวร์ และเครื่องมือในการผลิตชิป Guan ซึ่งเป็นผู้แทนจาก National People’s Congress แนะนำว่าบริษัทที่ถูกสหรัฐฯ ขึ้นบัญชีดำไม่ควรต้องเปิดเผยแหล่งซัพพลายเออร์ในการเสนอราคาสาธารณะ การทำเช่นนี้จะช่วยลดแรงกดดันที่อาจทำให้ซัพพลายเออร์ต่างประเทศต้องตัดสัมพันธ์กับผู้ซื้อชาวจีน และทำให้การเข้าถึงเทคโนโลยีต่างประเทศยังคงมีอยู่ บริษัทจีน โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริษัทที่ถูกขึ้นบัญชีดำ ได้ใช้วิธีการต่าง ๆ เช่น การลักลอบนำเข้าสินค้าจากประเทศที่สามเพื่อให้ได้ชิ้นส่วนที่ต้องการ ข้อกฎหมายใหม่นี้จะทำให้การตรวจสอบและการระบุส่วนประกอบของซัพพลายเออร์ต่างประเทศยากยิ่งขึ้นสำหรับนักวิเคราะห์ ผู้สังเกตการณ์ และเจ้าหน้าที่รัฐบาล แม้ว่าข้อเสนอจาก NPC อาจไม่ได้นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงนโยบายในทันที แต่ก็แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงสำคัญในลำดับความสำคัญของพรรคคอมมิวนิสต์จีน ความคิดเห็นของ Guan ยังบ่งชี้ว่าจีนกำลังมองหาวิธีการที่จะรักษาการเข้าถึงเทคโนโลยีระดับโลกขณะลดการเผชิญกับมาตรการคว่ำบาตรจากสหรัฐฯ นอกจากนี้ การผลักดันนวัตกรรมภายในประเทศยังเป็นเป้าหมายสำคัญที่จีนให้ความสำคัญมากยิ่งขึ้น https://www.tomshardware.com/tech-industry/chinese-lawmaker-proposes-law-to-allow-chinese-companies-to-hide-their-foreign-suppliers
    0 Comments 0 Shares 352 Views 0 Reviews
  • Alexsandr  Duginที่ปรึกษาคนแรกของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหพันธรัฐรัสเซีย เพิ่งให้สัมภาษณ์ BOMBSHELL โดยนักข่าวฝ่ายค้านชาวอูเครน Diana Panchenko นี่คือประเด็นที่สำคัญ1.ยูเครนพลาดโอกาสครั้งประวัติศาสตร์ในการแยกตัวเป็นเอกราช"ยูเครนหมดแรงและพลาดโอกาสทางประวัติศาสตร์ในการดำรงอยู่ทางการเมืองระดับชาติที่เป็นอิสระ"2.ยูเครนปฏิเสธโอกาสสร้างอาณาจักรรัสเซีย-ยูเครนที่ยิ่งใหญ่ ดูจินบอกกับชาวอูเครนว่า "แทนที่จะต่อสู้กันเอง เราควรจะร่วมกันต่อสู้กับผู้ที่โจมตีจักรวรรดิแห่งนี้ แต่ทุกอย่างกลับกลายเป็นตรงกันข้าม"3.ชาตินิยมยูเครนทำลายยูเครนเองดูจินกล่าวว่าชาตินิยมที่แท้จริงจะต้องปกป้องบูรณภาพแห่งดินแดน:"แต่ชาตินิยมยูเครนเป็นผู้ที่ […] ทำให้ [ยูเครน] อ่อนแอลง และลากเข้าสู่ความขัดแย้งที่สิ้นหวัง ซึ่งเป็นหายนะสำหรับยูเครนในฐานะรัฐที่มีอำนาจอธิปไตย"4.ชาติตะวันตกเสรีนิยมพยายามทำลายความร่วมมือของดูจินกับปูติน"การดำเนินการทั้งหมดนี้ Jeeranan Watteerachot ไม่เพียงแต่เป็นการต่อต้านปูตินเท่านั้น แต่ยังเป็นการต่อต้านรัสเซียด้วย เพราะเมื่อผู้รักชาติมารวมตัวกัน […] สิ่งนี้ไม่เพียงแต่เพิ่มศักยภาพให้กับเขาเท่านั้น แต่ยังเพิ่มทวีคูณอีกด้วย"5.ทรัมป์พลิกเปลี่ยนทัศนคติชนิด 180° ต่ออุดมการณ์สหรัฐฯ"เขายกเลิกนโยบายเกี่ยวกับความหลากหลายทางเพศ ขับไล่บุคคลข้ามเพศออกจากกองทัพ […] มันเป็นการตบหน้าการเคลื่อนไหวที่มุ่งสู่เสรีนิยม ลัทธิซาตาน และลัทธิหลังสมัยใหม่ในช่วง 40 ปีที่ผ่านมา"
    Alexsandr  Duginที่ปรึกษาคนแรกของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหพันธรัฐรัสเซีย เพิ่งให้สัมภาษณ์ BOMBSHELL โดยนักข่าวฝ่ายค้านชาวอูเครน Diana Panchenko นี่คือประเด็นที่สำคัญ1.ยูเครนพลาดโอกาสครั้งประวัติศาสตร์ในการแยกตัวเป็นเอกราช"ยูเครนหมดแรงและพลาดโอกาสทางประวัติศาสตร์ในการดำรงอยู่ทางการเมืองระดับชาติที่เป็นอิสระ"2.ยูเครนปฏิเสธโอกาสสร้างอาณาจักรรัสเซีย-ยูเครนที่ยิ่งใหญ่ ดูจินบอกกับชาวอูเครนว่า "แทนที่จะต่อสู้กันเอง เราควรจะร่วมกันต่อสู้กับผู้ที่โจมตีจักรวรรดิแห่งนี้ แต่ทุกอย่างกลับกลายเป็นตรงกันข้าม"3.ชาตินิยมยูเครนทำลายยูเครนเองดูจินกล่าวว่าชาตินิยมที่แท้จริงจะต้องปกป้องบูรณภาพแห่งดินแดน:"แต่ชาตินิยมยูเครนเป็นผู้ที่ […] ทำให้ [ยูเครน] อ่อนแอลง และลากเข้าสู่ความขัดแย้งที่สิ้นหวัง ซึ่งเป็นหายนะสำหรับยูเครนในฐานะรัฐที่มีอำนาจอธิปไตย"4.ชาติตะวันตกเสรีนิยมพยายามทำลายความร่วมมือของดูจินกับปูติน"การดำเนินการทั้งหมดนี้ [...] ไม่เพียงแต่เป็นการต่อต้านปูตินเท่านั้น แต่ยังเป็นการต่อต้านรัสเซียด้วย เพราะเมื่อผู้รักชาติมารวมตัวกัน […] สิ่งนี้ไม่เพียงแต่เพิ่มศักยภาพให้กับเขาเท่านั้น แต่ยังเพิ่มทวีคูณอีกด้วย"5.ทรัมป์พลิกเปลี่ยนทัศนคติชนิด 180° ต่ออุดมการณ์สหรัฐฯ"เขายกเลิกนโยบายเกี่ยวกับความหลากหลายทางเพศ ขับไล่บุคคลข้ามเพศออกจากกองทัพ […] มันเป็นการตบหน้าการเคลื่อนไหวที่มุ่งสู่เสรีนิยม ลัทธิซาตาน และลัทธิหลังสมัยใหม่ในช่วง 40 ปีที่ผ่านมา"
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 298 Views 0 Reviews
  • คอมมิวนิสต์ไทย มาเป็นทาสนายทุนรับใช้ทุน เอาแอกใส่คอตัวเอง ..แทนที่จะรักษาอุดมการณ์ปลดแอกจากทุน สวมชุดอำมาตย์หน้าใหญ่
    คอมมิวนิสต์ไทย มาเป็นทาสนายทุนรับใช้ทุน เอาแอกใส่คอตัวเอง ..แทนที่จะรักษาอุดมการณ์ปลดแอกจากทุน สวมชุดอำมาตย์หน้าใหญ่
    0 Comments 0 Shares 129 Views 0 Reviews
  • บทจะถูกทอดทิ้ง ยูเครนก็ถูก สหรัฐทอดทิ้งเอาได้ง่ายๆ หากศึกษาประวัติศาสตร์ในอดีตของไทย จะพบว่าครั้งหนึ่ง ไทยเองก็ถูกอเมริกาทอดทิ้งและเป็นบทเรียนให้เราได้รู้ว่า การเลือกข้าง ไม่ว่าจะมหาอำนาจข้างใดเขามองเห็นแค่ผลประโยชน์ของประเทศเขาเท่านั้น เรื่องมีอยู่ว่า....เมื่อในอดีต....ไทยเป็นประเทศเฉกเช่นเดียวกับหลายๆ ประเทศที่จะต้องรับมือการขยายอำนาจของประเทศคอมมิวนิสต์ อย่างรัสเซีย ผ่านเวียดนาม และจีนและสหรัฐอเมริกา ก็มีความพยายามในการสกัดกั้นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้การเข้ามาประจันของทั้งสองมหาอำนาจนี้บางประเทศก็เลือกที่จะเข้าข้างอำนาจหนึ่ง บางประเทศก็เลือกที่จะผูกพันกับอีกอำนาจหนึ่ง แต่การผูกพันกับอำนาจใดอำนาจหนึ่งมากก็ย่อมส่งผลเสียตามมาหากมีมหาอำนาจฝ่ายหนึ่งต้องถอยหลังไป ดังนั้นแล้วการทุ่มตัวในการพลิกให้เป็นฝ่ายชนะให้ได้จึงเป็นสิ่งที่น่าจะให้ผลประโยชน์ได้ดีที่สุดมากกว่าการแพ้ แต่มีคนไทยผู้หนึ่งนั้นมองอย่างแตกต่างออกไปที่ถึงจะไม่ชนะ แต่ก็ต้องไม่แพ้ กล่าวคือการ “หนีเสือปะจระเข้” จะไม่มีผลต่อการเลือกว่าเราจะต้องอยู่บนบกหรือในน้ำอีกต่อไป คนไทยผู้นี้คือ " ถนัด คอมันตร์ "“หากเราหนีเสือ [จีน] แล้วไปปะจระเข้ [โซเวียต] มันก็ไม่ได้เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ดีกว่านัก… ถ้าเราไม่มีทางอื่น เราอาจจะต้องอยู่กับจระเข้… ที่ว่ามานี้คือรูปแบบที่เป็นไปได้ถ้าสหรัฐอเมริกาต้องถอนกำลังออกจากประเทศเรา… เพราะเราไม่อาจบอกได้ว่าภูมิภาคของเราตอนนี้มีอำนาจมากพอ… เราหวังว่าทุกคนจะเข้าใจในประเด็นนี้ และช่วยสนับสนุนประเทศในภูมิภาคที่จะรวมตัวสร้างกลุ่มใหม่ขึ้นให้เหนียวแน่นกว่าเดิม” คำกล่าวนี้คือคำกล่าวของถนัด คอมันตร์ ผู้เป็นรัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศที่เป็นระดับตำนานของไทยที่จะคิดหาวิธีอยู่รอดในวันที่สหรัฐอเมริกากำลังเลือกที่จะถอนกำลังออก และในวันที่ประเทศที่เป็นคอมมิวนิสต์นั้นมีพลังมากขึ้นด้วยการรวมกลุ่มประเทศที่ไม่เป็นคอมมิวนิสต์เพื่อคานอิทธิพลของอำนาจแดงเอาไว้ Choawalit Chotwattanaphong เรามักจะคุ้นหูว่าหลักการ Nixon (Nixon Doctrine) ที่ประกาศว่าสหรัฐอเมริกาจะถอนกำลังออกจากเวียดนามได้ทำให้ประเทศไทยต้องเปลี่ยนนโยบายกับประเทศคอมมิวนิสต์ แต่ความจริงแล้วการเปลี่ยนทิศของนโยบายการต่างประเทศไทยนั้นได้เริ่มขึ้นก่อนที่การตัดสินใจของสหรัฐอเมริกาจะเกิดขึ้น และการตัดสินใจนี้เองก็มีส่วนที่ทำให้สงครามเวียดนามบรรเทาความรุนแรงลงด้วย การตัดสินใจเปลี่ยนทิศของไทยนั้นเริ่มหลังจากที่ประธานาธิบดีลินดอน จอห์นสัน ประกาศนโยบายกลับลำให้คุยสันติภาพหลังจากการรุกตรุษญวน ในการนี้ ถนัด คอมันตร์ และคนอื่นๆ ได้มีการกล่าวว่าสหรัฐอเมริกาได้สร้างข้อสงสัยขึ้นให้กับประเทศอื่นๆ และตอนนี้ไทยก็ได้รู้ตัวอย่างแจ่มแจ้งมากกว่าเก่าว่าการพึ่งกับสหรัฐอเมริกานั้นไม่ใช่ทางที่ดีอีกต่อไปถึงแม้ว่าสหรัฐอเมริกาจะต้องถอนทัพออกไป แต่ถนัดก็ได้ขอให้การถอนทัพนี้เป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไปตามความเหมาะสมของสถานการณ์ และไทยเองก็ต้องสร้างความสัมพันธ์กับประเทศคอมมิวนิสต์ในท่ามกลางดุลอำนาจที่เปลี่ยนไปนี้ด้วย ถนัดจึงได้คิดค้นการทูตแบบยืดหยุ่นขึ้นในขณะนั้นถนัดประเมินว่ามีอยู่ 5 แนวทางสำหรับนโยบายการต่างประเทศของไทยในอนาคต คือ ทางเลือกที่หนึ่ง การไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด แต่นโยบายนี้เขาพบว่ามหาอำนาจจะไม่ยอมให้ประเทศเล็กๆ ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด และมักจะโดนยำเสมอ ทางเลือกนี้จึงตัดทิ้งไป ทางที่สอง คือการเข้าไปหาคอมมิวนิสต์โดยตรงและ “ชนะใจ” ในเชิงการทูตเพื่อให้อยู่ร่วมกันได้ซึ่งถนัดก็เห็นว่ามีความเป็นไปได้ เพียงแต่ยังไม่ใช่ในตอนนั้น ทางเลือกที่สาม คือการประกาศว่าเป็นกลางคือจะไม่ยุ่งเกี่ยวกับประเด็นสงครามหรือความขัดแย้งทั้งสิ้นซึ่งต่างจากการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด แต่เขาก็ประเมินว่าประเทศคอมมิวนิสต์คงไม่อยู่เฉยๆ เพราะถึงเราจะเป็นกลาง แต่คอมมิวนิสต์ไม่กลางด้วย หรือทางที่สี่ การเข้าไปร่วมกับคอมมิวนิสต์ด้วยเลยก็ไม่มีประโยชน์เพราะจะถูกบีบได้เสมอ เขาเห็นว่าทางที่ห้า เป็นไปได้มากที่สุดคือการรวมกลุ่มประเทศที่ไม่ใช่คอมมิวนิสต์ในภูมิภาคเข้าไว้ด้วยกันเพื่อเป็นพลังต่อรองใหม่ ซึ่งนี่คือจุดกำเนิดของ ASEAN นั่นเองถนัดเป็นผู้ริเริ่มเรื่องนี้ขึ้นเนื่องจากประเทศต่างๆ ในเอเชียไม่ต้องการพึ่งพลังจากภายนอกอีกต่อไป แต่ในขณะเดียวกันก็สามารถจัดการต่อรองประเด็นต่างๆ ได้อย่างเท่าเทียมและมีพลังด้วย ถึงแม้ว่าถนัดในช่วงก่อนนั้นจะเห็นว่าการมีอยู่ของกองทัพสหรัฐอเมริกานั้นเป็นประโยชน์แต่ก็เสียความชอบธรรมลงไปเพราะการเมืองในประเทศของสหรัฐอเมริกาเอง ซึ่งถนัดได้ชี้ว่า “เป้าหมายของสหรัฐอเมริกาเปลี่ยนไป เราไม่ได้เปลี่ยน พวกเขาต่างหากที่เปลี่ยน การมีอยู่ของกองทัพอเมริกันในไทยเสียความชอบธรรมไปแล้ว” และเขายังได้ติติงว่าสหรัฐอเมริกาจะเป็นมหาอำนาจได้ก็ต่อเมื่อรับผิดชอบในภารกิจของตนให้เสร็จสิ้น การถอนทัพออกไปนั้นจะไม่ใช่แค่ส่งผลต่อประเทศอื่น แต่ยังส่งผลไปยังสหรัฐอเมริกาเองด้วยว่าไม่สามารถทำหน้าที่มหาอำนาจได้อีกต่อไปอย่างไรก็ดี ถนัดได้เดินหน้าต่อในการวางแนวทางใหม่ทางการทูตที่ไม่ต้องพึ่งสหรัฐอเมริกาอีกต่อไป พร้อมกับที่สหรัฐอเมริกาค่อยๆ ถอนกำลังออกจากไทย การถอนทัพนี้ได้สร้างความไม่ลงรอยทางการเมืองในไทยเองด้วย กล่าวคือกลุ่มกองทัพไทยยังคงอยากให้กองทัพสหรัฐอเมริกาอยู่ต่อไปเพื่อเป็นหลักประกันความปลอดภัย ส่วนกลุ่มในกระทรวงการต่างประเทศนั้นแม้จะยังอยากให้กองทัพอยู่เช่นกัน แต่ก็ตระหนักถึงความจริงที่สหรัฐอเมริกาได้ตัดสินใจไปแล้วด้วย ดังนั้นพวกเขาจึงตระหนักว่าการถอนทัพออกของอเมริกันเองก็ได้มอบพื้นที่ใหม่ทางการต่างประเทศให้กับไทยและภูมิภาคด้วยการถอนกำลังของสหรัฐอเมริกานั้นสามารถก่อให้เกิดช่องว่างทางอำนาจขึ้นได้ ดังนั้นการร่วมมือของประเทศในภูมิภาคจึงเป็นสิ่งสำคัญ ไทยจึงกลายเป็นหัวหอกในการพาชาติต่างๆ เข้ามาร่วมทำงานด้วยกันในการสร้างสันติภาพภายใต้องค์การ ASEAN ที่จะกลายเป็นสิ่งที่ถ่วงเอาไว้ไม่ให้เกิดช่องว่างอำนาจจนอาจสั่นคลอนภูมิภาคได้ แต่ ASEAN แตกต่างจากองค์การอื่นๆ ก่อนหน้าเช่น SEATO เพราะ ASEAN ไม่ใช่องค์การในเชิงทหาร แต่เป็นองค์การเชิงการเมือง โดยถนัดชี้ว่าต่อให้ทุกประเทศรวมกันในเชิงกองกำลังก็ยังต้านจีนไม่ได้ วิธีการจึงต้องเป็นวิธีอื่นนอกจากการทหารควบคู่ไปกับการร่วมมือกันของประเทศต่างๆ ไทย (และประเทศอื่น) ก็เริ่มหาแนวทางปรับความสัมพันธ์กับประเทศคอมมิวนิสต์ ถนัดได้เขียนบทความลง Times เดือนสิงหาคม ค.ศ. 1969 (พ.ศ. 2512) ว่า “จนถึงตอนนี้ก็ยังไม่มีการพูดคุยในทางการทูตระหว่างกันระหว่างเรากับประเทศคอมมิวนิสต์ แต่เราจะต้องพยายามให้เกิดขึ้นให้ได้ แต่เราจะทำได้ก็ต่อเมื่อประเทศในอาเซียนสามารถร่วมมือกันอย่างเป็นระบบได้ในการโน้มน้าวให้กลุ่มคอมมิวนิสต์ละทิ้งสงครามและร่วมมือกันอย่างสร้างสรรค์” นั่นหมายความว่าถนัดได้เห็นแล้วว่าการผ่อนคลายระหว่างกัน (Détente) นั้นเป็นสิ่งที่จะต้องทำซึ่งในช่วงเวลาของเขานั้นเรื่องนี้คือสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ แต่เขาก็ยังเชื่อว่าจะเป็นนโยบายที่ “สามารถปฏิบัติได้จริงในอนาคต” เพราะว่าประเทศคอมมิวนิสต์ไม่สามารถมีท่าทีในเชิงรุกได้ตลอดไป ดังนั้นไทยต้องเตรียมที่จะปรับเปลี่ยนตัวเองให้สอดคล้องด้วย หรือเป็นการ “มีนโยบายที่ยืดหยุ่นมากขึ้นกับจีน” เขาจึงกล่าวว่า “ถ้าปักกิ่งมีสัญญาณว่าเราสามารถพูดคุยกันได้เมื่อไร ผมจะแนะนำให้รัฐบาลไทยไปนั่งโต๊ะทันที แต่ตอนนี้สัญญาณนั้นยังไม่เกิดขึ้น” ถนัดยืนยันว่าไทยไม่ต่อต้านคอมมิวนิสต์หรือจีน และต้องการที่จะพูดคุยหาทางในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติให้ได้ ถนัดยังกล่าวต่อไปอีกว่าจีนต่างหากที่ต้านไทยเพราะรัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศของจีนนั้นพูดเองว่าจะทำสงครามกองโจรกับไทยถนัดนั้นจึงเตรียมพร้อมเสมอในการไปปักกิ่ง และคาดกันว่าเขาเตรียมจะส่ง ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช ไปเจรจา หรือกระทั่งแคล้ว นรปติ ซึ่งเป็นนักการเมืองสายสังคมนิยมในขณะนั้น ไปเพื่อถามกันตรงๆ ว่า ที่ว่าจะทำสงครามเป็นเพราะอะไร แต่ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์นั้นได้ออกมาปฏิเสธในการไปคุยกับจีนว่าไม่มีประโยชน์เพราะคำตอบนั้นชัดอยู่แล้วว่าเพราะไทยอยู่ข้างสหรัฐอเมริกา อย่างไรก็ดีถนัดได้ยืนยันว่านโยบายต่างประเทศไทยนั้นไม่เคยเปลี่ยนเลย คือ การปกป้องเอกราชของประเทศไทยนั้นคือสิ่งที่ดำเนินมาตลอด แต่วิธีการที่จะบรรลุเป้าหมายนี้จะต้องปรับเปลี่ยนไปตามบริบทดังที่เขากล่าวว่า “เราต้องตระหนักสถานการณ์ในปัจจุบันที่ดุลอำนาจเปลี่ยนไปแล้ว แต่เราไม่ได้เปลี่ยนนโยบายของเรา นโยบายของเราเหมือนเดิม และเราจะไม่มีวันปล่อยหลักการทางศีลธรรมและทางสติปัญญาของเราทิ้งไป” ดังนั้นจึงหมายความว่าแม้จะ “ลู่ลม” แต่ “ราก” นั้นไม่เปลี่ยนไปตามลมนั่นเองหลักการการทูตที่ยืดหยุ่นนั้นประกอบไปด้วยสามประการ คือ ไม่อเมริกัน การร่วมมือในภูมิภาค และการผ่อนคลายความตึงเครียด ถนัดได้สร้างช่องทางในการติดต่อกับจีนผ่านคนที่สามในการหาทางอยู่ร่วมกัน เช่น UN รวมไปถึงการติดต่อกับโซเวียตไปพร้อมกันด้วย แม้ว่าถนัดจะยืนยันว่านโยบายไม่ได้เปลี่ยนก็ตาม แต่การใช้วิธีแบบยืดหยุ่นนี้ได้สร้างการผ่อนคลายได้ในที่สุด และได้กลายเป็นฐานให้ผู้มีอำนาจอื่นๆ ต่อยอดวิธีการของถนัดในการอยู่กับประเทศคอมมิวนิสต์อย่างสันติและปกป้องเอกราชของไทยเอาไว้ได้ถนัดจึงสมควรได้รับการยกย่องที่สุดว่า “ถนัดและคนอื่นๆ ได้คิดในสิ่งที่มิอาจจินตนาการได้ในสงครามเย็น นั่นคือการอยู่ร่วมกับทั้งจระเข้และเสืออย่างปลอดภัย” และนี่คือถนัด คอมันตร์ ตำนานรัฐมนตรีต่างประเทศของไทยตลอดกาล #มูลนิธิสยามรีกอเดอ #LueHistory #ประวัติศาสตร์ #ฤๅคัฟเวอรี่
    บทจะถูกทอดทิ้ง ยูเครนก็ถูก สหรัฐทอดทิ้งเอาได้ง่ายๆ หากศึกษาประวัติศาสตร์ในอดีตของไทย จะพบว่าครั้งหนึ่ง ไทยเองก็ถูกอเมริกาทอดทิ้งและเป็นบทเรียนให้เราได้รู้ว่า การเลือกข้าง ไม่ว่าจะมหาอำนาจข้างใดเขามองเห็นแค่ผลประโยชน์ของประเทศเขาเท่านั้น เรื่องมีอยู่ว่า....เมื่อในอดีต....ไทยเป็นประเทศเฉกเช่นเดียวกับหลายๆ ประเทศที่จะต้องรับมือการขยายอำนาจของประเทศคอมมิวนิสต์ อย่างรัสเซีย ผ่านเวียดนาม และจีนและสหรัฐอเมริกา ก็มีความพยายามในการสกัดกั้นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้การเข้ามาประจันของทั้งสองมหาอำนาจนี้บางประเทศก็เลือกที่จะเข้าข้างอำนาจหนึ่ง บางประเทศก็เลือกที่จะผูกพันกับอีกอำนาจหนึ่ง แต่การผูกพันกับอำนาจใดอำนาจหนึ่งมากก็ย่อมส่งผลเสียตามมาหากมีมหาอำนาจฝ่ายหนึ่งต้องถอยหลังไป ดังนั้นแล้วการทุ่มตัวในการพลิกให้เป็นฝ่ายชนะให้ได้จึงเป็นสิ่งที่น่าจะให้ผลประโยชน์ได้ดีที่สุดมากกว่าการแพ้ แต่มีคนไทยผู้หนึ่งนั้นมองอย่างแตกต่างออกไปที่ถึงจะไม่ชนะ แต่ก็ต้องไม่แพ้ กล่าวคือการ “หนีเสือปะจระเข้” จะไม่มีผลต่อการเลือกว่าเราจะต้องอยู่บนบกหรือในน้ำอีกต่อไป คนไทยผู้นี้คือ " ถนัด คอมันตร์ "“หากเราหนีเสือ [จีน] แล้วไปปะจระเข้ [โซเวียต] มันก็ไม่ได้เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ดีกว่านัก… ถ้าเราไม่มีทางอื่น เราอาจจะต้องอยู่กับจระเข้… ที่ว่ามานี้คือรูปแบบที่เป็นไปได้ถ้าสหรัฐอเมริกาต้องถอนกำลังออกจากประเทศเรา… เพราะเราไม่อาจบอกได้ว่าภูมิภาคของเราตอนนี้มีอำนาจมากพอ… เราหวังว่าทุกคนจะเข้าใจในประเด็นนี้ และช่วยสนับสนุนประเทศในภูมิภาคที่จะรวมตัวสร้างกลุ่มใหม่ขึ้นให้เหนียวแน่นกว่าเดิม” คำกล่าวนี้คือคำกล่าวของถนัด คอมันตร์ ผู้เป็นรัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศที่เป็นระดับตำนานของไทยที่จะคิดหาวิธีอยู่รอดในวันที่สหรัฐอเมริกากำลังเลือกที่จะถอนกำลังออก และในวันที่ประเทศที่เป็นคอมมิวนิสต์นั้นมีพลังมากขึ้นด้วยการรวมกลุ่มประเทศที่ไม่เป็นคอมมิวนิสต์เพื่อคานอิทธิพลของอำนาจแดงเอาไว้ [1]เรามักจะคุ้นหูว่าหลักการ Nixon (Nixon Doctrine) ที่ประกาศว่าสหรัฐอเมริกาจะถอนกำลังออกจากเวียดนามได้ทำให้ประเทศไทยต้องเปลี่ยนนโยบายกับประเทศคอมมิวนิสต์ แต่ความจริงแล้วการเปลี่ยนทิศของนโยบายการต่างประเทศไทยนั้นได้เริ่มขึ้นก่อนที่การตัดสินใจของสหรัฐอเมริกาจะเกิดขึ้น และการตัดสินใจนี้เองก็มีส่วนที่ทำให้สงครามเวียดนามบรรเทาความรุนแรงลงด้วย การตัดสินใจเปลี่ยนทิศของไทยนั้นเริ่มหลังจากที่ประธานาธิบดีลินดอน จอห์นสัน ประกาศนโยบายกลับลำให้คุยสันติภาพหลังจากการรุกตรุษญวน ในการนี้ ถนัด คอมันตร์ และคนอื่นๆ ได้มีการกล่าวว่าสหรัฐอเมริกาได้สร้างข้อสงสัยขึ้นให้กับประเทศอื่นๆ และตอนนี้ไทยก็ได้รู้ตัวอย่างแจ่มแจ้งมากกว่าเก่าว่าการพึ่งกับสหรัฐอเมริกานั้นไม่ใช่ทางที่ดีอีกต่อไปถึงแม้ว่าสหรัฐอเมริกาจะต้องถอนทัพออกไป แต่ถนัดก็ได้ขอให้การถอนทัพนี้เป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไปตามความเหมาะสมของสถานการณ์ และไทยเองก็ต้องสร้างความสัมพันธ์กับประเทศคอมมิวนิสต์ในท่ามกลางดุลอำนาจที่เปลี่ยนไปนี้ด้วย ถนัดจึงได้คิดค้นการทูตแบบยืดหยุ่นขึ้นในขณะนั้นถนัดประเมินว่ามีอยู่ 5 แนวทางสำหรับนโยบายการต่างประเทศของไทยในอนาคต คือ ทางเลือกที่หนึ่ง การไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด แต่นโยบายนี้เขาพบว่ามหาอำนาจจะไม่ยอมให้ประเทศเล็กๆ ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด และมักจะโดนยำเสมอ ทางเลือกนี้จึงตัดทิ้งไป ทางที่สอง คือการเข้าไปหาคอมมิวนิสต์โดยตรงและ “ชนะใจ” ในเชิงการทูตเพื่อให้อยู่ร่วมกันได้ซึ่งถนัดก็เห็นว่ามีความเป็นไปได้ เพียงแต่ยังไม่ใช่ในตอนนั้น ทางเลือกที่สาม คือการประกาศว่าเป็นกลางคือจะไม่ยุ่งเกี่ยวกับประเด็นสงครามหรือความขัดแย้งทั้งสิ้นซึ่งต่างจากการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด แต่เขาก็ประเมินว่าประเทศคอมมิวนิสต์คงไม่อยู่เฉยๆ เพราะถึงเราจะเป็นกลาง แต่คอมมิวนิสต์ไม่กลางด้วย หรือทางที่สี่ การเข้าไปร่วมกับคอมมิวนิสต์ด้วยเลยก็ไม่มีประโยชน์เพราะจะถูกบีบได้เสมอ เขาเห็นว่าทางที่ห้า เป็นไปได้มากที่สุดคือการรวมกลุ่มประเทศที่ไม่ใช่คอมมิวนิสต์ในภูมิภาคเข้าไว้ด้วยกันเพื่อเป็นพลังต่อรองใหม่ ซึ่งนี่คือจุดกำเนิดของ ASEAN นั่นเองถนัดเป็นผู้ริเริ่มเรื่องนี้ขึ้นเนื่องจากประเทศต่างๆ ในเอเชียไม่ต้องการพึ่งพลังจากภายนอกอีกต่อไป แต่ในขณะเดียวกันก็สามารถจัดการต่อรองประเด็นต่างๆ ได้อย่างเท่าเทียมและมีพลังด้วย ถึงแม้ว่าถนัดในช่วงก่อนนั้นจะเห็นว่าการมีอยู่ของกองทัพสหรัฐอเมริกานั้นเป็นประโยชน์แต่ก็เสียความชอบธรรมลงไปเพราะการเมืองในประเทศของสหรัฐอเมริกาเอง ซึ่งถนัดได้ชี้ว่า “เป้าหมายของสหรัฐอเมริกาเปลี่ยนไป เราไม่ได้เปลี่ยน พวกเขาต่างหากที่เปลี่ยน การมีอยู่ของกองทัพอเมริกันในไทยเสียความชอบธรรมไปแล้ว” และเขายังได้ติติงว่าสหรัฐอเมริกาจะเป็นมหาอำนาจได้ก็ต่อเมื่อรับผิดชอบในภารกิจของตนให้เสร็จสิ้น การถอนทัพออกไปนั้นจะไม่ใช่แค่ส่งผลต่อประเทศอื่น แต่ยังส่งผลไปยังสหรัฐอเมริกาเองด้วยว่าไม่สามารถทำหน้าที่มหาอำนาจได้อีกต่อไปอย่างไรก็ดี ถนัดได้เดินหน้าต่อในการวางแนวทางใหม่ทางการทูตที่ไม่ต้องพึ่งสหรัฐอเมริกาอีกต่อไป พร้อมกับที่สหรัฐอเมริกาค่อยๆ ถอนกำลังออกจากไทย การถอนทัพนี้ได้สร้างความไม่ลงรอยทางการเมืองในไทยเองด้วย กล่าวคือกลุ่มกองทัพไทยยังคงอยากให้กองทัพสหรัฐอเมริกาอยู่ต่อไปเพื่อเป็นหลักประกันความปลอดภัย ส่วนกลุ่มในกระทรวงการต่างประเทศนั้นแม้จะยังอยากให้กองทัพอยู่เช่นกัน แต่ก็ตระหนักถึงความจริงที่สหรัฐอเมริกาได้ตัดสินใจไปแล้วด้วย ดังนั้นพวกเขาจึงตระหนักว่าการถอนทัพออกของอเมริกันเองก็ได้มอบพื้นที่ใหม่ทางการต่างประเทศให้กับไทยและภูมิภาคด้วยการถอนกำลังของสหรัฐอเมริกานั้นสามารถก่อให้เกิดช่องว่างทางอำนาจขึ้นได้ ดังนั้นการร่วมมือของประเทศในภูมิภาคจึงเป็นสิ่งสำคัญ ไทยจึงกลายเป็นหัวหอกในการพาชาติต่างๆ เข้ามาร่วมทำงานด้วยกันในการสร้างสันติภาพภายใต้องค์การ ASEAN ที่จะกลายเป็นสิ่งที่ถ่วงเอาไว้ไม่ให้เกิดช่องว่างอำนาจจนอาจสั่นคลอนภูมิภาคได้ แต่ ASEAN แตกต่างจากองค์การอื่นๆ ก่อนหน้าเช่น SEATO เพราะ ASEAN ไม่ใช่องค์การในเชิงทหาร แต่เป็นองค์การเชิงการเมือง โดยถนัดชี้ว่าต่อให้ทุกประเทศรวมกันในเชิงกองกำลังก็ยังต้านจีนไม่ได้ วิธีการจึงต้องเป็นวิธีอื่นนอกจากการทหารควบคู่ไปกับการร่วมมือกันของประเทศต่างๆ ไทย (และประเทศอื่น) ก็เริ่มหาแนวทางปรับความสัมพันธ์กับประเทศคอมมิวนิสต์ ถนัดได้เขียนบทความลง Times เดือนสิงหาคม ค.ศ. 1969 (พ.ศ. 2512) ว่า “จนถึงตอนนี้ก็ยังไม่มีการพูดคุยในทางการทูตระหว่างกันระหว่างเรากับประเทศคอมมิวนิสต์ แต่เราจะต้องพยายามให้เกิดขึ้นให้ได้ แต่เราจะทำได้ก็ต่อเมื่อประเทศในอาเซียนสามารถร่วมมือกันอย่างเป็นระบบได้ในการโน้มน้าวให้กลุ่มคอมมิวนิสต์ละทิ้งสงครามและร่วมมือกันอย่างสร้างสรรค์” นั่นหมายความว่าถนัดได้เห็นแล้วว่าการผ่อนคลายระหว่างกัน (Détente) นั้นเป็นสิ่งที่จะต้องทำซึ่งในช่วงเวลาของเขานั้นเรื่องนี้คือสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ แต่เขาก็ยังเชื่อว่าจะเป็นนโยบายที่ “สามารถปฏิบัติได้จริงในอนาคต” เพราะว่าประเทศคอมมิวนิสต์ไม่สามารถมีท่าทีในเชิงรุกได้ตลอดไป ดังนั้นไทยต้องเตรียมที่จะปรับเปลี่ยนตัวเองให้สอดคล้องด้วย หรือเป็นการ “มีนโยบายที่ยืดหยุ่นมากขึ้นกับจีน” เขาจึงกล่าวว่า “ถ้าปักกิ่งมีสัญญาณว่าเราสามารถพูดคุยกันได้เมื่อไร ผมจะแนะนำให้รัฐบาลไทยไปนั่งโต๊ะทันที แต่ตอนนี้สัญญาณนั้นยังไม่เกิดขึ้น” ถนัดยืนยันว่าไทยไม่ต่อต้านคอมมิวนิสต์หรือจีน และต้องการที่จะพูดคุยหาทางในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติให้ได้ ถนัดยังกล่าวต่อไปอีกว่าจีนต่างหากที่ต้านไทยเพราะรัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศของจีนนั้นพูดเองว่าจะทำสงครามกองโจรกับไทยถนัดนั้นจึงเตรียมพร้อมเสมอในการไปปักกิ่ง และคาดกันว่าเขาเตรียมจะส่ง ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช ไปเจรจา หรือกระทั่งแคล้ว นรปติ ซึ่งเป็นนักการเมืองสายสังคมนิยมในขณะนั้น ไปเพื่อถามกันตรงๆ ว่า ที่ว่าจะทำสงครามเป็นเพราะอะไร แต่ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์นั้นได้ออกมาปฏิเสธในการไปคุยกับจีนว่าไม่มีประโยชน์เพราะคำตอบนั้นชัดอยู่แล้วว่าเพราะไทยอยู่ข้างสหรัฐอเมริกา อย่างไรก็ดีถนัดได้ยืนยันว่านโยบายต่างประเทศไทยนั้นไม่เคยเปลี่ยนเลย คือ การปกป้องเอกราชของประเทศไทยนั้นคือสิ่งที่ดำเนินมาตลอด แต่วิธีการที่จะบรรลุเป้าหมายนี้จะต้องปรับเปลี่ยนไปตามบริบทดังที่เขากล่าวว่า “เราต้องตระหนักสถานการณ์ในปัจจุบันที่ดุลอำนาจเปลี่ยนไปแล้ว แต่เราไม่ได้เปลี่ยนนโยบายของเรา นโยบายของเราเหมือนเดิม และเราจะไม่มีวันปล่อยหลักการทางศีลธรรมและทางสติปัญญาของเราทิ้งไป” ดังนั้นจึงหมายความว่าแม้จะ “ลู่ลม” แต่ “ราก” นั้นไม่เปลี่ยนไปตามลมนั่นเองหลักการการทูตที่ยืดหยุ่นนั้นประกอบไปด้วยสามประการ คือ ไม่อเมริกัน การร่วมมือในภูมิภาค และการผ่อนคลายความตึงเครียด ถนัดได้สร้างช่องทางในการติดต่อกับจีนผ่านคนที่สามในการหาทางอยู่ร่วมกัน เช่น UN รวมไปถึงการติดต่อกับโซเวียตไปพร้อมกันด้วย แม้ว่าถนัดจะยืนยันว่านโยบายไม่ได้เปลี่ยนก็ตาม แต่การใช้วิธีแบบยืดหยุ่นนี้ได้สร้างการผ่อนคลายได้ในที่สุด และได้กลายเป็นฐานให้ผู้มีอำนาจอื่นๆ ต่อยอดวิธีการของถนัดในการอยู่กับประเทศคอมมิวนิสต์อย่างสันติและปกป้องเอกราชของไทยเอาไว้ได้ถนัดจึงสมควรได้รับการยกย่องที่สุดว่า “ถนัดและคนอื่นๆ ได้คิดในสิ่งที่มิอาจจินตนาการได้ในสงครามเย็น นั่นคือการอยู่ร่วมกับทั้งจระเข้และเสืออย่างปลอดภัย” และนี่คือถนัด คอมันตร์ ตำนานรัฐมนตรีต่างประเทศของไทยตลอดกาล #มูลนิธิสยามรีกอเดอ #LueHistory #ประวัติศาสตร์ #ฤๅคัฟเวอรี่
    0 Comments 0 Shares 657 Views 0 Reviews
  • 54 ปี ลอบสังหาร “ครูโกมล คีมทอง” คอมมิวนิสต์เข้าใจผิด! คิดว่าเป็น… สายลับรัฐบาลไทย

    ย้อนรอยโศกนาฏกรรม ครูหนุ่มผู้มุ่งมั่นเพื่อการศึกษาในชนบท แต่ต้องจบชีวิตอย่างน่าเศร้า ท่ามกลางความเข้าใจผิด ในยุคสมัย ที่ความขัดแย้งทางอุดมการณ์ ร้อนระอุ

    📌 เหตุการณ์สะเทือนขวัญ ที่ยังเป็นปริศนา ย้อนไปเมื่อ 54 ปี ที่ผ่านมา วันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2514 เสียงปืนดังขึ้นที่บ้านเหนือคลอง หมู่ที่ 4 ตำบลสินเจริญ กิ่งอำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ทำให้ครูหนุ่มวัยเพียง 24 ปี ต้องจบชีวิตลงอย่างโหดร้าย

    "โกมล คีมทอง ครูหนุ่มที่มีอุดมการณ์แรงกล้า มุ่งมั่นที่จะพัฒนาเยาวชน ในพื้นที่ห่างไกล ผ่านระบบการศึกษา ที่เหมาะสมกับชุมชน ทว่า… ด้วยความเข้าใจผิด ของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) ทำให้ถูกตราหน้าว่า เป็นสายลับของรัฐบาลไทย และนำไปสู่การสังหารอันน่าเศร้า

    เรื่องราวของครูโกมล เต็มไปด้วยความซับซ้อน เป็นเหยื่อของสงครามอุดมการณ์ ที่ทั้งฝ่ายรัฐ และฝ่ายคอมมิวนิสต์ ต่างก็เพ่งเล็งและไม่ไว้ใจ จนกระทั่งความเข้าใจผิดครั้งใหญ่ ได้คร่าชีวิตพร้อมเพื่อนร่วมอุดมการณ์ อีกสองคน

    📖 ครูโกมล คีมทอง จากเด็กหนุ่มหัวใจนักสู้ สู่ครูผู้เสียสละ
    👦🏻 "ครูโกมล คีมทอง" เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2489 ที่ จังหวัดสุโขทัย เติบโตขึ้นมาในครอบครัว ที่ให้ความสำคัญ กับการศึกษา

    จบชั้นประถมศึกษา จากโรงเรียนบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยม จากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพฯ และเข้าศึกษาต่อ ที่คณะคุรุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด้วยความมุ่งมั่นที่จะเป็นครู

    🎓 เส้นทางสู่อาชีพครู และอุดมการณ์ที่แรงกล้า
    ระหว่างเรียนมหาวิทยาลัย โกมลเป็นนิสิตที่กระตือรือร้น เข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสา และค่ายพัฒนาชนบทเป็นประจำ ทำให้เห็นถึงความลำบากของเด็ก ในพื้นที่ห่างไกล และตัดสินใจแน่วแน่ว่า "ชีวิตนี้จะอุทิศให้กับการศึกษาในชนบท"

    ในปีสุดท้ายของการเรียน ครูโกมลได้รับโอกาสเข้าร่วม “ค่ายพัฒนากำลังคน เหมืองห้วยในเขา” ซึ่งจัดขึ้นที่เหมืองแร่แห่งหนึ่ง ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ที่นี่เอง ที่โกมลได้เห็นปัญหาการศึกษาของเด็กๆ ในพื้นที่ห่างไกล และตัดสินใจที่จะทำสิ่งที่ยิ่งใหญ่ นั่นคือ "สร้างโรงเรียนชุมชน"

    🏫 โรงเรียนชุมชนที่เหมืองห้วยในเขา อุดมการณ์ที่เป็นภัย
    🎯 จุดมุ่งหมายของครูโกมล โรงเรียนที่ครูโกมลตั้งใจสร้าง ไม่ใช่แค่สถานศึกษาแบบทั่วไป แต่เป็นโรงเรียนที่ออกแบบมา ให้เหมาะกับวิถีชีวิตของชาวบ้าน

    ✔️ หลักสูตรพิเศษ เน้นวิชาที่สอดคล้องกับการดำรงชีวิต เช่น การเกษตร ปศุสัตว์ และงานช่าง
    ✔️ วัฒนธรรมท้องถิ่น ส่งเสริมมรดกทางวัฒนธรรม เช่น หนังตะลุง มโนราห์ และนิทานพื้นบ้าน
    ✔️ ชุมชนเป็นศูนย์กลาง โรงเรียนได้รับการสนับสนุนจากชาวบ้าน ไม่ใช่รัฐ

    แนวคิดเช่นนี้ ทำให้ทั้งรัฐบาล และพรรคคอมมิวนิสต์จับตามอง ด้วยความสงสัยว่า "แท้จริงแล้ว ครูโกมลทำงานให้ฝ่ายใด?"

    🔥 สงครามอุดมการณ์ จุดเริ่มต้นของความหวาดระแวง
    🏴 ฝ่ายรัฐบาลมองว่า ครูโกมลเป็น "แนวร่วมคอมมิวนิสต์"
    รัฐบาลไทยในขณะนั้น มีนโยบายต่อต้านคอมมิวนิสต์ อย่างรุนแรง เจ้าหน้าที่รัฐบางคนเห็นว่า แนวคิดของครูโกมล อาจสนับสนุนอุดมการณ์ ของพรรคคอมมิวนิสต์ โรงเรียนของครูโกมล ไม่ได้ใช้หลักสูตร จากกระทรวงศึกษาธิการ ทำให้เกิดข้อสงสัยว่า อาจเป็นศูนย์กลาง ของขบวนการล้มล้างอำนาจรัฐ

    🚩 ฝ่ายคอมมิวนิสต์มองว่า "สายลับรัฐบาล"
    ขณะนั้น พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) กำลังทำสงครามกองโจร กับรัฐบาลไทย การที่ครูโกมล เดินทางไปพบปะชาวบ้าน ถ่ายภาพ และรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรม ทำให้พคท.เข้าใจว่ากำลังสอดแนม อีกทั้งการที่ครูโกมล ได้รับเงินสนับสนุนจาก "มูลนิธิเอเชีย" ซึ่งเป็นองค์กรต่างชาติ ยิ่งทำให้พคท.เชื่อว่า กำลังทำงานให้รัฐบาลไทย สุดท้าย... ความเข้าใจผิดนี้ นำไปสู่โศกนาฏกรรม ที่ไม่มีวันย้อนคืน

    ☠️ โศกนาฏกรรม คืนสังหารที่ไม่มีวันลืม
    22 กุมภาพันธ์ 2514 📍 บ้านเหนือคลอง อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
    ครูโกมล คีมทอง, รัตนา สกุลไทย บัณฑิตอักษรศาสตร์ จุฬาฯ และเสรี ปรีชา หมอเร่ขายยา ถูกกลุ่มกองกำลัง พรรคคอมมิวนิสต จับตัวไป และถูกยิงเสียชีวิตในที่สุด

    หลังจากเหตุการณ์นี้ รัฐบาลไทยได้โปรยใบปลิวปฏิเสธว่า "ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการสังหาร" ขณะที่ พคท. ออกมายอมรับในเวลาต่อมาว่า "เป็นผู้ลงมือสังหาร เนื่องจากเข้าใจผิดคิดว่า ครูโกมลเป็นสายลับรัฐบาลไทย"

    🏛️ แม้ว่า "ครูโกมล คีมทอง" จะจากไป แต่สิ่งที่ได้ทำไว้ ยังคงเป็นที่จดจำ
    ✔️ การเสียสละทำให้เกิด “มูลนิธิโกมล คีมทอง” ในปี พ.ศ. 2514
    ✔️ สร้างแรงบันดาลใจ ให้คนรุ่นหลังอุทิศตน เพื่อพัฒนาสังคม
    ✔️ หลักสูตรการศึกษา ที่เน้นชุมชนเป็นศูนย์กลาง ยังคงเป็นแนวคิด ที่นำมาใช้ในการศึกษายุคใหม่

    🎭 ครูโกมลถูกฆ่าโดยใคร?
    👉 ฝ่ายรัฐบาล หรือ พรรคคอมมิวนิสต์?
    👉 เป็นเพียงครูธรรมดา หรือมีบทบาทที่ลึกซึ้งกว่านั้น?
    👉 ถ้าไม่มีการสังหารในวันนั้น ครูโกมลจะสามารถเปลี่ยนแปลงการศึกษาไทย ได้มากแค่ไหน?

    แม้ข้อเท็จจริง จะได้รับการเปิดเผยไปแล้ว แต่คำถามเหล่านี้ ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันมา จนถึงทุกวันนี้...

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 221245 ก.พ. 2568

    #️⃣ #ครูโกมลคีมทอง #54ปีลอบสังหาร #โกมลคีมทอง #ประวัติศาสตร์ไทย #คอมมิวนิสต์ไทย #การศึกษาชนบท #ความขัดแย้งทางอุดมการณ์ #มูลนิธิโกมลคีมทอง #ครูผู้เสียสละ #ประวัติศาสตร์ต้องรู้
    54 ปี ลอบสังหาร “ครูโกมล คีมทอง” คอมมิวนิสต์เข้าใจผิด! คิดว่าเป็น… สายลับรัฐบาลไทย ย้อนรอยโศกนาฏกรรม ครูหนุ่มผู้มุ่งมั่นเพื่อการศึกษาในชนบท แต่ต้องจบชีวิตอย่างน่าเศร้า ท่ามกลางความเข้าใจผิด ในยุคสมัย ที่ความขัดแย้งทางอุดมการณ์ ร้อนระอุ 📌 เหตุการณ์สะเทือนขวัญ ที่ยังเป็นปริศนา ย้อนไปเมื่อ 54 ปี ที่ผ่านมา วันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2514 เสียงปืนดังขึ้นที่บ้านเหนือคลอง หมู่ที่ 4 ตำบลสินเจริญ กิ่งอำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ทำให้ครูหนุ่มวัยเพียง 24 ปี ต้องจบชีวิตลงอย่างโหดร้าย "โกมล คีมทอง ครูหนุ่มที่มีอุดมการณ์แรงกล้า มุ่งมั่นที่จะพัฒนาเยาวชน ในพื้นที่ห่างไกล ผ่านระบบการศึกษา ที่เหมาะสมกับชุมชน ทว่า… ด้วยความเข้าใจผิด ของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) ทำให้ถูกตราหน้าว่า เป็นสายลับของรัฐบาลไทย และนำไปสู่การสังหารอันน่าเศร้า เรื่องราวของครูโกมล เต็มไปด้วยความซับซ้อน เป็นเหยื่อของสงครามอุดมการณ์ ที่ทั้งฝ่ายรัฐ และฝ่ายคอมมิวนิสต์ ต่างก็เพ่งเล็งและไม่ไว้ใจ จนกระทั่งความเข้าใจผิดครั้งใหญ่ ได้คร่าชีวิตพร้อมเพื่อนร่วมอุดมการณ์ อีกสองคน 📖 ครูโกมล คีมทอง จากเด็กหนุ่มหัวใจนักสู้ สู่ครูผู้เสียสละ 👦🏻 "ครูโกมล คีมทอง" เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2489 ที่ จังหวัดสุโขทัย เติบโตขึ้นมาในครอบครัว ที่ให้ความสำคัญ กับการศึกษา จบชั้นประถมศึกษา จากโรงเรียนบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยม จากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพฯ และเข้าศึกษาต่อ ที่คณะคุรุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด้วยความมุ่งมั่นที่จะเป็นครู 🎓 เส้นทางสู่อาชีพครู และอุดมการณ์ที่แรงกล้า ระหว่างเรียนมหาวิทยาลัย โกมลเป็นนิสิตที่กระตือรือร้น เข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสา และค่ายพัฒนาชนบทเป็นประจำ ทำให้เห็นถึงความลำบากของเด็ก ในพื้นที่ห่างไกล และตัดสินใจแน่วแน่ว่า "ชีวิตนี้จะอุทิศให้กับการศึกษาในชนบท" ในปีสุดท้ายของการเรียน ครูโกมลได้รับโอกาสเข้าร่วม “ค่ายพัฒนากำลังคน เหมืองห้วยในเขา” ซึ่งจัดขึ้นที่เหมืองแร่แห่งหนึ่ง ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ที่นี่เอง ที่โกมลได้เห็นปัญหาการศึกษาของเด็กๆ ในพื้นที่ห่างไกล และตัดสินใจที่จะทำสิ่งที่ยิ่งใหญ่ นั่นคือ "สร้างโรงเรียนชุมชน" 🏫 โรงเรียนชุมชนที่เหมืองห้วยในเขา อุดมการณ์ที่เป็นภัย 🎯 จุดมุ่งหมายของครูโกมล โรงเรียนที่ครูโกมลตั้งใจสร้าง ไม่ใช่แค่สถานศึกษาแบบทั่วไป แต่เป็นโรงเรียนที่ออกแบบมา ให้เหมาะกับวิถีชีวิตของชาวบ้าน ✔️ หลักสูตรพิเศษ เน้นวิชาที่สอดคล้องกับการดำรงชีวิต เช่น การเกษตร ปศุสัตว์ และงานช่าง ✔️ วัฒนธรรมท้องถิ่น ส่งเสริมมรดกทางวัฒนธรรม เช่น หนังตะลุง มโนราห์ และนิทานพื้นบ้าน ✔️ ชุมชนเป็นศูนย์กลาง โรงเรียนได้รับการสนับสนุนจากชาวบ้าน ไม่ใช่รัฐ แนวคิดเช่นนี้ ทำให้ทั้งรัฐบาล และพรรคคอมมิวนิสต์จับตามอง ด้วยความสงสัยว่า "แท้จริงแล้ว ครูโกมลทำงานให้ฝ่ายใด?" 🔥 สงครามอุดมการณ์ จุดเริ่มต้นของความหวาดระแวง 🏴 ฝ่ายรัฐบาลมองว่า ครูโกมลเป็น "แนวร่วมคอมมิวนิสต์" รัฐบาลไทยในขณะนั้น มีนโยบายต่อต้านคอมมิวนิสต์ อย่างรุนแรง เจ้าหน้าที่รัฐบางคนเห็นว่า แนวคิดของครูโกมล อาจสนับสนุนอุดมการณ์ ของพรรคคอมมิวนิสต์ โรงเรียนของครูโกมล ไม่ได้ใช้หลักสูตร จากกระทรวงศึกษาธิการ ทำให้เกิดข้อสงสัยว่า อาจเป็นศูนย์กลาง ของขบวนการล้มล้างอำนาจรัฐ 🚩 ฝ่ายคอมมิวนิสต์มองว่า "สายลับรัฐบาล" ขณะนั้น พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) กำลังทำสงครามกองโจร กับรัฐบาลไทย การที่ครูโกมล เดินทางไปพบปะชาวบ้าน ถ่ายภาพ และรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรม ทำให้พคท.เข้าใจว่ากำลังสอดแนม อีกทั้งการที่ครูโกมล ได้รับเงินสนับสนุนจาก "มูลนิธิเอเชีย" ซึ่งเป็นองค์กรต่างชาติ ยิ่งทำให้พคท.เชื่อว่า กำลังทำงานให้รัฐบาลไทย สุดท้าย... ความเข้าใจผิดนี้ นำไปสู่โศกนาฏกรรม ที่ไม่มีวันย้อนคืน ☠️ โศกนาฏกรรม คืนสังหารที่ไม่มีวันลืม 22 กุมภาพันธ์ 2514 📍 บ้านเหนือคลอง อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ครูโกมล คีมทอง, รัตนา สกุลไทย บัณฑิตอักษรศาสตร์ จุฬาฯ และเสรี ปรีชา หมอเร่ขายยา ถูกกลุ่มกองกำลัง พรรคคอมมิวนิสต จับตัวไป และถูกยิงเสียชีวิตในที่สุด หลังจากเหตุการณ์นี้ รัฐบาลไทยได้โปรยใบปลิวปฏิเสธว่า "ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการสังหาร" ขณะที่ พคท. ออกมายอมรับในเวลาต่อมาว่า "เป็นผู้ลงมือสังหาร เนื่องจากเข้าใจผิดคิดว่า ครูโกมลเป็นสายลับรัฐบาลไทย" 🏛️ แม้ว่า "ครูโกมล คีมทอง" จะจากไป แต่สิ่งที่ได้ทำไว้ ยังคงเป็นที่จดจำ ✔️ การเสียสละทำให้เกิด “มูลนิธิโกมล คีมทอง” ในปี พ.ศ. 2514 ✔️ สร้างแรงบันดาลใจ ให้คนรุ่นหลังอุทิศตน เพื่อพัฒนาสังคม ✔️ หลักสูตรการศึกษา ที่เน้นชุมชนเป็นศูนย์กลาง ยังคงเป็นแนวคิด ที่นำมาใช้ในการศึกษายุคใหม่ 🎭 ครูโกมลถูกฆ่าโดยใคร? 👉 ฝ่ายรัฐบาล หรือ พรรคคอมมิวนิสต์? 👉 เป็นเพียงครูธรรมดา หรือมีบทบาทที่ลึกซึ้งกว่านั้น? 👉 ถ้าไม่มีการสังหารในวันนั้น ครูโกมลจะสามารถเปลี่ยนแปลงการศึกษาไทย ได้มากแค่ไหน? แม้ข้อเท็จจริง จะได้รับการเปิดเผยไปแล้ว แต่คำถามเหล่านี้ ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันมา จนถึงทุกวันนี้... ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 221245 ก.พ. 2568 #️⃣ #ครูโกมลคีมทอง #54ปีลอบสังหาร #โกมลคีมทอง #ประวัติศาสตร์ไทย #คอมมิวนิสต์ไทย #การศึกษาชนบท #ความขัดแย้งทางอุดมการณ์ #มูลนิธิโกมลคีมทอง #ครูผู้เสียสละ #ประวัติศาสตร์ต้องรู้
    0 Comments 0 Shares 1143 Views 0 Reviews
  • แม่ฮ่องสอน - เปิดบันทึกอดีตปลัดอำเภอฯ ที่สมัครใจบรรจุใหม่ที่ปาย..40 ปีก่อน จนถึงวันนี้ ชุมชนท่องเที่ยวบนดอยสูงหลากชาติพันธุ์ ทั้งไต-คนเมือง-อดีตทหารกองพล 93 รวมถึงกะเหรี่ยง ม้ง ลีซอ ลาหู่หรือมูเซอร์ ว้า ฝรั่งแห่เข้ามานาน ก่อนยิวนิยมมาพักผ่อนระหว่างพักรบปาเลสไตน์ จากหลักร้อยเป็นหลักพัน จนมาอยู่อาศัย-ทำมาหากิน ตั้งโบสถ์ กระทั่งปายมีทั้งยิว-อิสลาม

    พันธุ์ชัย วัฒนชัย อดีตปลัดอำเภอปาย แม่ฮ่องสอน เมื่อ 40 กว่าปีก่อน (2522-2525) ได้เล่าเรื่องเมืองปายที่สัมผัสสมัยที่บรรจุเป็นข้าราชการใหม่ ว่า ชาวบ้านมีทั้งชาวไตหรือไทใหญ่ มีจำนวนมากที่สุด, รองมา ก็คนเมืองหรือไตยวน, จีนฮ่อหรือจีนยูนนาน (เช่นอดีตทหารกองพล 93 ของเจียงไคเช็กและลูกหลาน ที่เคยสู้รบกับพรรคคอมมิวนิสต์จีน นับถืออิสลาม และลัทธิขงจื๊อ เต๋า พุทธ), กลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย เช่น ปกาเกอะญอหรือกะเหรี่ยง ม้ง ลีซอ ลาหู่หรือมูเซอร์ ลัวะหรือว้า (ชนเผ่าดั้งเดิมของล้านนา ถือได้ว่าเป็นบรรพบุรุษสายหนึ่งของเจ้าผู้ครองนครในล้านนาก็ว่าได้ เช่นเชื้อสายเจ้าเจ็ดตน จากลำปาง หรือราชวงศ์ทิพย์จักร) และชาวไทยภาคกลาง

    สมัยนั้นจะมีฝรั่งมาเที่ยวบ้าง ขึ้นดอย หาฝิ่นสูบ เที่ยวชมธรรมชาติ ชาวบ้านเล่าให้ฟังว่าถนนก่อนเข้าปาย ขึ้นดอย มีที่หนึ่ง เรียกว่า กิ่วแหม่ม หมายถึงคนขับรถรับจ้างข่มขืนแหม่มฝรั่งตรงกิ่วนั้น กิ่วแปลว่าช่องเขาแคบๆ

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/local/detail/9680000016798

    #MGROnline #แม่ฮ่องสอน #อดีตปลัดอำเภอฯ #ปาย #ชุมชนท่องเที่ยว #ดอยสูง #หลากชาติพันธุ์
    แม่ฮ่องสอน - เปิดบันทึกอดีตปลัดอำเภอฯ ที่สมัครใจบรรจุใหม่ที่ปาย..40 ปีก่อน จนถึงวันนี้ ชุมชนท่องเที่ยวบนดอยสูงหลากชาติพันธุ์ ทั้งไต-คนเมือง-อดีตทหารกองพล 93 รวมถึงกะเหรี่ยง ม้ง ลีซอ ลาหู่หรือมูเซอร์ ว้า ฝรั่งแห่เข้ามานาน ก่อนยิวนิยมมาพักผ่อนระหว่างพักรบปาเลสไตน์ จากหลักร้อยเป็นหลักพัน จนมาอยู่อาศัย-ทำมาหากิน ตั้งโบสถ์ กระทั่งปายมีทั้งยิว-อิสลาม • พันธุ์ชัย วัฒนชัย อดีตปลัดอำเภอปาย แม่ฮ่องสอน เมื่อ 40 กว่าปีก่อน (2522-2525) ได้เล่าเรื่องเมืองปายที่สัมผัสสมัยที่บรรจุเป็นข้าราชการใหม่ ว่า ชาวบ้านมีทั้งชาวไตหรือไทใหญ่ มีจำนวนมากที่สุด, รองมา ก็คนเมืองหรือไตยวน, จีนฮ่อหรือจีนยูนนาน (เช่นอดีตทหารกองพล 93 ของเจียงไคเช็กและลูกหลาน ที่เคยสู้รบกับพรรคคอมมิวนิสต์จีน นับถืออิสลาม และลัทธิขงจื๊อ เต๋า พุทธ), กลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย เช่น ปกาเกอะญอหรือกะเหรี่ยง ม้ง ลีซอ ลาหู่หรือมูเซอร์ ลัวะหรือว้า (ชนเผ่าดั้งเดิมของล้านนา ถือได้ว่าเป็นบรรพบุรุษสายหนึ่งของเจ้าผู้ครองนครในล้านนาก็ว่าได้ เช่นเชื้อสายเจ้าเจ็ดตน จากลำปาง หรือราชวงศ์ทิพย์จักร) และชาวไทยภาคกลาง • สมัยนั้นจะมีฝรั่งมาเที่ยวบ้าง ขึ้นดอย หาฝิ่นสูบ เที่ยวชมธรรมชาติ ชาวบ้านเล่าให้ฟังว่าถนนก่อนเข้าปาย ขึ้นดอย มีที่หนึ่ง เรียกว่า กิ่วแหม่ม หมายถึงคนขับรถรับจ้างข่มขืนแหม่มฝรั่งตรงกิ่วนั้น กิ่วแปลว่าช่องเขาแคบๆ • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >>https://mgronline.com/local/detail/9680000016798 • #MGROnline #แม่ฮ่องสอน #อดีตปลัดอำเภอฯ #ปาย #ชุมชนท่องเที่ยว #ดอยสูง #หลากชาติพันธุ์
    0 Comments 0 Shares 691 Views 0 Reviews
  • ไต้หวันยกย่องถ้อยคำที่ "เป็นพวกและเป็นมิตร" เกี่ยวกับเกาะแห่งนี้บนเว็บไซต์กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ ที่มีการอัปเดตใหม่ ซึ่งถอดข้อความที่ว่าวอชิงตัน "ไม่สนับสนุนเอกราชไต้หวัน" ออกไป
    .
    สหรัฐฯ เป็นผู้สนับสนุนรายสำคัญที่สุดของไต้หวันมาช้านาน แม้พวกเขาถอนการรับรองทางการทูตเกาะปกครองตนเองแห่งนี้มาตั้งแต่ปี 1979 แล้วหันไปสถาปนาความสัมพันธ์กับจีนแผ่นดินใหญ่ ที่มีอิทธิพลมากกว่าแทน
    .
    ภาษาอย่างเป็นทางการที่ใช้จำกัดความความสัมพันธ์สหรัฐฯ-ไต้หวัน เป็นประเด็นที่อ่อนไหวอย่างมากและความเคลื่อนไหวก่อนหน้านี้ ต่อการเปลี่ยนแปลงในเอกสารข้อเท็จจริงของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ เกี่ยวกับเกาะไต้หวัน เคยโหมกระพือการตอบโต้ด้วยความเดือดดาลมาจากจีน ซึ่งอ้างว่าไต้หวันเป็นส่วนหนึ่งของดินแดน
    .
    นอกจากปรับแต่งข้อความอื่นๆ แล้ว ในการอัปเดตล่าสุดของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ ได้ลบบรรทัดที่มีการเน้นย้ำว่า "เราไม่สนับสนุนเอกราชไต้หวัน" ออกไป เอเอฟพีวิเคราะห์ข้อความบนเพจกระทวงการต่างประเทศสหรัฐฯ เทียบกับเวอร์ชันก่อนหน้านี้
    .
    อย่างไรก็ตาม บนเพจยังคงเน้นย้ำว่าวอชิงตันยอมรับเพียงปักกิ่ง ในฐานะรัฐบาลจีนภายใต้ "นโยบายจีนเดียวที่ยืดถือมานาน" และคัดค้านการ "เปลี่ยนแปลงสถานภาพปัจจุบันแต่เพียงฝ่ายเดียว ไม่ว่าจากฝ่ายใดก็ตาม"
    .
    กระทรวงการต่างประเทศไต้หวันบอกว่าถ้อยคำ "ที่เป็นบวกและเป็นมิตร" ในเอกสารข้อเท็จจริงที่อัปเดตเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ สะท้อนถึงความใกล้ชิดและเป็นมิตรในความสัมพันธ์ระหว่างไต้หวันกับสหรัฐฯ
    .
    หลิน เชีย-ลัง รัฐมนตรีต่างประเทศไต้หวัน ขอบคุณรัฐบาลของประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ "สำหรับคำมั่นสัญญาต่อสันติภาพและเสถียรภาพในช่องแคบไต้หวัน เศรษฐกิจไต้หวัน-อเมริกา ความเป็นหุ้นส่วนทางการค้าและเทคโนโลยี รวมถึงด้านอวกาศนานาชาติของไต้หวัน" กระทรวงการต่างประเทศระบุ
    .
    สถาบันอเมริกาในไต้หวัน (AIT) ซึ่งถือเป็นสถานทูตโดยพฤตินัยของสหรัฐฯ บอกว่าการอัปเดตดังกล่าวถือเป็นเรื่องปกติ "เราเน้นย้ำมาช้านานว่าเราคัดค้านการเปลี่ยนแปลงแต่เพียงฝ่ายเดียวจากทั้ง 2 ฝ่าย ต่อสถานภาพในปัจจุบัน" โฆษกของ AIT ระบุในถ้อยแถลงที่เผยแพร่ต่อเอเอฟพี
    .
    "เราไม่ขอแสดงความคิดเห็นกับทุกสมมติฐานต่างๆ ที่จีนนำเสนอ หนึ่งเดียวที่เป็นภัยคุกคามใหญ่หลวงต่อสันติภาพและเสถียรภาพในช่องแคบไต้หวัน" ถ้อยแถลงระบุ
    .
    ไต้หวันพยายามหาทางอยู่ฝ่ายเดียวกับ ทรัมป์ ผู้ซึ่งสไตล์ทางการทูตก่อความกังวลเกี่ยวกับความตั้งใจของเขาในการปกป้องเกาะแห่งนี้จากจีน
    .
    ทรัมป์ เคยก่อความวิตกกังวลแก่ไต้หวัน ด้วยการบ่งชี้ว่าไทเปควรจ่ายเงินตอบแทนแก่สหรัฐฯ สำหรับเป็นค่าปกป้องและกล่าวหาเกาะแห่งนี้ขโมยอุตสาหกรรมชิปของอเมริกา
    .
    ไล่ ชิงเต๋อ ประธานาธิบดีไต้หวัน ประกาศกร้าวเมื่อวันศุกร์ (14 ก.พ.) ว่าจะเพิ่มการลงทุนในสหรัฐฯ และด้านการป้องกันตนเอง หลัง ทรัมป์ ขู่รีดภาษี 100% ต่อชิปเซเมคอนดักเตอร์ของเกาะแห่งนี้
    .
    ไม่ใช่ครั้งแรกที่สหรัฐฯ ถอดข้อความเกี่ยวกับการไม่สนับสนุนเอกราชไต้หวันออกไป โดยในเดือนพฤษภาคม 2022 รัฐบาลของประธานาธิบดีโจ ไบเดน ณ ขณะนั้น ได้ถอดข้อความดังกล่าว ซึ่งก่อความเดือดดาลแก่จีน ก่อคืนสถานะมันกลับมาหลังจากนั้น
    .
    ข้อพิพาทระหว่างจีนกับไต้หวัน ต้องย้อนกลับไปใน 1949 ครั้งที่กองกำลังชาตินิยมก๊กมินตั๋งของเจียงไคเช็ค หลบหนีไปยังไต้หวัน หลังพ่ายแพ้ในสงครามกลางเมืองแก่กองกำลังคอมมิวนิสต์ของเหมา เจ๋อตง
    .
    ไต้หวัน ซึ่งมีรัฐบาล กองทัพและค่าเงินเป็นของตนเอง เรียกตัวเองว่าเป็นชาติอธิปไตย แต่ไม่ถึงขั้นประกาศเอกราชอย่างเป็นทางการ ซึ่งเป็นเส้นตายที่ปักกิ่งขีดไว้
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000015544
    ..............
    Sondhi X
    ไต้หวันยกย่องถ้อยคำที่ "เป็นพวกและเป็นมิตร" เกี่ยวกับเกาะแห่งนี้บนเว็บไซต์กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ ที่มีการอัปเดตใหม่ ซึ่งถอดข้อความที่ว่าวอชิงตัน "ไม่สนับสนุนเอกราชไต้หวัน" ออกไป . สหรัฐฯ เป็นผู้สนับสนุนรายสำคัญที่สุดของไต้หวันมาช้านาน แม้พวกเขาถอนการรับรองทางการทูตเกาะปกครองตนเองแห่งนี้มาตั้งแต่ปี 1979 แล้วหันไปสถาปนาความสัมพันธ์กับจีนแผ่นดินใหญ่ ที่มีอิทธิพลมากกว่าแทน . ภาษาอย่างเป็นทางการที่ใช้จำกัดความความสัมพันธ์สหรัฐฯ-ไต้หวัน เป็นประเด็นที่อ่อนไหวอย่างมากและความเคลื่อนไหวก่อนหน้านี้ ต่อการเปลี่ยนแปลงในเอกสารข้อเท็จจริงของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ เกี่ยวกับเกาะไต้หวัน เคยโหมกระพือการตอบโต้ด้วยความเดือดดาลมาจากจีน ซึ่งอ้างว่าไต้หวันเป็นส่วนหนึ่งของดินแดน . นอกจากปรับแต่งข้อความอื่นๆ แล้ว ในการอัปเดตล่าสุดของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ ได้ลบบรรทัดที่มีการเน้นย้ำว่า "เราไม่สนับสนุนเอกราชไต้หวัน" ออกไป เอเอฟพีวิเคราะห์ข้อความบนเพจกระทวงการต่างประเทศสหรัฐฯ เทียบกับเวอร์ชันก่อนหน้านี้ . อย่างไรก็ตาม บนเพจยังคงเน้นย้ำว่าวอชิงตันยอมรับเพียงปักกิ่ง ในฐานะรัฐบาลจีนภายใต้ "นโยบายจีนเดียวที่ยืดถือมานาน" และคัดค้านการ "เปลี่ยนแปลงสถานภาพปัจจุบันแต่เพียงฝ่ายเดียว ไม่ว่าจากฝ่ายใดก็ตาม" . กระทรวงการต่างประเทศไต้หวันบอกว่าถ้อยคำ "ที่เป็นบวกและเป็นมิตร" ในเอกสารข้อเท็จจริงที่อัปเดตเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ สะท้อนถึงความใกล้ชิดและเป็นมิตรในความสัมพันธ์ระหว่างไต้หวันกับสหรัฐฯ . หลิน เชีย-ลัง รัฐมนตรีต่างประเทศไต้หวัน ขอบคุณรัฐบาลของประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ "สำหรับคำมั่นสัญญาต่อสันติภาพและเสถียรภาพในช่องแคบไต้หวัน เศรษฐกิจไต้หวัน-อเมริกา ความเป็นหุ้นส่วนทางการค้าและเทคโนโลยี รวมถึงด้านอวกาศนานาชาติของไต้หวัน" กระทรวงการต่างประเทศระบุ . สถาบันอเมริกาในไต้หวัน (AIT) ซึ่งถือเป็นสถานทูตโดยพฤตินัยของสหรัฐฯ บอกว่าการอัปเดตดังกล่าวถือเป็นเรื่องปกติ "เราเน้นย้ำมาช้านานว่าเราคัดค้านการเปลี่ยนแปลงแต่เพียงฝ่ายเดียวจากทั้ง 2 ฝ่าย ต่อสถานภาพในปัจจุบัน" โฆษกของ AIT ระบุในถ้อยแถลงที่เผยแพร่ต่อเอเอฟพี . "เราไม่ขอแสดงความคิดเห็นกับทุกสมมติฐานต่างๆ ที่จีนนำเสนอ หนึ่งเดียวที่เป็นภัยคุกคามใหญ่หลวงต่อสันติภาพและเสถียรภาพในช่องแคบไต้หวัน" ถ้อยแถลงระบุ . ไต้หวันพยายามหาทางอยู่ฝ่ายเดียวกับ ทรัมป์ ผู้ซึ่งสไตล์ทางการทูตก่อความกังวลเกี่ยวกับความตั้งใจของเขาในการปกป้องเกาะแห่งนี้จากจีน . ทรัมป์ เคยก่อความวิตกกังวลแก่ไต้หวัน ด้วยการบ่งชี้ว่าไทเปควรจ่ายเงินตอบแทนแก่สหรัฐฯ สำหรับเป็นค่าปกป้องและกล่าวหาเกาะแห่งนี้ขโมยอุตสาหกรรมชิปของอเมริกา . ไล่ ชิงเต๋อ ประธานาธิบดีไต้หวัน ประกาศกร้าวเมื่อวันศุกร์ (14 ก.พ.) ว่าจะเพิ่มการลงทุนในสหรัฐฯ และด้านการป้องกันตนเอง หลัง ทรัมป์ ขู่รีดภาษี 100% ต่อชิปเซเมคอนดักเตอร์ของเกาะแห่งนี้ . ไม่ใช่ครั้งแรกที่สหรัฐฯ ถอดข้อความเกี่ยวกับการไม่สนับสนุนเอกราชไต้หวันออกไป โดยในเดือนพฤษภาคม 2022 รัฐบาลของประธานาธิบดีโจ ไบเดน ณ ขณะนั้น ได้ถอดข้อความดังกล่าว ซึ่งก่อความเดือดดาลแก่จีน ก่อคืนสถานะมันกลับมาหลังจากนั้น . ข้อพิพาทระหว่างจีนกับไต้หวัน ต้องย้อนกลับไปใน 1949 ครั้งที่กองกำลังชาตินิยมก๊กมินตั๋งของเจียงไคเช็ค หลบหนีไปยังไต้หวัน หลังพ่ายแพ้ในสงครามกลางเมืองแก่กองกำลังคอมมิวนิสต์ของเหมา เจ๋อตง . ไต้หวัน ซึ่งมีรัฐบาล กองทัพและค่าเงินเป็นของตนเอง เรียกตัวเองว่าเป็นชาติอธิปไตย แต่ไม่ถึงขั้นประกาศเอกราชอย่างเป็นทางการ ซึ่งเป็นเส้นตายที่ปักกิ่งขีดไว้ . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000015544 .............. Sondhi X
    Like
    Sad
    9
    0 Comments 0 Shares 1608 Views 0 Reviews
  • ไต้หวันในวันอาทิตย์(16ก.พ.) ยกย่องถ้อยคำที่ "เป็นพวกและเป็นมิตร" เกี่ยวกับเกาะแห่งนี้บนเว็บไซต์กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯที่มีการอัพเดทใหม่ ซึ่งถอดข้อความที่ว่าวอชิงตัน "ไม่สนับสนุนเอกราชไต้หวัน" ออกไป

    สหรัฐฯเป็นผู้สนับสนุนรายสำคัญที่สุดของไต้หวันมาช้านาน แม้พวกเขาถอนการรับรองทางการทูตเกาะปกครองตนเองแห่งนี้มาตั้งแต่ปี 1979 แล้วหันไปสถาปนาความสัมพันธ์กับจีนแผ่นดินใหญ่ ที่มีอิทธิพลมากกว่าแทน

    ภาษาอย่างเป็นทางการที่ใช้จำกัดความความสัมพันธ์สหรัฐฯ-ไต้หวัน เป็นประเด็นที่อ่อนไหวอย่างมากและความเคลื่อนไหวก่อนหน้านี้ ต่อการเปลี่ยนแปลงในเอกสารข้อเท็จจริงของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯเกี่ยวกับเกาะไต้หวัน เคยโหมกระพือการตอบโต้ด้วยความเดือดดาลมาจากจีน ซึ่งอ้างว่าไต้หวันเป็นส่วนหนึ่งของดินแดน

    นอกจากปรับแต่งข้อความอื่นๆแล้ว ในการอัทเดทล่าสุดของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯได้ลบบรรทัดที่มีการเน้นย้ำว่า "เราไม่สนับสนุนเอกราชไต้หวัน" ออกไป เอเอฟพีวิเคราะห์ข้อความบนเพจกระทวงการต่างประเทศสหรัฐฯเทียบกับเวอร์ชันก่อนหน้านี้

    อย่างไรก็ตามบนเพจยังคงเน้นย้ำว่าวอชิงตันยอมรับเพียงปักกิ่ง ในฐานะรัฐบาลจีนภายใต้ "นโยบายจีนเดียวที่ยืดถือมานาน" และคัดค้านการ "เปลี่ยนแปลงสถานภาพปัจจุบันแต่เพียงฝ่ายเดียว ไม่ว่าจากฝ่ายใดก็ตาม"

    กระทรวงการต่างประเทศไต้หวันบอกว่าถ้อยคำ "ที่เป็นบวกและเป็นมิตร" ในเอกสารข้อเท็จจริงที่อัพเดทเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ สะท้อนถึงความใกล้ชิดและเป็นมิตรในความสัมพันธ์ระหว่างไต้หวันกับสหรัฐฯ

    หลิน เชีย-ลัง รัฐมนตรีต่างประเทศไต้หวัน ขอบคุณรัฐบาลของประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ "สำหรับคำมั่้นสัญญาต่อสันติภาพและเสถียรภาพในช่องแคบไต้หวัน เศรษฐกิจไต้หวัน-อเมริกา ความเป็นหุ้นส่วนทางการค้าและเทคโนโลยี รวมถึงด้านอวกาศนานาชาติของไต้หวัน" กระทรวงการต่างประเทศระบุ

    สถาบันอเมริกาในไต้หวัน(AIT) ซึ่งถือเป็นสถานทูตโดยพฤตินัยของสหรัฐฯ บอกว่าการอัพเดทดังกล่าวถือเป็นเรื่องปกติ "เราเน้นย้ำมาช้านานว่าเราคัดค้านการเปลี่ยนแปลงแต่เพียงฝ่ายเดียวจากทั้ง 2 ฝ่าย ต่อสถานภาพในปัจจุบัน" โฆษกของ AIT ระบุในถ้อยแถลงที่เผยแพร่ต่อเอเอฟพี

    "เราไม่ขอแสดงความคิดเห็นกับทุกสมมุติฐานต่างๆที่จีนนำเสนอ หนึ่งเดียวที่เป็นภัยคุกคามใหญ่หลวงต่อสันติภาพและเสถียรภาพในช่องแคบไต้หวัน" ถ้อยแถลงระบุ

    ไต้หวัน พยายามหาทางอยู่ฝ่ายเดียวกับ ทรัมป์ ผู้ซึ่งสไตล์ทางการทูตก่อความกังวลเกี่ยวกับความตั้งใจของเขาในการปกป้องเกาะแห่งนี้จากจีน

    ทรัมป์ เคยก่อความวิตกกังวลแก่ไต้หวัน ด้วยการบ่งชี้ว่าไทเปควรจ่ายเงินตอบแทนแก่สหรัฐฯ สำหรับเป็นค่าปกป้องและกล่าวหาเกาะแห่งนี้ขโมยอุตสาหกรรมชิปของอเมริกา

    ไล่ ชิงเต๋อ ประธานาธิบดีไต้หวัน ประกาศกร้าวเมื่อวันศุกร์(14ก.พ.) ว่าจะเพิ่มการลงทุนในสหรัฐฯและด้านการป้องกันตนเอง หลัง ทรัมป์ ขู่รีดภาษี 100% ต่อชิปเซเมคอนดัคเตอร์ของเกาะแห่งนี้

    ไม่ใช่ครั้งแรกที่สหรัฐฯถอดข้อความเกี่ยวกับการไม่สนับสนุนเอกราชไต้หวันออกไป โดยในเดือนพฤษภาคม 2022 รัฐบาลของประธานาธิบดีโจ ไบเดน ณ ขณะนั้น ได้ถอดข้อความดังกล่าว ซึ่งก่อความเดือดดาลแก่จีน ก่อคืนสถานะมันกลับมาหลังจากนั้น

    ข้อพิพาทระหว่างจีนกับไต้หวัน ต้องย้อนกลับไปใน 1949 ครั้งที่กองกำลังชาตินิยมก๊กมินตั๋งของเจียงไคเช็ค หลบหนีไปยังไต้หวัน หลังพ่ายแพ้ในสงครามกลางเมืองแก่กองกำลังคอมมิวนิสต์ของเหมา เจ๋อตง

    หต้หวัน ซึ่งมีรัฐบาล กองทัพและค่าเงินเป็นของตนเอง เรียกตัวเองว่าเป็นชาติอธิปไตย แต่ไม่ถึงขั้นประกาศเอกราชอย่างเป็นทางการ ซึ่งเป็นเส้นตายที่ปักกิ่งขีดไว้

    (ที่มา:เอเอฟพี)
    https://factcheck.afp.com/doc.afp.com.36XB67E
    ไต้หวันในวันอาทิตย์(16ก.พ.) ยกย่องถ้อยคำที่ "เป็นพวกและเป็นมิตร" เกี่ยวกับเกาะแห่งนี้บนเว็บไซต์กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯที่มีการอัพเดทใหม่ ซึ่งถอดข้อความที่ว่าวอชิงตัน "ไม่สนับสนุนเอกราชไต้หวัน" ออกไป สหรัฐฯเป็นผู้สนับสนุนรายสำคัญที่สุดของไต้หวันมาช้านาน แม้พวกเขาถอนการรับรองทางการทูตเกาะปกครองตนเองแห่งนี้มาตั้งแต่ปี 1979 แล้วหันไปสถาปนาความสัมพันธ์กับจีนแผ่นดินใหญ่ ที่มีอิทธิพลมากกว่าแทน ภาษาอย่างเป็นทางการที่ใช้จำกัดความความสัมพันธ์สหรัฐฯ-ไต้หวัน เป็นประเด็นที่อ่อนไหวอย่างมากและความเคลื่อนไหวก่อนหน้านี้ ต่อการเปลี่ยนแปลงในเอกสารข้อเท็จจริงของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯเกี่ยวกับเกาะไต้หวัน เคยโหมกระพือการตอบโต้ด้วยความเดือดดาลมาจากจีน ซึ่งอ้างว่าไต้หวันเป็นส่วนหนึ่งของดินแดน นอกจากปรับแต่งข้อความอื่นๆแล้ว ในการอัทเดทล่าสุดของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯได้ลบบรรทัดที่มีการเน้นย้ำว่า "เราไม่สนับสนุนเอกราชไต้หวัน" ออกไป เอเอฟพีวิเคราะห์ข้อความบนเพจกระทวงการต่างประเทศสหรัฐฯเทียบกับเวอร์ชันก่อนหน้านี้ อย่างไรก็ตามบนเพจยังคงเน้นย้ำว่าวอชิงตันยอมรับเพียงปักกิ่ง ในฐานะรัฐบาลจีนภายใต้ "นโยบายจีนเดียวที่ยืดถือมานาน" และคัดค้านการ "เปลี่ยนแปลงสถานภาพปัจจุบันแต่เพียงฝ่ายเดียว ไม่ว่าจากฝ่ายใดก็ตาม" กระทรวงการต่างประเทศไต้หวันบอกว่าถ้อยคำ "ที่เป็นบวกและเป็นมิตร" ในเอกสารข้อเท็จจริงที่อัพเดทเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ สะท้อนถึงความใกล้ชิดและเป็นมิตรในความสัมพันธ์ระหว่างไต้หวันกับสหรัฐฯ หลิน เชีย-ลัง รัฐมนตรีต่างประเทศไต้หวัน ขอบคุณรัฐบาลของประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ "สำหรับคำมั่้นสัญญาต่อสันติภาพและเสถียรภาพในช่องแคบไต้หวัน เศรษฐกิจไต้หวัน-อเมริกา ความเป็นหุ้นส่วนทางการค้าและเทคโนโลยี รวมถึงด้านอวกาศนานาชาติของไต้หวัน" กระทรวงการต่างประเทศระบุ สถาบันอเมริกาในไต้หวัน(AIT) ซึ่งถือเป็นสถานทูตโดยพฤตินัยของสหรัฐฯ บอกว่าการอัพเดทดังกล่าวถือเป็นเรื่องปกติ "เราเน้นย้ำมาช้านานว่าเราคัดค้านการเปลี่ยนแปลงแต่เพียงฝ่ายเดียวจากทั้ง 2 ฝ่าย ต่อสถานภาพในปัจจุบัน" โฆษกของ AIT ระบุในถ้อยแถลงที่เผยแพร่ต่อเอเอฟพี "เราไม่ขอแสดงความคิดเห็นกับทุกสมมุติฐานต่างๆที่จีนนำเสนอ หนึ่งเดียวที่เป็นภัยคุกคามใหญ่หลวงต่อสันติภาพและเสถียรภาพในช่องแคบไต้หวัน" ถ้อยแถลงระบุ ไต้หวัน พยายามหาทางอยู่ฝ่ายเดียวกับ ทรัมป์ ผู้ซึ่งสไตล์ทางการทูตก่อความกังวลเกี่ยวกับความตั้งใจของเขาในการปกป้องเกาะแห่งนี้จากจีน ทรัมป์ เคยก่อความวิตกกังวลแก่ไต้หวัน ด้วยการบ่งชี้ว่าไทเปควรจ่ายเงินตอบแทนแก่สหรัฐฯ สำหรับเป็นค่าปกป้องและกล่าวหาเกาะแห่งนี้ขโมยอุตสาหกรรมชิปของอเมริกา ไล่ ชิงเต๋อ ประธานาธิบดีไต้หวัน ประกาศกร้าวเมื่อวันศุกร์(14ก.พ.) ว่าจะเพิ่มการลงทุนในสหรัฐฯและด้านการป้องกันตนเอง หลัง ทรัมป์ ขู่รีดภาษี 100% ต่อชิปเซเมคอนดัคเตอร์ของเกาะแห่งนี้ ไม่ใช่ครั้งแรกที่สหรัฐฯถอดข้อความเกี่ยวกับการไม่สนับสนุนเอกราชไต้หวันออกไป โดยในเดือนพฤษภาคม 2022 รัฐบาลของประธานาธิบดีโจ ไบเดน ณ ขณะนั้น ได้ถอดข้อความดังกล่าว ซึ่งก่อความเดือดดาลแก่จีน ก่อคืนสถานะมันกลับมาหลังจากนั้น ข้อพิพาทระหว่างจีนกับไต้หวัน ต้องย้อนกลับไปใน 1949 ครั้งที่กองกำลังชาตินิยมก๊กมินตั๋งของเจียงไคเช็ค หลบหนีไปยังไต้หวัน หลังพ่ายแพ้ในสงครามกลางเมืองแก่กองกำลังคอมมิวนิสต์ของเหมา เจ๋อตง หต้หวัน ซึ่งมีรัฐบาล กองทัพและค่าเงินเป็นของตนเอง เรียกตัวเองว่าเป็นชาติอธิปไตย แต่ไม่ถึงขั้นประกาศเอกราชอย่างเป็นทางการ ซึ่งเป็นเส้นตายที่ปักกิ่งขีดไว้ (ที่มา:เอเอฟพี) https://factcheck.afp.com/doc.afp.com.36XB67E
    FACTCHECK.AFP.COM
    Posts falsely claim Trump administration changed Taiwan webpage
    Various US government websites have been scrubbed of key information since Donald Trump began his second term, but the State Department has not overhauled its Taiwan factsheet webpage as of February 14. Social media posts alleging the page had been altered falsely shared a screenshot from an older version of the site that was changed under former president Joe Biden.
    0 Comments 0 Shares 378 Views 0 Reviews
  • สหรัฐฯมีความตั้งใจปรับเปลี่ยนโฟกัสด้านการทหาร ให้ความสำคัญลำดับต้นๆต่อการเผชิญหน้ากับการแผ่ขยายอิทธิพลของจีนในอินโด-แปซิฟิก เช่นเดียวกับการป้องกันมาตุภูมิ จากคำประกาศกร้าวของ พีท เฮกเซธ รัฐมนตรีกลาโหมอเมริกา(เพนตากอน)
    .
    ระหว่างกล่าวกับที่ประชุมสนับสนุนยูเครน ของเหล่ารัฐมนตรีกลาโหมนาโตและบรรดาชาตินอกสมาชิกนาโต ในกรุงบรัสเซลส์ รัฐมนตรีกลาโหมสหรัฐฯที่เพิ่งได้รับการแต่งตั้งหมาดๆ ส่งสัญญาณเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางนโยบายของวอชิงตัน และเรียกร้องให้พวกพันธมิตรยุโรปเข้ารับหน้าที่เป็นผู้นำในด้านความมั่นคงของตนเอง
    .
    เฮกเซธ เน้นย้ำว่า "ข้อเท็จจริงทางยุทธศาสตร์" บีบให้วอชิงตัน ต้องหันไปมุ่งเน้นคุ้มกันชายแดนของตนเองและตอบโต้ภัยคุกคามจากปักกิ่ง "สหรัฐฯต้องเผชิญกับภัยคุกคามสืบเนื่อง ที่มีต่อมาตุภูมิของเรา" เขากล่าว พร้อมบอกว่า "เราต้อง และเรากำลังมุ่งเน้นให้ความสำคัญกับความมั่นคงของชายแดนของเรา"
    .
    รัฐมนตรีกลาโหมสหรัฐฯ ระบุ จีน คือภัยคุกคามสำคัญที่สุด โดยให้คำจำกัดความปักกิ่งว่าเป็น "คู่แข่งที่ทัดเทียม" ทั้งในแง่ศักยภาพและความตั้งใจคุกคามผลประโยชน์แห่งชาติของสหรัฐฯ ในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก
    .
    "สหรัฐฯให้ความสำคัญลำดับต้นๆกับการป้องปรามสงครามกับจีนในแปซิฟิก ตะหนักถึงความเป็นจริงเกี่ยวกับปัญหาขาดแคลน และต้องเลือกทุ่มเททรัพยากรไปที่สิ่งหนึ่งสิ่งใด เพื่อรับประกันว่าการป้องปรามนั้นจะไม่ล้มเหลว" เฮกเซธระบุ
    .
    ความเป็นคู่อริทางยุทธศาสตร์ระหว่างวอชิงตันกับปักกิ่ง ทวีความเข้มข้นขึ้นเรื่อยๆ ทั้ง 2 ชาติต่างยกระดับการปรากฏตัวทางทหารและเศรษฐกิจในอินโด-แปซิฟิก ในขณะที่สหรัฐฯส่งเสียงเตือนซ้ำๆในสิ่งที่พวกเขาเรียกว่าภัยคุกคามที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จากความเคลื่อนไหวเสริมกำลังทหารและความทะเยอทะยานในระดับภูมิภาคของจีน
    .
    มาร์โก รูบิโอ รัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ เน้นย้ำจุดยืนดังกล่าวเช่นกัน ประกาศกร้าวว่าการตอบโต้จีน จะเป็นแก่นกลางนโยบายต่างประเทศของสหรัฐฯระหว่างการดำรงตำแหน่งสมัย 2 ของประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ โดยเขากล่าวหาพรรคคอมมิวนิสต์จีน "โกหก หลอกลวง เจาะระบบและขโมยข้อมูล เปิดทางสู่สถานะมหาอำนาจโลก โดยที่เราต้องเป็นฝ่ายชดใช้"
    .
    รูบิโอ ยังได้วิพากษ์วิจารณ์นโยบายต่างๆนานาของสหรัฐฯก่อนหน้านี้ ซึ่งอนุญาตให้ห่วงโซ่อุปทานสำคัญๆโยกย้ายไปยังจีน เตือนว่ามันทำให้การผลิตของอเมริกาตกอยู่ในความอ่อนแอ นอกจากนี้แล้วเขายังเรียกร้องให้ใช้มาตรการที่แข็งกร้าวกว่าเดิม ในการจำกัดอิทธิพลของปักกิ่งในอินโด-แปซิฟิก และที่อื่นๆ
    .
    ปักกิ่งปฏิเสธอย่างแข็งกร้าวมาตลอดต่อข้อกล่าวหานี้ พร้อมชี้ว่าสหรัฐฯคือขุมกำลังหลักที่บ่นทอนเสถียรภาพในภูมิภาค กระทรวงกลาโหมของจีนประณามความพยายามของวอชิงตัน ในการยกระดับปรากฏตัวทางทหารในอินโด-แปซิฟิก ว่าเป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์อย่างกว้างขวาง ในความพยายาม "ควบคุมจีน" และปั้นแต่งเรื่องเล่า "ภัยคุกคามจากจีน" แบบเลยเถิด
    .
    นอกจากนี้แล้ว จีน ยังได้วิพากษ์วิจารณ์สหรัฐฯ ต่อกรณีกระชับความสัมพันธ์ทางทหารกับไต้หวัน เน้นย้ำว่าพวกเขามองว่าเกาะปกครองตนเองแห่งนี้เป็นดินแดนที่ไม่อาจแบ่งแยกได้ของประเทศ ภายใต้หลักการ "จีนเดียว" ทั้งนี้ที่ผ่านมา ปักกิ่ง ประณามวอชิงตัน ต่อการขายอาวุธต่างๆนานาให้ไทเป กล่าวหาว่าอเมริกาปลุกปั่นสถานการณ์ความตึงเครียด
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000014311
    ..............
    Sondhi X
    สหรัฐฯมีความตั้งใจปรับเปลี่ยนโฟกัสด้านการทหาร ให้ความสำคัญลำดับต้นๆต่อการเผชิญหน้ากับการแผ่ขยายอิทธิพลของจีนในอินโด-แปซิฟิก เช่นเดียวกับการป้องกันมาตุภูมิ จากคำประกาศกร้าวของ พีท เฮกเซธ รัฐมนตรีกลาโหมอเมริกา(เพนตากอน) . ระหว่างกล่าวกับที่ประชุมสนับสนุนยูเครน ของเหล่ารัฐมนตรีกลาโหมนาโตและบรรดาชาตินอกสมาชิกนาโต ในกรุงบรัสเซลส์ รัฐมนตรีกลาโหมสหรัฐฯที่เพิ่งได้รับการแต่งตั้งหมาดๆ ส่งสัญญาณเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางนโยบายของวอชิงตัน และเรียกร้องให้พวกพันธมิตรยุโรปเข้ารับหน้าที่เป็นผู้นำในด้านความมั่นคงของตนเอง . เฮกเซธ เน้นย้ำว่า "ข้อเท็จจริงทางยุทธศาสตร์" บีบให้วอชิงตัน ต้องหันไปมุ่งเน้นคุ้มกันชายแดนของตนเองและตอบโต้ภัยคุกคามจากปักกิ่ง "สหรัฐฯต้องเผชิญกับภัยคุกคามสืบเนื่อง ที่มีต่อมาตุภูมิของเรา" เขากล่าว พร้อมบอกว่า "เราต้อง และเรากำลังมุ่งเน้นให้ความสำคัญกับความมั่นคงของชายแดนของเรา" . รัฐมนตรีกลาโหมสหรัฐฯ ระบุ จีน คือภัยคุกคามสำคัญที่สุด โดยให้คำจำกัดความปักกิ่งว่าเป็น "คู่แข่งที่ทัดเทียม" ทั้งในแง่ศักยภาพและความตั้งใจคุกคามผลประโยชน์แห่งชาติของสหรัฐฯ ในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก . "สหรัฐฯให้ความสำคัญลำดับต้นๆกับการป้องปรามสงครามกับจีนในแปซิฟิก ตะหนักถึงความเป็นจริงเกี่ยวกับปัญหาขาดแคลน และต้องเลือกทุ่มเททรัพยากรไปที่สิ่งหนึ่งสิ่งใด เพื่อรับประกันว่าการป้องปรามนั้นจะไม่ล้มเหลว" เฮกเซธระบุ . ความเป็นคู่อริทางยุทธศาสตร์ระหว่างวอชิงตันกับปักกิ่ง ทวีความเข้มข้นขึ้นเรื่อยๆ ทั้ง 2 ชาติต่างยกระดับการปรากฏตัวทางทหารและเศรษฐกิจในอินโด-แปซิฟิก ในขณะที่สหรัฐฯส่งเสียงเตือนซ้ำๆในสิ่งที่พวกเขาเรียกว่าภัยคุกคามที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จากความเคลื่อนไหวเสริมกำลังทหารและความทะเยอทะยานในระดับภูมิภาคของจีน . มาร์โก รูบิโอ รัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ เน้นย้ำจุดยืนดังกล่าวเช่นกัน ประกาศกร้าวว่าการตอบโต้จีน จะเป็นแก่นกลางนโยบายต่างประเทศของสหรัฐฯระหว่างการดำรงตำแหน่งสมัย 2 ของประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ โดยเขากล่าวหาพรรคคอมมิวนิสต์จีน "โกหก หลอกลวง เจาะระบบและขโมยข้อมูล เปิดทางสู่สถานะมหาอำนาจโลก โดยที่เราต้องเป็นฝ่ายชดใช้" . รูบิโอ ยังได้วิพากษ์วิจารณ์นโยบายต่างๆนานาของสหรัฐฯก่อนหน้านี้ ซึ่งอนุญาตให้ห่วงโซ่อุปทานสำคัญๆโยกย้ายไปยังจีน เตือนว่ามันทำให้การผลิตของอเมริกาตกอยู่ในความอ่อนแอ นอกจากนี้แล้วเขายังเรียกร้องให้ใช้มาตรการที่แข็งกร้าวกว่าเดิม ในการจำกัดอิทธิพลของปักกิ่งในอินโด-แปซิฟิก และที่อื่นๆ . ปักกิ่งปฏิเสธอย่างแข็งกร้าวมาตลอดต่อข้อกล่าวหานี้ พร้อมชี้ว่าสหรัฐฯคือขุมกำลังหลักที่บ่นทอนเสถียรภาพในภูมิภาค กระทรวงกลาโหมของจีนประณามความพยายามของวอชิงตัน ในการยกระดับปรากฏตัวทางทหารในอินโด-แปซิฟิก ว่าเป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์อย่างกว้างขวาง ในความพยายาม "ควบคุมจีน" และปั้นแต่งเรื่องเล่า "ภัยคุกคามจากจีน" แบบเลยเถิด . นอกจากนี้แล้ว จีน ยังได้วิพากษ์วิจารณ์สหรัฐฯ ต่อกรณีกระชับความสัมพันธ์ทางทหารกับไต้หวัน เน้นย้ำว่าพวกเขามองว่าเกาะปกครองตนเองแห่งนี้เป็นดินแดนที่ไม่อาจแบ่งแยกได้ของประเทศ ภายใต้หลักการ "จีนเดียว" ทั้งนี้ที่ผ่านมา ปักกิ่ง ประณามวอชิงตัน ต่อการขายอาวุธต่างๆนานาให้ไทเป กล่าวหาว่าอเมริกาปลุกปั่นสถานการณ์ความตึงเครียด . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9680000014311 .............. Sondhi X
    Like
    Love
    Angry
    11
    0 Comments 1 Shares 2547 Views 0 Reviews
  • ประเด็นบางส่วนที่รัฐมนตรีกลาโหมสหรัฐฯ พีต เฮกเซธ กล่าวในการประชุมกลาโหมที่สำนักงานใหญ่นาโต้ กรุงบรัสเซลส์ เมืองหลวงของประเทศเบลเยียม:

    - การสูญเสียเลือดเนื้อควรต้องยุติลง
    - การกลับใช้พรมแดนของยูเครนก่อนปี 2014 คงเป็นเป้าหมายที่ไม่สมจริง และจะยิ่งเพิ่มปัญหาเข้าไปอีก
    - สหรัฐไม่เชื่อว่าการเป็นสมาชิกนาโตของยูเครนจะเป็นไปได้จากการเจรจาที่กำลังจะมีขึ้น
    - ในอนาคตหากมีกองกำลังรักษาสันติภาพของนาโต้อยู่ในยูเครน แต่นั่นไม่ได้หมายความว่ายูเครนจะอยู่ภายใต้มาตรา 5 ของกฎบัตรนาโต้
    - สหรัฐจะไม่ส่งกองกำลังเข้ามาในยูเครน การมีทหารสหรัฐไม่ได้หมายความว่าจะรับประกันความปลอดภัยให้ยูเครนได้
    - สหรัฐกำลังเผชิญกับภัยคุกคามต่อพรมแดนของตนเอง และจะมุ่งเน้นไปที่การปกป้องพรมแดนเหล่านั้น
    - ยุโรปควรให้ความช่วยเหลือทางทหารแก่ยูเครนมากขึ้นกว่าเดิม
    - การใช้จ่ายทางทหารเพียง 2% ยังไม่เพียงพอ ยุโรปควรเพิ่มการใช้จ่ายทางทหารเป็น 5% ของ GDP
    - จีนคอมมิวนิสต์เป็นภัยคุกคามต่อพรมแดนสหรัฐฯ และสหรัฐจะมุ่งเน้นไปที่ภัยคุกคามดังกล่าว
    - สหรัฐจะไม่ทนต่อนโยบายการป้องกันที่ไม่เท่าเทียมของนาโตอีกต่อไป ซึ่งมีแต่การพึ่งพาสหรัฐ
    ประเด็นบางส่วนที่รัฐมนตรีกลาโหมสหรัฐฯ พีต เฮกเซธ กล่าวในการประชุมกลาโหมที่สำนักงานใหญ่นาโต้ กรุงบรัสเซลส์ เมืองหลวงของประเทศเบลเยียม: - การสูญเสียเลือดเนื้อควรต้องยุติลง - การกลับใช้พรมแดนของยูเครนก่อนปี 2014 คงเป็นเป้าหมายที่ไม่สมจริง และจะยิ่งเพิ่มปัญหาเข้าไปอีก - สหรัฐไม่เชื่อว่าการเป็นสมาชิกนาโตของยูเครนจะเป็นไปได้จากการเจรจาที่กำลังจะมีขึ้น - ในอนาคตหากมีกองกำลังรักษาสันติภาพของนาโต้อยู่ในยูเครน แต่นั่นไม่ได้หมายความว่ายูเครนจะอยู่ภายใต้มาตรา 5 ของกฎบัตรนาโต้ - สหรัฐจะไม่ส่งกองกำลังเข้ามาในยูเครน การมีทหารสหรัฐไม่ได้หมายความว่าจะรับประกันความปลอดภัยให้ยูเครนได้ - สหรัฐกำลังเผชิญกับภัยคุกคามต่อพรมแดนของตนเอง และจะมุ่งเน้นไปที่การปกป้องพรมแดนเหล่านั้น - ยุโรปควรให้ความช่วยเหลือทางทหารแก่ยูเครนมากขึ้นกว่าเดิม - การใช้จ่ายทางทหารเพียง 2% ยังไม่เพียงพอ ยุโรปควรเพิ่มการใช้จ่ายทางทหารเป็น 5% ของ GDP - จีนคอมมิวนิสต์เป็นภัยคุกคามต่อพรมแดนสหรัฐฯ และสหรัฐจะมุ่งเน้นไปที่ภัยคุกคามดังกล่าว - สหรัฐจะไม่ทนต่อนโยบายการป้องกันที่ไม่เท่าเทียมของนาโตอีกต่อไป ซึ่งมีแต่การพึ่งพาสหรัฐ
    Like
    3
    0 Comments 0 Shares 295 Views 0 Reviews
  • 7 ปี สิ้น “แม่ทัพหาญ” พลเอกหาญ ลีนานนท์ ผู้บุกเบิกนโยบายใต้ร่มเย็น ค้านเรือเหาะ เลิกปราบปราม สร้างความเข้าใจ ใช้สันติวิธี

    “ดับไฟใต้ด้วยสันติวิธี” คือแนวทางที่ พลเอกหาญ ลีนานนท์ เลือกใช้ตลอดชีวิตการรับราชการ และการเมือง ซึ่งพิสูจน์แล้วว่าได้ผล ในการสร้างความสงบ ให้กับภาคใต้ของไทย

    📌 7 ปี แล้วที่ พลเอกหาญ ลีนานนท์ หรือ "แม่ทัพหาญ" จากไป ทิ้งไว้เพียงตำนานของแม่ทัพ ผู้เปลี่ยนนโยบายความมั่นคงของไทย จากการใช้กำลัง สู่สันติวิธี 🌿

    แม้จะจากโลกนี้ไปเมื่อ 7 ปี ที่ผ่านมา แต่ชื่อของแม่ทัพหาญ ยังคงถูกกล่าวถึงในแวดวงการเมือง และกองทัพ โดยเฉพาะเรื่อง "นโยบายใต้ร่มเย็น" ที่กลายเป็นแนวทางสำคัญ ในการแก้ปัญหาความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนใต้ 🕊️

    👤 🎖️ เส้นทางสู่กองทัพ
    พลเอกหาญ ลีนานนท์ เกิดเมื่อ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2467 ที่อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล เป็นบุตรของขุนด่านลีนานนท์ และนางนิตย์ ลีนานนท์

    การศึกษาของแม่ทัพหาญเริ่มจาก
    - โรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย
    - โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
    - โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร
    - โรงเรียนนายร้อยทหารบก ร่วมรุ่นกับ พลเอกอาทิตย์ กำลังเอก และพลเอกเทียนชัย ศิริสัมพันธ์

    หลังจบการศึกษา แม่ทัพหาญไต่เต้าขึ้นสู่ ตำแหน่งสำคัญในกองทัพ จนกระทั่งได้รับแต่งตั้ง เป็นแม่ทัพภาคที่ 4 ซึ่งเป็นช่วงที่สร้างคุณูปการ มากที่สุดในชีวิต

    🏅 🔥 ปัญหาภาคใต้ก่อนยุคแม่ทัพหาญ
    ก่อนที่แม่ทัพหาญจะเข้ารับตำแหน่ง ภาคใต้เผชิญปัญหาความรุนแรงจากหลายกลุ่ม ได้แก่
    ✅ ผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ (พคท.)
    ✅ ขบวนการโจรก่อการร้ายแบ่งแยกดินแดน (ขจก.)
    ✅ โจรจีนคอมมิวนิสต์มาลายา
    ✅ อิทธิพลท้องถิ่นและกลุ่มผู้มีอำนาจมืด

    รัฐใช้มาตรการปราบปรามอย่างหนัก แต่ไม่ได้ผล จนกระทั่งแม่ทัพหาญ เข้ามาเปลี่ยนแนวทางการแก้ปัญหา

    ☂️ นโยบายใต้ร่มเย็น จากสงครามสู่สันติภาพ
    "ใต้ร่มเย็น" เป็นนโยบายที่ให้ความสำคัญกับการเมือง มากกว่าการทหาร โดยมีหลักการสำคัญ 4 ข้อ ได้แก่

    1️⃣ ปกป้องชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ทั้งไทยพุทธและมุสลิม
    2️⃣ ทำให้พื้นที่ชายแดนไทย-มาเลเซียปลอดภัย เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ
    3️⃣ กำจัดอำนาจเผด็จการ และอิทธิพลมืดด้วยสันติวิธี
    4️⃣ สร้างความสัมพันธ์ที่ดี ระหว่างเจ้าหน้าที่รัฐและประชาชน

    แม่ทัพหาญยึดหลักว่า "ต้องชนะใจประชาชน" ไม่ใช่แค่เอาชนะศัตรู ซึ่งเป็นหัวใจของยุทธศาสตร์ "นโยบาย 66/23" ที่ใช้ปราบคอมมิวนิสต์สำเร็จมาแล้ว

    📝 ผลลัพธ์ของนโยบายใต้ร่มเย็น
    ✅ กลุ่มผู้ก่อความไม่สงบ มอบตัวจำนวนมาก
    ✅ ปัญหาความรุนแรง ลดลงอย่างมีนัยสำคัญ
    ✅ ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ และประชาชนดีขึ้น

    🚢 ค้านเรือเหาะ ไม่เห็นด้วยกับการทุ่มงบประมาณ อย่างไร้ประสิทธิภาพ ⚠️
    ในยุครัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ กองทัพบกได้ จัดซื้อเรือเหาะมูลค่า 350 ล้านบาท เพื่อใช้เฝ้าระวังในสามจังหวัดชายแดนใต้ แต่กลับกลายเป็น ประเด็นวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนัก

    แม่ทัพหาญ เป็นหนึ่งในบุคคลสำคัญ ที่ออกมาคัดค้าน โดยให้เหตุผลว่า
    ❌ ภูมิประเทศภาคใต้ เต็มไปด้วยป่าดงดิบ เรือเหาะจะจับภาพได้ยาก
    ❌ ขบวนการก่อความไม่สงบ อยู่ปะปนกับชาวบ้าน ไม่ใช่ในป่าเขา
    ❌ อาวุธเทคโนโลยีแพง ไม่ช่วยแก้ปัญหาได้จริง สิ่งที่สำคัญกว่าคือ ความเข้าใจประชาชน
    ❌ เป็นการใช้งบประมาณอย่างไม่คุ้มค่า ขณะที่เงินเหล่านี้ สามารถนำไปพัฒนาเศรษฐกิจในพื้นที่ได้

    🔴 บทความ "บทเรียนจากการรบ" ของแม่ทัพหาญ ระบุว่า
    "การซื้อเรือเหาะปราบโจรนี้ แสดงว่าทั้งผู้บังคับบัญชา ไม่มีความคิดที่จะแก้ปัญหาทางยุทธศาสตร์ โจรไม่ได้อยู่ในป่า แต่เขาอยู่ในบ้าน ในหมู่บ้าน ถ้าเรือเหาะถ่ายภาพมาได้ แล้วจะรู้ได้อย่างไร ว่าใครเป็นโจร หรือเป็นชาวบ้าน?"

    ท้ายที่สุด เรือเหาะถูกปลดระวาง โดยไม่เคยใช้งานเต็มศักยภาพ ซึ่งพิสูจน์ว่า แม่ทัพหาญคิดถูก 🛑

    🌟 แม่ทัพหาญ ตำนานที่ยังมีชีวิต
    แม้ว่า พลเอกหาญ ลีนานนท์ จะจากไปเมื่อ 7 ปี ที่ผ่านมา แต่แนวคิดและอุดมการณ์ ยังคงส่งอิทธิพล ต่อการแก้ปัญหาภาคใต้ จนถึงปัจจุบัน

    ✅ พิสูจน์ว่าสันติวิธีดีกว่าการใช้กำลัง
    ✅ เปลี่ยนแนวคิด "สงคราม" เป็น "การเมืองนำการทหาร"
    ✅ ต่อต้านการทุ่มงบประมาณ อย่างไร้เหตุผล
    ✅ เป็นต้นแบบของผู้นำ ที่ประชาชนไว้วางใจ

    🕊️ "แม่ทัพหาญ" อาจจากไป แต่แนวคิดยังคงอยู่ตลอดกาล🔥
    ✅ พลเอกหาญ ลีนานนท์ เป็นแม่ทัพภาคที่ 4 ผู้ริเริ่ม "นโยบายใต้ร่มเย็น"
    ✅ เปลี่ยนจาก "การปราบปราม" เป็น "การสร้างความเข้าใจ"
    ✅ คัดค้านเรือเหาะ 350 ล้าน เพราะมองว่าสิ้นเปลือง และไม่แก้ปัญหาที่แท้จริง
    ✅ สร้างแนวทางสันติวิธี ที่กลายเป็นต้นแบบ การแก้ปัญหาภาคใต้

    🌿 "ดับไฟใต้ไม่ต้องใช้ปืน แต่ต้องใช้ใจ" พลเอกหาญ ลีนานนท์

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 111039 ก.พ. 2568

    📢 #แม่ทัพหาญ #ใต้ร่มเย็น #สันติวิธี #ดับไฟใต้ #การเมืองนำการทหาร #ค้านเรือเหาะ #ภาคใต้ #กองทัพไทย #7ปีสิ้นแม่ทัพหาญ
    7 ปี สิ้น “แม่ทัพหาญ” พลเอกหาญ ลีนานนท์ ผู้บุกเบิกนโยบายใต้ร่มเย็น ค้านเรือเหาะ เลิกปราบปราม สร้างความเข้าใจ ใช้สันติวิธี “ดับไฟใต้ด้วยสันติวิธี” คือแนวทางที่ พลเอกหาญ ลีนานนท์ เลือกใช้ตลอดชีวิตการรับราชการ และการเมือง ซึ่งพิสูจน์แล้วว่าได้ผล ในการสร้างความสงบ ให้กับภาคใต้ของไทย 📌 7 ปี แล้วที่ พลเอกหาญ ลีนานนท์ หรือ "แม่ทัพหาญ" จากไป ทิ้งไว้เพียงตำนานของแม่ทัพ ผู้เปลี่ยนนโยบายความมั่นคงของไทย จากการใช้กำลัง สู่สันติวิธี 🌿 แม้จะจากโลกนี้ไปเมื่อ 7 ปี ที่ผ่านมา แต่ชื่อของแม่ทัพหาญ ยังคงถูกกล่าวถึงในแวดวงการเมือง และกองทัพ โดยเฉพาะเรื่อง "นโยบายใต้ร่มเย็น" ที่กลายเป็นแนวทางสำคัญ ในการแก้ปัญหาความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนใต้ 🕊️ 👤 🎖️ เส้นทางสู่กองทัพ พลเอกหาญ ลีนานนท์ เกิดเมื่อ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2467 ที่อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล เป็นบุตรของขุนด่านลีนานนท์ และนางนิตย์ ลีนานนท์ การศึกษาของแม่ทัพหาญเริ่มจาก - โรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย - โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย - โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร - โรงเรียนนายร้อยทหารบก ร่วมรุ่นกับ พลเอกอาทิตย์ กำลังเอก และพลเอกเทียนชัย ศิริสัมพันธ์ หลังจบการศึกษา แม่ทัพหาญไต่เต้าขึ้นสู่ ตำแหน่งสำคัญในกองทัพ จนกระทั่งได้รับแต่งตั้ง เป็นแม่ทัพภาคที่ 4 ซึ่งเป็นช่วงที่สร้างคุณูปการ มากที่สุดในชีวิต 🏅 🔥 ปัญหาภาคใต้ก่อนยุคแม่ทัพหาญ ก่อนที่แม่ทัพหาญจะเข้ารับตำแหน่ง ภาคใต้เผชิญปัญหาความรุนแรงจากหลายกลุ่ม ได้แก่ ✅ ผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ (พคท.) ✅ ขบวนการโจรก่อการร้ายแบ่งแยกดินแดน (ขจก.) ✅ โจรจีนคอมมิวนิสต์มาลายา ✅ อิทธิพลท้องถิ่นและกลุ่มผู้มีอำนาจมืด รัฐใช้มาตรการปราบปรามอย่างหนัก แต่ไม่ได้ผล จนกระทั่งแม่ทัพหาญ เข้ามาเปลี่ยนแนวทางการแก้ปัญหา ☂️ นโยบายใต้ร่มเย็น จากสงครามสู่สันติภาพ "ใต้ร่มเย็น" เป็นนโยบายที่ให้ความสำคัญกับการเมือง มากกว่าการทหาร โดยมีหลักการสำคัญ 4 ข้อ ได้แก่ 1️⃣ ปกป้องชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ทั้งไทยพุทธและมุสลิม 2️⃣ ทำให้พื้นที่ชายแดนไทย-มาเลเซียปลอดภัย เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ 3️⃣ กำจัดอำนาจเผด็จการ และอิทธิพลมืดด้วยสันติวิธี 4️⃣ สร้างความสัมพันธ์ที่ดี ระหว่างเจ้าหน้าที่รัฐและประชาชน แม่ทัพหาญยึดหลักว่า "ต้องชนะใจประชาชน" ไม่ใช่แค่เอาชนะศัตรู ซึ่งเป็นหัวใจของยุทธศาสตร์ "นโยบาย 66/23" ที่ใช้ปราบคอมมิวนิสต์สำเร็จมาแล้ว 📝 ผลลัพธ์ของนโยบายใต้ร่มเย็น ✅ กลุ่มผู้ก่อความไม่สงบ มอบตัวจำนวนมาก ✅ ปัญหาความรุนแรง ลดลงอย่างมีนัยสำคัญ ✅ ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ และประชาชนดีขึ้น 🚢 ค้านเรือเหาะ ไม่เห็นด้วยกับการทุ่มงบประมาณ อย่างไร้ประสิทธิภาพ ⚠️ ในยุครัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ กองทัพบกได้ จัดซื้อเรือเหาะมูลค่า 350 ล้านบาท เพื่อใช้เฝ้าระวังในสามจังหวัดชายแดนใต้ แต่กลับกลายเป็น ประเด็นวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนัก แม่ทัพหาญ เป็นหนึ่งในบุคคลสำคัญ ที่ออกมาคัดค้าน โดยให้เหตุผลว่า ❌ ภูมิประเทศภาคใต้ เต็มไปด้วยป่าดงดิบ เรือเหาะจะจับภาพได้ยาก ❌ ขบวนการก่อความไม่สงบ อยู่ปะปนกับชาวบ้าน ไม่ใช่ในป่าเขา ❌ อาวุธเทคโนโลยีแพง ไม่ช่วยแก้ปัญหาได้จริง สิ่งที่สำคัญกว่าคือ ความเข้าใจประชาชน ❌ เป็นการใช้งบประมาณอย่างไม่คุ้มค่า ขณะที่เงินเหล่านี้ สามารถนำไปพัฒนาเศรษฐกิจในพื้นที่ได้ 🔴 บทความ "บทเรียนจากการรบ" ของแม่ทัพหาญ ระบุว่า "การซื้อเรือเหาะปราบโจรนี้ แสดงว่าทั้งผู้บังคับบัญชา ไม่มีความคิดที่จะแก้ปัญหาทางยุทธศาสตร์ โจรไม่ได้อยู่ในป่า แต่เขาอยู่ในบ้าน ในหมู่บ้าน ถ้าเรือเหาะถ่ายภาพมาได้ แล้วจะรู้ได้อย่างไร ว่าใครเป็นโจร หรือเป็นชาวบ้าน?" ท้ายที่สุด เรือเหาะถูกปลดระวาง โดยไม่เคยใช้งานเต็มศักยภาพ ซึ่งพิสูจน์ว่า แม่ทัพหาญคิดถูก 🛑 🌟 แม่ทัพหาญ ตำนานที่ยังมีชีวิต แม้ว่า พลเอกหาญ ลีนานนท์ จะจากไปเมื่อ 7 ปี ที่ผ่านมา แต่แนวคิดและอุดมการณ์ ยังคงส่งอิทธิพล ต่อการแก้ปัญหาภาคใต้ จนถึงปัจจุบัน ✅ พิสูจน์ว่าสันติวิธีดีกว่าการใช้กำลัง ✅ เปลี่ยนแนวคิด "สงคราม" เป็น "การเมืองนำการทหาร" ✅ ต่อต้านการทุ่มงบประมาณ อย่างไร้เหตุผล ✅ เป็นต้นแบบของผู้นำ ที่ประชาชนไว้วางใจ 🕊️ "แม่ทัพหาญ" อาจจากไป แต่แนวคิดยังคงอยู่ตลอดกาล🔥 ✅ พลเอกหาญ ลีนานนท์ เป็นแม่ทัพภาคที่ 4 ผู้ริเริ่ม "นโยบายใต้ร่มเย็น" ✅ เปลี่ยนจาก "การปราบปราม" เป็น "การสร้างความเข้าใจ" ✅ คัดค้านเรือเหาะ 350 ล้าน เพราะมองว่าสิ้นเปลือง และไม่แก้ปัญหาที่แท้จริง ✅ สร้างแนวทางสันติวิธี ที่กลายเป็นต้นแบบ การแก้ปัญหาภาคใต้ 🌿 "ดับไฟใต้ไม่ต้องใช้ปืน แต่ต้องใช้ใจ" พลเอกหาญ ลีนานนท์ ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 111039 ก.พ. 2568 📢 #แม่ทัพหาญ #ใต้ร่มเย็น #สันติวิธี #ดับไฟใต้ #การเมืองนำการทหาร #ค้านเรือเหาะ #ภาคใต้ #กองทัพไทย #7ปีสิ้นแม่ทัพหาญ
    0 Comments 0 Shares 815 Views 0 Reviews
  • 35 ปี สัญญาณเริ่มล่มสลาย “สหภาพโซเวียต” เปลี่ยนผ่านครั้งใหญ่ จุดสิ้นสุดพรรคคอมมิวนิสต์

    📅 ย้อนไปเมื่อ 35 ปี ที่ผ่านมา วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2533 (1990) เป็นวันที่เปรียบเสมือน “ระฆังแห่งการเปลี่ยนแปลง” ของสหภาพโซเวียต (USSR) เมื่อคณะกรรมาธิการกลาง ของพรรคคอมมิวนิสต์ ประกาศยุติการผูกขาดอำนาจทางการเมือง ซึ่งเป็นก้าวสำคัญ ที่นำไปสู่การล่มสลาย ของมหาอำนาจยุคสงครามเย็น ภายในเวลาเพียงไม่กี่ปี

    จากการปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์ เพียงพรรคเดียว มายาวนานกว่า 70 ปี สหภาพโซเวียต ต้องเผชิญกับปัญหาภายใน อย่างหนักหน่วง ทั้งวิกฤตเศรษฐกิจ การเมืองที่เริ่มไร้เสถียรภาพ และขบวนการชาตินิยม ในสาธารณรัฐต่างๆ ที่ต้องการแยกตัวออก ในที่สุด ระบบที่เคยแข็งแกร่ง ก็ต้องถึงกาลอวสาน

    🔴 จากการปฏิวัติ สู่มหาอำนาจโลก ต้นกำเนิดของ USSR 📌
    สหภาพโซเวียต (Union of Soviet Socialist Republics: USSR) ถือกำเนิดขึ้นในวันที่ 30 ธันวาคม 2465 หลังการปฏิวัติเดือนตุลาคม (1917) ที่พรรคบอลเชวิค ภายใต้การนำของ วลาดีมีร์ เลนิน (Vladimir Lenin) โค่นล้มระบอบกษัตริย์ และรัฐบาลเฉพาะกาลของรัสเซีย

    USSR ประกอบด้วย 15 สาธารณรัฐย่อย ได้แก่ รัสเซีย ยูเครน เบลารุส เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย มอลโดวา จอร์เจีย อาร์มีเนีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน อุซเบกิสถาน เติร์กเมนิสถาน คีร์กีซสถาน และทาจิกิสถาน

    👉 เมืองหลวงของสหภาพโซเวียตคือ มอสโก ซึ่งเป็นศูนย์กลางของการเมือง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม

    📌 สมัยแห่งอำนาจของสหภาพโซเวียต
    หลังสงครามโลกครั้งที่สอง สหภาพโซเวียตกลายเป็น หนึ่งในสองมหาอำนาจของโลก คู่กับสหรัฐอเมริกา นำไปสู่สงครามเย็น (Cold War) ที่กินเวลายาวนานกว่า 4 ทศวรรษ

    พรรคคอมมิวนิสต์ ซึ่งเป็นศูนย์กลางของการปกครอง ควบคุมทุกด้านของประเทศ ไม่ว่าจะเป็นเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ในขณะเดียวกัน สหภาพโซเวียตมีบทบาทสำคัญ ในวงการอวกาศ เช่น ส่ง ยูริ กาการิน (Yuri Gagarin) เป็นมนุษย์คนแรก ที่ขึ้นสู่อวกาศในปี 2504

    🔥 สัญญาณแห่งการล่มสลาย ปัจจัยที่ทำให้ USSR พังทลาย
    แม้ว่าสหภาพโซเวียต จะดูแข็งแกร่งจากภายนอก แต่ภายในกลับเต็มไปด้วยรอยร้าว ที่ค่อยๆ ก่อตัวจนถึงจุดแตกหัก

    📉 1. วิกฤตเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจแบบรวมศูนย์ที่ล้มเหลว
    เศรษฐกิจของสหภาพโซเวียต เป็นระบบวางแผนจากส่วนกลาง (Centralized Economy) ซึ่งรัฐบาลควบคุมทุกอย่าง ตั้งแต่การผลิต ไปจนถึงการจัดสรรทรัพยากร แต่ระบบนี้ เริ่มประสบปัญหาหนักในช่วงปี 2523

    - ขาดแคลนสินค้าอุปโภคบริโภค ประชาชนต้องต่อแถวซื้อขนมปัง เป็นชั่วโมง
    - ประสิทธิภาพการผลิตต่ำ ไม่มีแรงจูงใจให้แรงงานทำงานหนัก
    - ค่าใช้จ่ายทางทหารสูงลิ่ว ต้องใช้เงินจำนวนมาก ในการแข่งขันอาวุธกับสหรัฐฯ

    ⚔️ 2. สงครามอัฟกานิสถาน (1979-1989) บาดแผลที่ยากจะสมาน
    การส่งทหาร เข้าไปช่วยรัฐบาลคอมมิวนิสต์ ในอัฟกานิสถาน กลายเป็นสงครามเวียดนาม ของโซเวียต เนื่องจากถูกกองกำลังมูจาฮิดีน ต่อต้านอย่างหนัก สงครามนี้ ไม่เพียงแต่ทำให้โซเวียต สูญเสียทหารจำนวนมาก แต่ยังทำลายขวัญกำลังใจ ของประชาชนอีกด้วย

    🌍 3. ขบวนการแยกตัว ของสาธารณรัฐต่างๆ
    หลายสาธารณรัฐภายใน USSR เริ่มมีความต้องการเป็นอิสระ เช่น
    - กลุ่มบอลติก (เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย) ประกาศเอกราชในปี 2533
    - ยูเครนและจอร์เจีย มีการเคลื่อนไหวเพื่อแยกตัว

    เมื่อรัฐบาลกลาง ไม่สามารถควบคุมสถานการณ์ได้ ทำให้เกิดการล่มสลายในที่สุด

    🛑 4. การปฏิรูปของกอร์บาชอฟ กลัสนอสต์ & เปเรสตรอยคา
    เมื่อ มีฮาอิล กอร์บาชอฟ (Mikhail Gorbachev) ขึ้นเป็นผู้นำในปี 2528 เขาพยายามปฏิรูปประเทศผ่านนโยบายสำคัญ 2 ข้อ

    - กลัสนอสต์ (Glasnost) การเปิดเผยข้อมูล และให้เสรีภาพแก่ประชาชนมากขึ้น
    - เปเรสตรอยคา (Perestroika) การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ แบบตลาดเสรี

    แม้ว่านโยบายเหล่านี้ มีเป้าหมายที่ดี แต่กลับทำให้ปัญหาภายในปะทุเร็วขึ้น ประชาชนเริ่มเรียกร้องเสรีภาพมากขึ้น และในที่สุดพรรคคอมมิวนิสต์ ก็สูญเสียการควบคุม

    💥 วันที่พรรคคอมมิวนิสต์สูญเสียอำนาจ จุดจบของ USSR
    📆 7 กุมภาพันธ์ 2533 (1990) คณะกรรมาธิการกลาง ของพรรคคอมมิวนิสต์ แห่งสหภาพโซเวียตประกาศ ยกเลิกการผูกขาดอำนาจทางการเมือง ซึ่งเป็นจุดเปลี่ยนครั้งสำคัญ

    📆 25 ธันวาคม 2534 (1991) กอร์บาชอฟลาออกจากตำแหน่งประธานาธิบดี และ USSR ยุติการดำรงอยู่ โดยรัสเซียกลายเป็นรัฐเอกราช

    👉 บอริส เยลต์ซิน (Boris Yeltsin) กลายเป็นผู้นำคนใหม่ของรัสเซีย และอดีตสาธารณรัฐต่างๆ ก็แยกตัวเป็นเอกราช

    🎭 บทเรียนจากการล่มสลาย ของสหภาพโซเวียต
    - การรวมศูนย์อำนาจมากเกินไป อาจเป็นจุดอ่อน แทนที่จะเป็นจุดแข็ง
    - เศรษฐกิจที่ไร้ประสิทธิภาพ นำไปสู่ความไม่พอใจของประชาชน
    - การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วเกินไป อาจทำให้เกิดความไม่แน่นอน

    📢 35 ปี หลังจากวันที่พรรคคอมมิวนิสต์แห่ง USSR สูญเสียอำนาจ โลกยังคงเรียนรู้จากเหตุการณ์นี้ การล่มสลายของโซเวียต ไม่ใช่แค่เรื่องของอดีต แต่มันเป็นบทเรียนสำหรับทุกประเทศ ที่ต้องการคงไว้ซึ่งเสถียรภาพ และอำนาจ 📌

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 071329 ก.พ. 2568

    #สหภาพโซเวียต #USSR #โซเวียตล่มสลาย #สงครามเย็น #คอมมิวนิสต์ #Gorbachev #เยลต์ซิน #ColdWar
    35 ปี สัญญาณเริ่มล่มสลาย “สหภาพโซเวียต” เปลี่ยนผ่านครั้งใหญ่ จุดสิ้นสุดพรรคคอมมิวนิสต์ 📅 ย้อนไปเมื่อ 35 ปี ที่ผ่านมา วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2533 (1990) เป็นวันที่เปรียบเสมือน “ระฆังแห่งการเปลี่ยนแปลง” ของสหภาพโซเวียต (USSR) เมื่อคณะกรรมาธิการกลาง ของพรรคคอมมิวนิสต์ ประกาศยุติการผูกขาดอำนาจทางการเมือง ซึ่งเป็นก้าวสำคัญ ที่นำไปสู่การล่มสลาย ของมหาอำนาจยุคสงครามเย็น ภายในเวลาเพียงไม่กี่ปี จากการปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์ เพียงพรรคเดียว มายาวนานกว่า 70 ปี สหภาพโซเวียต ต้องเผชิญกับปัญหาภายใน อย่างหนักหน่วง ทั้งวิกฤตเศรษฐกิจ การเมืองที่เริ่มไร้เสถียรภาพ และขบวนการชาตินิยม ในสาธารณรัฐต่างๆ ที่ต้องการแยกตัวออก ในที่สุด ระบบที่เคยแข็งแกร่ง ก็ต้องถึงกาลอวสาน 🔴 จากการปฏิวัติ สู่มหาอำนาจโลก ต้นกำเนิดของ USSR 📌 สหภาพโซเวียต (Union of Soviet Socialist Republics: USSR) ถือกำเนิดขึ้นในวันที่ 30 ธันวาคม 2465 หลังการปฏิวัติเดือนตุลาคม (1917) ที่พรรคบอลเชวิค ภายใต้การนำของ วลาดีมีร์ เลนิน (Vladimir Lenin) โค่นล้มระบอบกษัตริย์ และรัฐบาลเฉพาะกาลของรัสเซีย USSR ประกอบด้วย 15 สาธารณรัฐย่อย ได้แก่ รัสเซีย ยูเครน เบลารุส เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย มอลโดวา จอร์เจีย อาร์มีเนีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน อุซเบกิสถาน เติร์กเมนิสถาน คีร์กีซสถาน และทาจิกิสถาน 👉 เมืองหลวงของสหภาพโซเวียตคือ มอสโก ซึ่งเป็นศูนย์กลางของการเมือง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม 📌 สมัยแห่งอำนาจของสหภาพโซเวียต หลังสงครามโลกครั้งที่สอง สหภาพโซเวียตกลายเป็น หนึ่งในสองมหาอำนาจของโลก คู่กับสหรัฐอเมริกา นำไปสู่สงครามเย็น (Cold War) ที่กินเวลายาวนานกว่า 4 ทศวรรษ พรรคคอมมิวนิสต์ ซึ่งเป็นศูนย์กลางของการปกครอง ควบคุมทุกด้านของประเทศ ไม่ว่าจะเป็นเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ในขณะเดียวกัน สหภาพโซเวียตมีบทบาทสำคัญ ในวงการอวกาศ เช่น ส่ง ยูริ กาการิน (Yuri Gagarin) เป็นมนุษย์คนแรก ที่ขึ้นสู่อวกาศในปี 2504 🔥 สัญญาณแห่งการล่มสลาย ปัจจัยที่ทำให้ USSR พังทลาย แม้ว่าสหภาพโซเวียต จะดูแข็งแกร่งจากภายนอก แต่ภายในกลับเต็มไปด้วยรอยร้าว ที่ค่อยๆ ก่อตัวจนถึงจุดแตกหัก 📉 1. วิกฤตเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจแบบรวมศูนย์ที่ล้มเหลว เศรษฐกิจของสหภาพโซเวียต เป็นระบบวางแผนจากส่วนกลาง (Centralized Economy) ซึ่งรัฐบาลควบคุมทุกอย่าง ตั้งแต่การผลิต ไปจนถึงการจัดสรรทรัพยากร แต่ระบบนี้ เริ่มประสบปัญหาหนักในช่วงปี 2523 - ขาดแคลนสินค้าอุปโภคบริโภค ประชาชนต้องต่อแถวซื้อขนมปัง เป็นชั่วโมง - ประสิทธิภาพการผลิตต่ำ ไม่มีแรงจูงใจให้แรงงานทำงานหนัก - ค่าใช้จ่ายทางทหารสูงลิ่ว ต้องใช้เงินจำนวนมาก ในการแข่งขันอาวุธกับสหรัฐฯ ⚔️ 2. สงครามอัฟกานิสถาน (1979-1989) บาดแผลที่ยากจะสมาน การส่งทหาร เข้าไปช่วยรัฐบาลคอมมิวนิสต์ ในอัฟกานิสถาน กลายเป็นสงครามเวียดนาม ของโซเวียต เนื่องจากถูกกองกำลังมูจาฮิดีน ต่อต้านอย่างหนัก สงครามนี้ ไม่เพียงแต่ทำให้โซเวียต สูญเสียทหารจำนวนมาก แต่ยังทำลายขวัญกำลังใจ ของประชาชนอีกด้วย 🌍 3. ขบวนการแยกตัว ของสาธารณรัฐต่างๆ หลายสาธารณรัฐภายใน USSR เริ่มมีความต้องการเป็นอิสระ เช่น - กลุ่มบอลติก (เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย) ประกาศเอกราชในปี 2533 - ยูเครนและจอร์เจีย มีการเคลื่อนไหวเพื่อแยกตัว เมื่อรัฐบาลกลาง ไม่สามารถควบคุมสถานการณ์ได้ ทำให้เกิดการล่มสลายในที่สุด 🛑 4. การปฏิรูปของกอร์บาชอฟ กลัสนอสต์ & เปเรสตรอยคา เมื่อ มีฮาอิล กอร์บาชอฟ (Mikhail Gorbachev) ขึ้นเป็นผู้นำในปี 2528 เขาพยายามปฏิรูปประเทศผ่านนโยบายสำคัญ 2 ข้อ - กลัสนอสต์ (Glasnost) การเปิดเผยข้อมูล และให้เสรีภาพแก่ประชาชนมากขึ้น - เปเรสตรอยคา (Perestroika) การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ แบบตลาดเสรี แม้ว่านโยบายเหล่านี้ มีเป้าหมายที่ดี แต่กลับทำให้ปัญหาภายในปะทุเร็วขึ้น ประชาชนเริ่มเรียกร้องเสรีภาพมากขึ้น และในที่สุดพรรคคอมมิวนิสต์ ก็สูญเสียการควบคุม 💥 วันที่พรรคคอมมิวนิสต์สูญเสียอำนาจ จุดจบของ USSR 📆 7 กุมภาพันธ์ 2533 (1990) คณะกรรมาธิการกลาง ของพรรคคอมมิวนิสต์ แห่งสหภาพโซเวียตประกาศ ยกเลิกการผูกขาดอำนาจทางการเมือง ซึ่งเป็นจุดเปลี่ยนครั้งสำคัญ 📆 25 ธันวาคม 2534 (1991) กอร์บาชอฟลาออกจากตำแหน่งประธานาธิบดี และ USSR ยุติการดำรงอยู่ โดยรัสเซียกลายเป็นรัฐเอกราช 👉 บอริส เยลต์ซิน (Boris Yeltsin) กลายเป็นผู้นำคนใหม่ของรัสเซีย และอดีตสาธารณรัฐต่างๆ ก็แยกตัวเป็นเอกราช 🎭 บทเรียนจากการล่มสลาย ของสหภาพโซเวียต - การรวมศูนย์อำนาจมากเกินไป อาจเป็นจุดอ่อน แทนที่จะเป็นจุดแข็ง - เศรษฐกิจที่ไร้ประสิทธิภาพ นำไปสู่ความไม่พอใจของประชาชน - การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วเกินไป อาจทำให้เกิดความไม่แน่นอน 📢 35 ปี หลังจากวันที่พรรคคอมมิวนิสต์แห่ง USSR สูญเสียอำนาจ โลกยังคงเรียนรู้จากเหตุการณ์นี้ การล่มสลายของโซเวียต ไม่ใช่แค่เรื่องของอดีต แต่มันเป็นบทเรียนสำหรับทุกประเทศ ที่ต้องการคงไว้ซึ่งเสถียรภาพ และอำนาจ 📌 ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 071329 ก.พ. 2568 #สหภาพโซเวียต #USSR #โซเวียตล่มสลาย #สงครามเย็น #คอมมิวนิสต์ #Gorbachev #เยลต์ซิน #ColdWar
    0 Comments 0 Shares 748 Views 0 Reviews
  • 37 ปี ยุทธการบ้านร่มเกล้า ไทย-ลาว ปะทะเดือด พิพาทเนิน 1428 สงครามบ่อแตน

    ย้อนไปเมื่อ 37 ปี ที่ผ่านมา “สมรภูมิร่มเกล้า” คือหนึ่งในเหตุการณ์ ความขัดแย้งทางทหาร ที่รุนแรงที่สุด ระหว่างไทยและลาว จุดศูนย์กลางของสงครามครั้งนี้คือ พื้นที่บ้านร่มเกล้า ต.บ่อภาค อ.ชาติตระการ จ.พิษณุโลก ซึ่งเกิดการสู้รบ ระหว่างกองทัพไทย และกองทัพประชาชนลาว เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531 นับเป็นเหตุการณ์ ที่สะท้อนให้เห็นถึงปัญหา การปักปันเขตแดน ที่ยังหาข้อสรุปไม่ได้ จนถึงปัจจุบัน

    🔥 ต้นตอของความขัดแย้ง ปัญหาเขตแดนไทย-ลาว
    📜 สนธิสัญญาปักปันเขตแดนสยาม-ฝรั่งเศส (2447-2450)
    ปัญหาการปะทะกัน ที่บ้านร่มเกล้า เกิดจากความคลาดเคลื่อน ในการตีความสนธิสัญญา ระหว่างราชอาณาจักรสยาม กับฝรั่งเศส (ขณะนั้น ลาวเป็นอาณานิคม ของฝรั่งเศส)

    ปี พ.ศ. 2447 และ พ.ศ. 2450 ไทยและฝรั่งเศส ได้ตกลงกำหนดเขตแดน โดยใช้แม่น้ำเหือง เป็นเส้นแบ่งระหว่างดินแดน ไทยและลาว อย่างไรก็ตาม "แม่น้ำเหือง" มี 2 สาย คือ
    - แม่น้ำเหืองป่าหมัน ต้นกำเนิดจากภูสอยดาว
    - แม่น้ำเหืองงา ต้นกำเนิดจากภูเมี่ยง

    ไทยอ้างว่า เส้นเขตแดนต้องใช้ "แม่น้ำเหืองงา" ตามต้นน้ำภูเมี่ยง
    ลาวอ้างว่า เส้นเขตแดนต้องใช้ "แม่น้ำเหืองป่าหมัน" ตามเส้นทางน้ำ ที่ไหลลงแม่น้ำโขง

    ความแตกต่างในการตีความนี้ ทำให้เกิดพื้นที่พิพาทกว่า 70 ตารางกิโลเมตร รวมถึงบริเวณบ้านร่มเกล้า ที่ทั้งสองประเทศอ้างสิทธิ์

    🔥 "บ้านร่มเกล้า" จุดยุทธศาสตร์ ที่นำไปสู่สงคราม
    🏡 การตั้งถิ่นฐานของชาวม้ง และการสัมปทานป่าไม้
    - พ.ศ. 2526 รัฐบาลไทยจัดตั้งหมู่บ้านร่มเกล้า เป็นที่อยู่ของชาวม้ง อดีตสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ แห่งประเทศไทย (พคท.) ที่เข้าร่วมพัฒนาชาติ
    - พ.ศ. 2528 ไทยให้สัมปทานตัดไม้ในพื้นที่นี้ โดยกองทัพภาคที่ 3 ดูแล

    ลาวมองว่า ไทยเข้ามารุกล้ำพื้นที่ และให้กลุ่มม้ง ที่เคยต่อต้านรัฐบาลลาว เข้ามาตั้งถิ่นฐาน เป็นภัยต่อความมั่นคงของลาว

    🔫 ความตึงเครียดเพิ่มขึ้น นำไปสู่สงคราม
    - 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2530 ทหารลาวบุกโจมตี แคมป์ตัดไม้ของไทย ทำให้เกิดการปะทะครั้งแรก
    - 8 สิงหาคม พ.ศ. 2530 ทหารพรานไทย ปะทะกับทหารลาว 200-300 นาย ที่บ้านร่มเกล้า
    - ปลายปี พ.ศ. 2530 ทหารลาวสร้างฐานที่มั่น บนเนิน 1428 และเนิน 1182 ซึ่งเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญ
    - 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531 กองทัพบกไทยเริ่ม "ยุทธการบ้านร่มเกล้า" เพื่อตอบโต้

    🔥 สมรภูมิร่มเกล้า การรบที่ดุเดือดที่สุด ระหว่างไทย-ลาว
    ⚔️ ยุทธการบ้านร่มเกล้า ปฏิบัติการผลักดันทหารลาว
    - ไทยใช้กำลังทหารราบ ทหารม้า ทหารปืนใหญ่ และทหารพราน ในการโจมตี พร้อมส่งเครื่องบินรบ F-5E และ OV-10 โจมตีฐานที่มั่นลาว
    - ทหารลาวมีจรวดแซม และปืนต่อสู้อากาศยาน ทำให้เครื่องบินไทยถูกยิงตกไป 2 ลำ

    🔥 การสู้รบดำเนินไปอย่างดุเดือด เป็นเวลากว่า 2 สัปดาห์ ไทยสามารถยึดคืนพื้นที่ได้ 70% แต่เนิน 1428 ยังคงเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญ ที่ยังตียึดไม่ได้

    ✈️ กองทัพอากาศไทยสูญเสียเครื่องบิน
    F-5E ตก 1 ลำ
    OV-10 ตก 1 ลำ

    ไทยพยายามยึดเนิน 1428 แต่ลาวได้เปรียบทางยุทธศาสตร์ ทำให้ไทยไม่สามารถรุกคืบไปได้

    ✍️ การเจรจาหยุดยิง และบทสรุปของสงคราม
    🤝 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531 หยุดยิงและถอยทัพ
    - 11 กุมภาพันธ์ 2531 นายไกรสอน พรหมวิหาร นายกรัฐมนตรีลาว เสนอหยุดยิง
    - 16-17 กุมภาพันธ์ 2531 ผู้บัญชาการทหารของไทยและลาว เจรจากันที่กรุงเทพฯ
    - 19 กุมภาพันธ์ 2531 ตกลงหยุดยิง ถอยกำลังทหารฝ่ายละ 3 กิโลเมตร

    💔 ความสูญเสียจากสมรภูมิร่มเกล้า
    - ทหารไทยเสียชีวิต 147 นาย, บาดเจ็บ 166 นาย
    - ทหารลาวคาดว่าเสียชีวิต 300-400 นาย, บาดเจ็บ 200-300 นาย
    - ไทยใช้งบประมาณ ในสงครามครั้งนี้กว่า 3,000 ล้านบาท

    ❓ 37 ปี ผ่านไป เขตแดนยังไม่ชัดเจน
    แม้สงครามจะจบลงด้วยการเจรจา แต่ปัญหาเขตแดนไทย-ลาว ยังไม่มีข้อสรุปที่ชัดเจน จนถึงปัจจุบัน สนธิสัญญาปี 2450 ยังถูกตีความต่างกัน ไทยและลาว ยังคงมีข้อพิพาทบางจุด ตามแนวชายแดน บทเรียนของสมรภูมิร่มเกล้า คือ ความสำคัญของการเจรจาทางการทูต แทนการใช้กำลังทหาร

    🔎 FAQ: คำถามที่พบบ่อย เกี่ยวกับสมรภูมิร่มเกล้า
    ❓ สมรภูมิร่มเกล้า เกิดขึ้นเมื่อไหร่?
    📌 เกิดขึ้นช่วง 1-19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531

    ❓ ทำไมไทยกับลาวถึงสู้รบกัน?
    📌 เกิดจากความขัดแย้งเรื่อง เส้นเขตแดนบริเวณแม่น้ำเหือง ซึ่งไทยและลาว ตีความต่างกัน

    ❓ ไทยชนะสงครามนี้หรือไม่?
    📌 ไทยสามารถยึดคืนพื้นที่ได้ 70% แต่ ไม่สามารถยึดเนิน 1428 ได้ ทำให้ไม่มีฝ่ายใดเป็นผู้ชนะ โดยสมบูรณ์

    ❓ ปัจจุบันไทย-ลาว ยังมีปัญหาชายแดนหรือไม่?
    📌 ยังมีข้อพิพาทบางจุด แต่ปัจจุบันไทยและลาว เน้นการเจรจา แทนการใช้กำลัง

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 010707 ก.พ. 2568

    🔗 #สมรภูมิร่มเกล้า #สงครามไทยลาว #ประวัติศาสตร์ไทย #พิพาทชายแดน #ยุทธการบ้านร่มเกล้า #เนิน1428 #ไทยลาวสัมพันธ์ #ปักปันเขตแดน #แม่น้ำเหือง #สงครามบ่อแตน
    37 ปี ยุทธการบ้านร่มเกล้า ไทย-ลาว ปะทะเดือด พิพาทเนิน 1428 สงครามบ่อแตน ย้อนไปเมื่อ 37 ปี ที่ผ่านมา “สมรภูมิร่มเกล้า” คือหนึ่งในเหตุการณ์ ความขัดแย้งทางทหาร ที่รุนแรงที่สุด ระหว่างไทยและลาว จุดศูนย์กลางของสงครามครั้งนี้คือ พื้นที่บ้านร่มเกล้า ต.บ่อภาค อ.ชาติตระการ จ.พิษณุโลก ซึ่งเกิดการสู้รบ ระหว่างกองทัพไทย และกองทัพประชาชนลาว เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531 นับเป็นเหตุการณ์ ที่สะท้อนให้เห็นถึงปัญหา การปักปันเขตแดน ที่ยังหาข้อสรุปไม่ได้ จนถึงปัจจุบัน 🔥 ต้นตอของความขัดแย้ง ปัญหาเขตแดนไทย-ลาว 📜 สนธิสัญญาปักปันเขตแดนสยาม-ฝรั่งเศส (2447-2450) ปัญหาการปะทะกัน ที่บ้านร่มเกล้า เกิดจากความคลาดเคลื่อน ในการตีความสนธิสัญญา ระหว่างราชอาณาจักรสยาม กับฝรั่งเศส (ขณะนั้น ลาวเป็นอาณานิคม ของฝรั่งเศส) ปี พ.ศ. 2447 และ พ.ศ. 2450 ไทยและฝรั่งเศส ได้ตกลงกำหนดเขตแดน โดยใช้แม่น้ำเหือง เป็นเส้นแบ่งระหว่างดินแดน ไทยและลาว อย่างไรก็ตาม "แม่น้ำเหือง" มี 2 สาย คือ - แม่น้ำเหืองป่าหมัน ต้นกำเนิดจากภูสอยดาว - แม่น้ำเหืองงา ต้นกำเนิดจากภูเมี่ยง ไทยอ้างว่า เส้นเขตแดนต้องใช้ "แม่น้ำเหืองงา" ตามต้นน้ำภูเมี่ยง ลาวอ้างว่า เส้นเขตแดนต้องใช้ "แม่น้ำเหืองป่าหมัน" ตามเส้นทางน้ำ ที่ไหลลงแม่น้ำโขง ความแตกต่างในการตีความนี้ ทำให้เกิดพื้นที่พิพาทกว่า 70 ตารางกิโลเมตร รวมถึงบริเวณบ้านร่มเกล้า ที่ทั้งสองประเทศอ้างสิทธิ์ 🔥 "บ้านร่มเกล้า" จุดยุทธศาสตร์ ที่นำไปสู่สงคราม 🏡 การตั้งถิ่นฐานของชาวม้ง และการสัมปทานป่าไม้ - พ.ศ. 2526 รัฐบาลไทยจัดตั้งหมู่บ้านร่มเกล้า เป็นที่อยู่ของชาวม้ง อดีตสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ แห่งประเทศไทย (พคท.) ที่เข้าร่วมพัฒนาชาติ - พ.ศ. 2528 ไทยให้สัมปทานตัดไม้ในพื้นที่นี้ โดยกองทัพภาคที่ 3 ดูแล ลาวมองว่า ไทยเข้ามารุกล้ำพื้นที่ และให้กลุ่มม้ง ที่เคยต่อต้านรัฐบาลลาว เข้ามาตั้งถิ่นฐาน เป็นภัยต่อความมั่นคงของลาว 🔫 ความตึงเครียดเพิ่มขึ้น นำไปสู่สงคราม - 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2530 ทหารลาวบุกโจมตี แคมป์ตัดไม้ของไทย ทำให้เกิดการปะทะครั้งแรก - 8 สิงหาคม พ.ศ. 2530 ทหารพรานไทย ปะทะกับทหารลาว 200-300 นาย ที่บ้านร่มเกล้า - ปลายปี พ.ศ. 2530 ทหารลาวสร้างฐานที่มั่น บนเนิน 1428 และเนิน 1182 ซึ่งเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญ - 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531 กองทัพบกไทยเริ่ม "ยุทธการบ้านร่มเกล้า" เพื่อตอบโต้ 🔥 สมรภูมิร่มเกล้า การรบที่ดุเดือดที่สุด ระหว่างไทย-ลาว ⚔️ ยุทธการบ้านร่มเกล้า ปฏิบัติการผลักดันทหารลาว - ไทยใช้กำลังทหารราบ ทหารม้า ทหารปืนใหญ่ และทหารพราน ในการโจมตี พร้อมส่งเครื่องบินรบ F-5E และ OV-10 โจมตีฐานที่มั่นลาว - ทหารลาวมีจรวดแซม และปืนต่อสู้อากาศยาน ทำให้เครื่องบินไทยถูกยิงตกไป 2 ลำ 🔥 การสู้รบดำเนินไปอย่างดุเดือด เป็นเวลากว่า 2 สัปดาห์ ไทยสามารถยึดคืนพื้นที่ได้ 70% แต่เนิน 1428 ยังคงเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญ ที่ยังตียึดไม่ได้ ✈️ กองทัพอากาศไทยสูญเสียเครื่องบิน F-5E ตก 1 ลำ OV-10 ตก 1 ลำ ไทยพยายามยึดเนิน 1428 แต่ลาวได้เปรียบทางยุทธศาสตร์ ทำให้ไทยไม่สามารถรุกคืบไปได้ ✍️ การเจรจาหยุดยิง และบทสรุปของสงคราม 🤝 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531 หยุดยิงและถอยทัพ - 11 กุมภาพันธ์ 2531 นายไกรสอน พรหมวิหาร นายกรัฐมนตรีลาว เสนอหยุดยิง - 16-17 กุมภาพันธ์ 2531 ผู้บัญชาการทหารของไทยและลาว เจรจากันที่กรุงเทพฯ - 19 กุมภาพันธ์ 2531 ตกลงหยุดยิง ถอยกำลังทหารฝ่ายละ 3 กิโลเมตร 💔 ความสูญเสียจากสมรภูมิร่มเกล้า - ทหารไทยเสียชีวิต 147 นาย, บาดเจ็บ 166 นาย - ทหารลาวคาดว่าเสียชีวิต 300-400 นาย, บาดเจ็บ 200-300 นาย - ไทยใช้งบประมาณ ในสงครามครั้งนี้กว่า 3,000 ล้านบาท ❓ 37 ปี ผ่านไป เขตแดนยังไม่ชัดเจน แม้สงครามจะจบลงด้วยการเจรจา แต่ปัญหาเขตแดนไทย-ลาว ยังไม่มีข้อสรุปที่ชัดเจน จนถึงปัจจุบัน สนธิสัญญาปี 2450 ยังถูกตีความต่างกัน ไทยและลาว ยังคงมีข้อพิพาทบางจุด ตามแนวชายแดน บทเรียนของสมรภูมิร่มเกล้า คือ ความสำคัญของการเจรจาทางการทูต แทนการใช้กำลังทหาร 🔎 FAQ: คำถามที่พบบ่อย เกี่ยวกับสมรภูมิร่มเกล้า ❓ สมรภูมิร่มเกล้า เกิดขึ้นเมื่อไหร่? 📌 เกิดขึ้นช่วง 1-19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531 ❓ ทำไมไทยกับลาวถึงสู้รบกัน? 📌 เกิดจากความขัดแย้งเรื่อง เส้นเขตแดนบริเวณแม่น้ำเหือง ซึ่งไทยและลาว ตีความต่างกัน ❓ ไทยชนะสงครามนี้หรือไม่? 📌 ไทยสามารถยึดคืนพื้นที่ได้ 70% แต่ ไม่สามารถยึดเนิน 1428 ได้ ทำให้ไม่มีฝ่ายใดเป็นผู้ชนะ โดยสมบูรณ์ ❓ ปัจจุบันไทย-ลาว ยังมีปัญหาชายแดนหรือไม่? 📌 ยังมีข้อพิพาทบางจุด แต่ปัจจุบันไทยและลาว เน้นการเจรจา แทนการใช้กำลัง ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 010707 ก.พ. 2568 🔗 #สมรภูมิร่มเกล้า #สงครามไทยลาว #ประวัติศาสตร์ไทย #พิพาทชายแดน #ยุทธการบ้านร่มเกล้า #เนิน1428 #ไทยลาวสัมพันธ์ #ปักปันเขตแดน #แม่น้ำเหือง #สงครามบ่อแตน
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 861 Views 0 Reviews
  • สันติภาพที่ปารีส (Peace in Paris)

    เสียงระเบิดยังคงก้อง ในความหลัง เวียดนามทั้งสองฝั่ง ถูกแบ่งด้วยเส้นทาง สงครามเย็นเยือก มหาอำนาจเฝ้าจับจ้อง ในเงาของความหวัง ที่ยังเลือนลาง

    อเมริกาก้าวเข้ามา พร้อมธงเสรี ฐานทัพในไทย ถูกสร้างตามวิถี “คอมมิวนิสต์ต้องถูกหยุด ไว้ตรงนี้” ความขัดแย้งยิ่งพุ่งสูง ในทุกนาที

    * ที่ปารีสคือที่ ที่เราสัญญา หยุดสงคราม หยุดน้ำตา ที่หลั่งรินมา การต่อสู้จบลง ในกระดาษเพียงแผ่นเดียว แต่บาดแผล ยังไม่เคยเลือนลางจริง

    บนผืนดินไทย เคยมีทหารต่างชาติ เสียงเครื่องบินดังกระหึ่ม ในยามดึกดื่น คนไทยยืนหยัดในสายลม ที่พัดแปรปรวน ด้วยหวังให้แสงรุ่งอรุณ ยังคงมาถึง

    การเมืองในเงาอาวุธ และคำสัญญา ผู้นำทหารถือชะตา ของปวงประชา เวียดนามสงบ ไทยยังต้องลุ้นชะตา เมื่อสงครามจบ แต่ความหวาดกลัวยังอยู่

    ซ้ำ *

    ไทยต้องการอิสระ แต่ต้องเผชิญแรงกดดัน บทเรียนจากสงคราม ฝากไว้ให้เราระวัง โลกใบนี้ยังมี สิ่งที่ต้องเข้าใจ การสร้างสันติภาพ ยากกว่าสงครามที่ผ่านไป

    ซ้ำ *

    หลายสิบปีผ่านไป เสียงปืนได้เงียบหาย แต่เสียงแห่งประวัติศาสตร์ ยังร้องจากใจ สงครามจบ แต่คำถามยังไม่สิ้นสุด เราจะเดินไปข้างหน้า หรือย้อนคืนวันเก่า ที่เราผ่านมา

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 270827 ม.ค. 2568

    #สงครามเวียดนาม #สันติภาพปารีส #ประวัติศาสตร์ไทย #สันติภาพและสงคราม #บทเรียนจากสงคราม #คอมมิวนิสต์และเสรีนิยม #การเมืองสงครามเย็น #ไทยในสงครามเวียดนาม #เสียงแห่งประวัติศาสตร์ #เพลงเพื่อสันติภาพ
    สันติภาพที่ปารีส (Peace in Paris) เสียงระเบิดยังคงก้อง ในความหลัง เวียดนามทั้งสองฝั่ง ถูกแบ่งด้วยเส้นทาง สงครามเย็นเยือก มหาอำนาจเฝ้าจับจ้อง ในเงาของความหวัง ที่ยังเลือนลาง อเมริกาก้าวเข้ามา พร้อมธงเสรี ฐานทัพในไทย ถูกสร้างตามวิถี “คอมมิวนิสต์ต้องถูกหยุด ไว้ตรงนี้” ความขัดแย้งยิ่งพุ่งสูง ในทุกนาที * ที่ปารีสคือที่ ที่เราสัญญา หยุดสงคราม หยุดน้ำตา ที่หลั่งรินมา การต่อสู้จบลง ในกระดาษเพียงแผ่นเดียว แต่บาดแผล ยังไม่เคยเลือนลางจริง บนผืนดินไทย เคยมีทหารต่างชาติ เสียงเครื่องบินดังกระหึ่ม ในยามดึกดื่น คนไทยยืนหยัดในสายลม ที่พัดแปรปรวน ด้วยหวังให้แสงรุ่งอรุณ ยังคงมาถึง การเมืองในเงาอาวุธ และคำสัญญา ผู้นำทหารถือชะตา ของปวงประชา เวียดนามสงบ ไทยยังต้องลุ้นชะตา เมื่อสงครามจบ แต่ความหวาดกลัวยังอยู่ ซ้ำ * ไทยต้องการอิสระ แต่ต้องเผชิญแรงกดดัน บทเรียนจากสงคราม ฝากไว้ให้เราระวัง โลกใบนี้ยังมี สิ่งที่ต้องเข้าใจ การสร้างสันติภาพ ยากกว่าสงครามที่ผ่านไป ซ้ำ * หลายสิบปีผ่านไป เสียงปืนได้เงียบหาย แต่เสียงแห่งประวัติศาสตร์ ยังร้องจากใจ สงครามจบ แต่คำถามยังไม่สิ้นสุด เราจะเดินไปข้างหน้า หรือย้อนคืนวันเก่า ที่เราผ่านมา ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 270827 ม.ค. 2568 #สงครามเวียดนาม #สันติภาพปารีส #ประวัติศาสตร์ไทย #สันติภาพและสงคราม #บทเรียนจากสงคราม #คอมมิวนิสต์และเสรีนิยม #การเมืองสงครามเย็น #ไทยในสงครามเวียดนาม #เสียงแห่งประวัติศาสตร์ #เพลงเพื่อสันติภาพ
    0 Comments 0 Shares 802 Views 22 0 Reviews
  • 52 ปี ข้อตกลงสันติภาพปารีส ปิดฉากสงครามเวียดนาม บทบาทของไทยในสงครามเย็น

    สงครามเวียดนาม เป็นหนึ่งในเหตุการณ์สำคัญที่สุด ในศตวรรษที่ 20 ซึ่งไม่ได้เพียงแค่ แสดงถึงความขัดแย้ง ระหว่างสองขั้วอำนาจของโลก ในยุคสงครามเย็น แต่ยังเป็นจุดเปลี่ยนที่ส่งผลกระทบ ต่อภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมถึงประเทศไทยโดยตรง การลงนามในข้อตกลงสันติภาพปารีส เมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2516 นับเป็นจุดสิ้นสุดของสงครามเวียดนาม ซึ่งกินระยะเวลายาวนานถึง 18 ปี 🌏

    จุดเริ่มต้นของความขัดแย้ง
    สงครามเวียดนาม เริ่มต้นจากความขัดแย้งทางอุดมการณ์ ระหว่างระบอบคอมมิวนิสต์ และเสรีนิยม ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เวียดนามเหนือ ได้รับการสนับสนุนจาก สหภาพโซเวียต และจีน ในขณะที่เวียดนามใต้ มีสหรัฐอเมริกา เป็นพันธมิตรสำคัญ

    นโยบายของสหรัฐ สกัดกั้นคอมมิวนิสต์
    สหรัฐตัดสินใจ เข้ามามีบทบาทในเวียดนาม ตั้งแต่ช่วง พ.ศ. 2493 ด้วยเป้าหมายในการ "หยุดยั้งการขยายตัวของคอมมิวนิสต์" (Containment Policy) โดยมองว่า หากเวียดนามเหนือ ตกอยู่ใต้อิทธิพลคอมมิวนิสต์ ประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก็อาจถูกครอบงำด้วยเช่นกัน หรือที่เรียกว่า "ทฤษฎีโดมิโน"

    ประเทศไทย พันธมิตรสำคัญของสหรัฐ
    ในยุคสงครามเย็น ประเทศไทย ได้กลายเป็นพันธมิตรสำคัญ ของสหรัฐอเมริกา ในการต่อสู้กับภัยคอมมิวนิสต์ เนื่องจากไทย ตั้งอยู่ในจุดยุทธศาสตร์สำคัญ ใกล้กับเวียดนามและลาว

    รัฐบาลไทยในยุคนั้น โดยเฉพาะภายใต้การนำของ "จอมพลถนอม กิตติขจร" และ "จอมพลประภาส จารุเสถียร" ให้การสนับสนุนสหรัฐเต็มที่ ไม่ว่าจะเป็นการเปิดให้ใช้ ฐานทัพในประเทศไทย หรือการส่งทหารไทยเข้าร่วมในสงคราม

    ฐานทัพในไทย ศูนย์กลางปฏิบัติการ
    สหรัฐได้ตั้งฐานทัพในประเทศไทยถึง 7 แห่ง ได้แก่
    - ดอนเมือง
    - นครราชสีมา
    - ตาคลี
    - อุบลราชธานี
    - อุดรธานี
    - นครพนม
    - อู่ตะเภา

    ฐานทัพเหล่านี้ เป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญ สำหรับการทิ้งระเบิด ในเวียดนามเหนือ และการดำเนินปฏิบัติการทางอากาศ โดยมีการประมาณว่า 80% ของการโจมตีทางอากาศของสหรัฐ ในเวียดนามเหนือ มาจากฐานทัพในประเทศไทย

    ข้อตกลงสันติภาพปารีส จุดสิ้นสุดของสงคราม
    ข้อตกลงสันติภาพปารีส ที่ลงนามในวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2516 เป็นข้อตกลงสำคัญ ที่มีเป้าหมายเพื่อยุติสงคราม และฟื้นฟูสันติภาพในเวียดนาม ข้อตกลงนี้ลงนามระหว่าง

    - รัฐบาลสหรัฐ
    - รัฐบาลเวียดนามเหนือ
    - รัฐบาลเวียดนามใต้
    - รัฐบาลปฏิวัติเฉพาะกาล แห่งสาธารณรัฐเวียดนามใต้

    เนื้อหาสำคัญ ได้แก่
    - การยุติการแทรกแซงทางทหาร ของสหรัฐในเวียดนาม
    - การถอนทหารอเมริกันทั้งหมด ออกจากเวียดนาม
    - การแลกเปลี่ยนนักโทษสงคราม
    - การยอมรับสถานะของรัฐบาล เวียดนามเหนือและใต้

    ผลกระทบจากข้อตกลง
    การลงนามในข้อตกลงนี้ ส่งผลให้สหรัฐ ถอนกำลังออกจากเวียดนาม อย่างเป็นทางการ อย่างไรก็ตาม ความขัดแย้งระหว่างเวียดนามเหนือและใต้ ยังคงดำเนินต่อไป และสิ้นสุดในปี พ.ศ. 2518 เมื่อเวียดนามเหนือ เข้ายึดครองไซง่อน

    ผลกระทบนามต่อประเทศไทย
    1. ความเปลี่ยนแปลงทางการเมือง และเศรษฐกิจ
    - ความช่วยเหลือจากสหรัฐ การสนับสนุนสหรัฐ ในสงครามเวียดนาม นำมาซึ่งการลงทุน ด้านโครงสร้างพื้นฐานในไทย เช่น ถนน สนามบิน และเทคโนโลยีทางการทหาร
    - ผลกระทบทางเศรษฐกิจ การที่ไทยเป็นฐานทัพ นำไปสู่การเติบโตของธุรกิจในท้องถิ่น เช่น โรงแรม บาร์ และธุรกิจบริการ

    2. การสูญเสียเอกราช
    มีข้อถกเถียงว่า การที่ไทยอนุญาตให้สหรัฐ ใช้พื้นที่เป็นฐานทัพ และมีทหารจำนวนมาก ประจำอยู่ในประเทศ เป็นการละเมิด อธิปไตยของชาติ และทำให้เกิดความไม่พอใจ ในกลุ่มนักวิชาการ และนักศึกษา

    3. ผลกระทบทางสังคม
    การมีทหารอเมริกันในไทย ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม เช่น การนำวัฒนธรรมตะวันตก เข้ามาในสังคมไทย ซึ่งทั้งส่งผลดี และผลเสียในระยะยาว

    สงครามเวียดนาม และบทบาทของไทยในยุคนั้นเ ป็นตัวอย่างที่สำคัญ ของการดำเนินนโยบาย ในยุคสงครามเย็น แม้จะมีผลกระทบทางลบในด้านสังคม และการสูญเสียเอกราชบางส่วน แต่การสนับสนุนสหรัฐ ในสงครามเวียดนาม ก็ช่วยให้ไทยรอดพ้นจากการคุกคาม ของคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค

    การลงนามในข้อตกลงสันติภาพปารีส เป็นการเตือนให้เราตระหนัก ถึงความสำคัญของสันติภาพ และการเจรจา เพื่อหลีกเลี่ยงความขัดแย้งในอนาคต

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 270827 ม.ค. 2568

    #สงครามเวียดนาม #ข้อตกลงปารีส #การเมืองโลก #สงครามเย็น #บทบาทไทยในสงคราม #ประวัติศาสตร์เอเชีย #ฐานทัพสหรัฐในไทย #การเจรจาสันติภาพ #การเมืองระหว่างประเทศ #ประวัติศาสตร์สงคราม

    🎯
    52 ปี ข้อตกลงสันติภาพปารีส ปิดฉากสงครามเวียดนาม บทบาทของไทยในสงครามเย็น สงครามเวียดนาม เป็นหนึ่งในเหตุการณ์สำคัญที่สุด ในศตวรรษที่ 20 ซึ่งไม่ได้เพียงแค่ แสดงถึงความขัดแย้ง ระหว่างสองขั้วอำนาจของโลก ในยุคสงครามเย็น แต่ยังเป็นจุดเปลี่ยนที่ส่งผลกระทบ ต่อภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมถึงประเทศไทยโดยตรง การลงนามในข้อตกลงสันติภาพปารีส เมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2516 นับเป็นจุดสิ้นสุดของสงครามเวียดนาม ซึ่งกินระยะเวลายาวนานถึง 18 ปี 🌏 จุดเริ่มต้นของความขัดแย้ง สงครามเวียดนาม เริ่มต้นจากความขัดแย้งทางอุดมการณ์ ระหว่างระบอบคอมมิวนิสต์ และเสรีนิยม ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เวียดนามเหนือ ได้รับการสนับสนุนจาก สหภาพโซเวียต และจีน ในขณะที่เวียดนามใต้ มีสหรัฐอเมริกา เป็นพันธมิตรสำคัญ นโยบายของสหรัฐ สกัดกั้นคอมมิวนิสต์ สหรัฐตัดสินใจ เข้ามามีบทบาทในเวียดนาม ตั้งแต่ช่วง พ.ศ. 2493 ด้วยเป้าหมายในการ "หยุดยั้งการขยายตัวของคอมมิวนิสต์" (Containment Policy) โดยมองว่า หากเวียดนามเหนือ ตกอยู่ใต้อิทธิพลคอมมิวนิสต์ ประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก็อาจถูกครอบงำด้วยเช่นกัน หรือที่เรียกว่า "ทฤษฎีโดมิโน" ประเทศไทย พันธมิตรสำคัญของสหรัฐ ในยุคสงครามเย็น ประเทศไทย ได้กลายเป็นพันธมิตรสำคัญ ของสหรัฐอเมริกา ในการต่อสู้กับภัยคอมมิวนิสต์ เนื่องจากไทย ตั้งอยู่ในจุดยุทธศาสตร์สำคัญ ใกล้กับเวียดนามและลาว รัฐบาลไทยในยุคนั้น โดยเฉพาะภายใต้การนำของ "จอมพลถนอม กิตติขจร" และ "จอมพลประภาส จารุเสถียร" ให้การสนับสนุนสหรัฐเต็มที่ ไม่ว่าจะเป็นการเปิดให้ใช้ ฐานทัพในประเทศไทย หรือการส่งทหารไทยเข้าร่วมในสงคราม ฐานทัพในไทย ศูนย์กลางปฏิบัติการ สหรัฐได้ตั้งฐานทัพในประเทศไทยถึง 7 แห่ง ได้แก่ - ดอนเมือง - นครราชสีมา - ตาคลี - อุบลราชธานี - อุดรธานี - นครพนม - อู่ตะเภา ฐานทัพเหล่านี้ เป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญ สำหรับการทิ้งระเบิด ในเวียดนามเหนือ และการดำเนินปฏิบัติการทางอากาศ โดยมีการประมาณว่า 80% ของการโจมตีทางอากาศของสหรัฐ ในเวียดนามเหนือ มาจากฐานทัพในประเทศไทย ข้อตกลงสันติภาพปารีส จุดสิ้นสุดของสงคราม ข้อตกลงสันติภาพปารีส ที่ลงนามในวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2516 เป็นข้อตกลงสำคัญ ที่มีเป้าหมายเพื่อยุติสงคราม และฟื้นฟูสันติภาพในเวียดนาม ข้อตกลงนี้ลงนามระหว่าง - รัฐบาลสหรัฐ - รัฐบาลเวียดนามเหนือ - รัฐบาลเวียดนามใต้ - รัฐบาลปฏิวัติเฉพาะกาล แห่งสาธารณรัฐเวียดนามใต้ เนื้อหาสำคัญ ได้แก่ - การยุติการแทรกแซงทางทหาร ของสหรัฐในเวียดนาม - การถอนทหารอเมริกันทั้งหมด ออกจากเวียดนาม - การแลกเปลี่ยนนักโทษสงคราม - การยอมรับสถานะของรัฐบาล เวียดนามเหนือและใต้ ผลกระทบจากข้อตกลง การลงนามในข้อตกลงนี้ ส่งผลให้สหรัฐ ถอนกำลังออกจากเวียดนาม อย่างเป็นทางการ อย่างไรก็ตาม ความขัดแย้งระหว่างเวียดนามเหนือและใต้ ยังคงดำเนินต่อไป และสิ้นสุดในปี พ.ศ. 2518 เมื่อเวียดนามเหนือ เข้ายึดครองไซง่อน ผลกระทบนามต่อประเทศไทย 1. ความเปลี่ยนแปลงทางการเมือง และเศรษฐกิจ - ความช่วยเหลือจากสหรัฐ การสนับสนุนสหรัฐ ในสงครามเวียดนาม นำมาซึ่งการลงทุน ด้านโครงสร้างพื้นฐานในไทย เช่น ถนน สนามบิน และเทคโนโลยีทางการทหาร - ผลกระทบทางเศรษฐกิจ การที่ไทยเป็นฐานทัพ นำไปสู่การเติบโตของธุรกิจในท้องถิ่น เช่น โรงแรม บาร์ และธุรกิจบริการ 2. การสูญเสียเอกราช มีข้อถกเถียงว่า การที่ไทยอนุญาตให้สหรัฐ ใช้พื้นที่เป็นฐานทัพ และมีทหารจำนวนมาก ประจำอยู่ในประเทศ เป็นการละเมิด อธิปไตยของชาติ และทำให้เกิดความไม่พอใจ ในกลุ่มนักวิชาการ และนักศึกษา 3. ผลกระทบทางสังคม การมีทหารอเมริกันในไทย ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม เช่น การนำวัฒนธรรมตะวันตก เข้ามาในสังคมไทย ซึ่งทั้งส่งผลดี และผลเสียในระยะยาว สงครามเวียดนาม และบทบาทของไทยในยุคนั้นเ ป็นตัวอย่างที่สำคัญ ของการดำเนินนโยบาย ในยุคสงครามเย็น แม้จะมีผลกระทบทางลบในด้านสังคม และการสูญเสียเอกราชบางส่วน แต่การสนับสนุนสหรัฐ ในสงครามเวียดนาม ก็ช่วยให้ไทยรอดพ้นจากการคุกคาม ของคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค การลงนามในข้อตกลงสันติภาพปารีส เป็นการเตือนให้เราตระหนัก ถึงความสำคัญของสันติภาพ และการเจรจา เพื่อหลีกเลี่ยงความขัดแย้งในอนาคต ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 270827 ม.ค. 2568 #สงครามเวียดนาม #ข้อตกลงปารีส #การเมืองโลก #สงครามเย็น #บทบาทไทยในสงคราม #ประวัติศาสตร์เอเชีย #ฐานทัพสหรัฐในไทย #การเจรจาสันติภาพ #การเมืองระหว่างประเทศ #ประวัติศาสตร์สงคราม 🎯
    0 Comments 0 Shares 1263 Views 0 Reviews
  • แผนการของซีไอเอและกองทัพสหรัฐในการสังหารชาวอเมริกัน

    เอกสารของ CIA ที่ได้รับการปลดล็อคเผยให้เห็นว่ากองทัพสหรัฐฯ วางแผนปฏิบัติการนอร์ธวูดส์ เพื่อก่อการร้ายต่อพลเมืองอเมริกัน เพื่อเป็นเหตุผลในการทำสงครามกับคิวบา

    โครงเรื่องมีข้อเสนอ เช่น การสร้าง 'การรณรงค์ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์คิวบา' ในเมืองต่างๆ ของสหรัฐอเมริกา

    หลักฐานที่แสดงว่า CIA ไม่เคยใส่ใจสิทธิมนุษยชนของพลเมืองสหรัฐฯ

    ที่มา : DailyMail
    แผนการของซีไอเอและกองทัพสหรัฐในการสังหารชาวอเมริกัน เอกสารของ CIA ที่ได้รับการปลดล็อคเผยให้เห็นว่ากองทัพสหรัฐฯ วางแผนปฏิบัติการนอร์ธวูดส์ เพื่อก่อการร้ายต่อพลเมืองอเมริกัน เพื่อเป็นเหตุผลในการทำสงครามกับคิวบา โครงเรื่องมีข้อเสนอ เช่น การสร้าง 'การรณรงค์ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์คิวบา' ในเมืองต่างๆ ของสหรัฐอเมริกา หลักฐานที่แสดงว่า CIA ไม่เคยใส่ใจสิทธิมนุษยชนของพลเมืองสหรัฐฯ ที่มา : DailyMail
    Like
    3
    0 Comments 0 Shares 358 Views 0 Reviews
More Results