• OpenAI ขยายการรองรับ Data Residency ใน 4 ประเทศเอเชีย OpenAI ประกาศว่า ChatGPT Enterprise, ChatGPT Edu และ API Platform จะรองรับ Data Residency ใน ญี่ปุ่น, อินเดีย, สิงคโปร์ และเกาหลีใต้ ซึ่งช่วยให้ องค์กรสามารถจัดเก็บข้อมูลภายในประเทศของตน ตามข้อกำหนดด้าน Data Sovereignty

    นอกจากนี้ OpenAI ยังเน้นย้ำถึง มาตรการรักษาความปลอดภัยข้อมูล เช่น การเข้ารหัสขั้นสูง, การปฏิบัติตามมาตรฐานความปลอดภัยระดับสากล และการไม่ใช้ข้อมูลลูกค้าในการฝึกโมเดล AI

    ✅ OpenAI รองรับ Data Residency ในญี่ปุ่น, อินเดีย, สิงคโปร์ และเกาหลีใต้
    - ช่วยให้ องค์กรสามารถจัดเก็บข้อมูลภายในประเทศของตน

    ✅ Data Residency รองรับ ChatGPT Enterprise, ChatGPT Edu และ API Platform
    - ลูกค้าสามารถ เลือกพื้นที่จัดเก็บข้อมูลสำหรับ API Platform ได้

    ✅ OpenAI ใช้การเข้ารหัส AES-256 สำหรับข้อมูลที่จัดเก็บ และ TLS 1.2+ สำหรับข้อมูลที่ส่งผ่านเครือข่าย
    - ช่วยให้ ข้อมูลมีความปลอดภัยทั้งขณะจัดเก็บและขณะส่งผ่านเครือข่าย

    ✅ OpenAI ไม่ใช้ข้อมูลจาก ChatGPT Business Plans หรือ API ในการฝึกโมเดล AI
    - ยกเว้นกรณีที่ ลูกค้าเลือกแชร์ข้อมูลกับ OpenAI

    ✅ OpenAI ปฏิบัติตามมาตรฐาน GDPR, CCPA และ CSA STAR
    - ช่วยให้ องค์กรสามารถปฏิบัติตามข้อกำหนดด้านความเป็นส่วนตัว

    https://www.neowin.net/news/openai-announces-data-residency-support-in-asian-countries/
    OpenAI ขยายการรองรับ Data Residency ใน 4 ประเทศเอเชีย OpenAI ประกาศว่า ChatGPT Enterprise, ChatGPT Edu และ API Platform จะรองรับ Data Residency ใน ญี่ปุ่น, อินเดีย, สิงคโปร์ และเกาหลีใต้ ซึ่งช่วยให้ องค์กรสามารถจัดเก็บข้อมูลภายในประเทศของตน ตามข้อกำหนดด้าน Data Sovereignty นอกจากนี้ OpenAI ยังเน้นย้ำถึง มาตรการรักษาความปลอดภัยข้อมูล เช่น การเข้ารหัสขั้นสูง, การปฏิบัติตามมาตรฐานความปลอดภัยระดับสากล และการไม่ใช้ข้อมูลลูกค้าในการฝึกโมเดล AI ✅ OpenAI รองรับ Data Residency ในญี่ปุ่น, อินเดีย, สิงคโปร์ และเกาหลีใต้ - ช่วยให้ องค์กรสามารถจัดเก็บข้อมูลภายในประเทศของตน ✅ Data Residency รองรับ ChatGPT Enterprise, ChatGPT Edu และ API Platform - ลูกค้าสามารถ เลือกพื้นที่จัดเก็บข้อมูลสำหรับ API Platform ได้ ✅ OpenAI ใช้การเข้ารหัส AES-256 สำหรับข้อมูลที่จัดเก็บ และ TLS 1.2+ สำหรับข้อมูลที่ส่งผ่านเครือข่าย - ช่วยให้ ข้อมูลมีความปลอดภัยทั้งขณะจัดเก็บและขณะส่งผ่านเครือข่าย ✅ OpenAI ไม่ใช้ข้อมูลจาก ChatGPT Business Plans หรือ API ในการฝึกโมเดล AI - ยกเว้นกรณีที่ ลูกค้าเลือกแชร์ข้อมูลกับ OpenAI ✅ OpenAI ปฏิบัติตามมาตรฐาน GDPR, CCPA และ CSA STAR - ช่วยให้ องค์กรสามารถปฏิบัติตามข้อกำหนดด้านความเป็นส่วนตัว https://www.neowin.net/news/openai-announces-data-residency-support-in-asian-countries/
    WWW.NEOWIN.NET
    OpenAI announces data residency support in Asian countries
    This allows organizations in these regions to store their data locally, helping them comply with data sovereignty regulations.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 22 มุมมอง 0 รีวิว
  • บทวิเคราะห์ของ สมหมาย ภาษี อดีตรัฐมนตรีคลัง “นโยบายปรับภาษี (Tariff) ของ Trump จะทำให้โลกใบนี้ไม่เหมือนเดิมอีกแล้วพัฒนาการของการค้าโลกในช่วงประมาณ 50 ปีที่ผ่านมา มีการตั้งองค์การด้านการค้าโลกขึ้น เริ่มด้วยการตั้ง GATTS แล้วต่อมาปรับเป็น WTO (World Trade Organization) เพื่อสร้างกฎเกณฑ์การค้าขายระหว่างประเทศและกำกับให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยตามแนวทางการค้าเสรี ช่วงนี้จะมีประเทศมหาอำนาจอย่างสหรัฐอเมริกา รัสเซีย ประเทศใหญ่ๆในยุโรป และประเทศญี่ปุ่นได้ปรับตัวให้ตนเองมั่งคั่งและสะสมความร่ำรวย เข้าไปควบคุมตลาดเงินและสกุลเงินตราสำคัญ รวมทั้งควบคุมตลาดการค้าหลักๆให้เป็นระเบียบและเอื้อต่อการขยายตัวของการค้าขายของแต่ละประเทศเพื่อประโยชน์ต่อตนเองมากขึ้นเรื่อยๆ .แต่แล้วในช่วงดังกล่าวนี้ประเทศจีนเสือหลับแห่งเอเชีย ที่ได้ผู้นำประเทศที่ขึ้นมาพลิกผันประเทศได้อย่างเป็นรูปธรรมได้รวดเร็วและต่อเนื่อง ชื่อ เติ้ง เสี่ยวผิง เติ้งได้ทำการปฏิวัติและปฏิรูปประเทศในทุกด้านโดยเฉพาะด้านอุตสาหกรรมตั้งแต่แบบเก่าจนแบบที่ต้องใช้เทคนิคล้ำหน้า จนขณะนี้จีนภายใต้ผู้นำชื่อ สี จิ้น ผิง ที่เข้มแข็ง มือสะอาด มีฝีมือ มีคุณธรรม มีความตั้งใจจริง เข้ามาบริหารประเทศที่มีพลเมืองมากที่สุดให้ใหญ่โตจนทัดเทียมกับประเทศสหรัฐอเมริกาในทุกด้าน จนผู้นำของสหรัฐอย่าง Trump รู้สึกเสียหน้ามาก. ที่มาของการใช้มาตรการทำสงครามการค้าของ Trump ความแข็งแกร่งของจีนในขณะนี้ Trump ได้เฝ้าดูแลมาร่วม 8 ปี เมื่อเขาสามารถเข้ามาเป็นประธานาธิบดีของสหรัฐอีกครั้งก็ไม่รีรอที่จะลงมือนำนโยบายปรับภาษีสินค้านำเข้าและส่งออก (Tariff) ชนิดสุดโต่งและจำเพาะเจาะจงมาใช้กับประเทศจีนโดยทันที ขณะเดียวกันก็ได้ประกาศใช้กับประเทศคู่ค้าอื่นๆ ทั่วโลกด้วย แต่มาตรการจะเบากว่าที่ใช้กับจีน. สิ่งที่เห็นตามที่เป็นข่าวอยู่ทุกวันนี้ก็คือ การเกิดแรงกระแทกอย่างมากต่อวิถีการค้าระหว่างประเทศที่เป็นอยู่ทั่วโลก ไม่ต้องถามว่าทำไม Trump ต้องทำแบบนี้ เพราะเขาเองเห็นชัดว่า ประเทศสหรัฐอเมริกาของเขากำลังตกต่ำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขาดดุลการค้าอย่างมากที่เกิดต่อเนื่องมานานและมีหนี้สาธารณะสูงมาก .Trump ยังได้เห็นชัดว่า ฝ่ายของจีนมีพวกพ้องมากขึ้น โดยเฉพาะการจัดตั้งกลุ่ม BRICS ประกอบด้วย Brazil, Russia, India, China และ South Africa รวมหัวกันทำการค้าต่อกันอย่างใกล้ชิด คิดใช้สกุลเงินตราของตนเอง โดยหันหน้าหนีการใช้เงินดอลลาร์สหรัฐ.เท่านั้นยังไม่พอ กลุ่ม BRICS ยังค่อยๆลดการลงทุนในพันธบัตรของสหรัฐที่แต่ละประเทศถือไว้มากมายลงไปโดยการขายออก และหันไปซื้อทองคำหรือกระจายการลงทุนเป็นอย่างอื่น ขณะเดียวกันนักลงทุนรายใหญ่อื่นๆ ในตลาดเงินก็ทำการทิ้งพันธบัตรสหรัฐตามกันไปด้วย มีผลทำให้พันธบัตรซึ่งเป็นสินทรัพย์ในอนาคตจำนวนมากของสหรัฐด้อยค่าลงมากอย่างที่ไม่เคยเกิดมาก่อน.สรุปได้ว่า Trump ได้มองเห็นอย่างชัดเจนว่าสหรัฐอเมริกาตอนนี้ได้ต่ำต้อยลงอย่างรวดเร็วมาก ตัวเองจึงจำเป็นต้องทำตัวเป็นอัศวินขี่ม้าขาวเข้ามากู้ประเทศให้พลิกผันให้สหรัฐอเมริกาเป็นหนึ่งอย่างเต็มตัวต่อไป ที่ Trump ตั้งใจจะทำก่อนและให้แรงมากคือเล่นงานด้วยการขึ้นภาษีนำเข้าของสินค้าจีนอย่างบ้าระห่ำ ซึ่งจีนก็ได้ตอบโต้ด้วยมาตรการทำนองเดียวกัน แบบตาต่อตา ฟันต่อฟัน นี่เป็นแค่ยกแรกแค่นั้น.ประเทศน้อยใหญ่ และสถาบันการเงินระหว่างประเทศทั้งหลายต่างก็มองการกระทำของ Trump ในแง่ลบ แม้แต่ประธาน Federal Reserve ของสหรัฐเองอย่าง Jerome Powell เองก็มีอาการกึ่งช็อคกึ่งหัวหมุนกับนโยบายประเภทบ้าบิ่นที่ประธานาธิบดีของเขาจัดมาเป็นชุดๆ Powell ถึงกับกล่าวว่านโยบายของ Trump ที่นำออกมาใช้นี้จะเป็นสิ่งกระตุ้นให้เงินเฟ้อสูงขึ้น ภาวะเศรษฐกิจจะตกต่ำและการว่างงานจะมีมากขึ้น ตลาดหลักทรัพย์หรือตลาดหุ้นก็จะปั่นป่วนมาก ความตั้งใจที่ Fed จะลดดอกเบี้ยลงจึงทำได้ยากขึ้นซึ่งความเห็นของประธาน Fed ดังกล่าว Trump ไม่พอใจมากเพราะเขาอยากให้มีการลดดอกเบี้ยถึงกับเอ่ยออกมาว่าคงต้องคิดเรื่องการเด้งประธาน Fed ซะแล้ว ฟังคล้ายกำลังจะเอาอย่างประเทศไทย.แนวทางของไทยที่จะรับมือเพื่อบรรเทาผลกระทบต่อประเทศทุกประเทศที่โดนผลกระทบในเรื่องการขึ้น Tariff ของ Trump ต่างก็กำลังระดมความคิดและเตรียมตัวที่จะส่งผู้แทนไปเจรจา ยกเว้นจีนประเทศเดียวที่ขึ้นป้ายจะสู้กับสหรัฐอย่างแน่วแน่.สำหรับประเทศไทย ยังฟังไม่ได้ศัพท์จากฝ่ายรัฐบาลว่าจะมีกลยุทธ์ในการรับมือกับเรื่องนี้อย่างไร ชี้ให้เห็นชัดว่าศักยภาพของรัฐบาลไทยในการแก้ปัญหาใหญ่ต่ำมาก ฟังความได้อย่างเดียวจากท่านนายกรัฐมนตรีว่าจะใช้นโยบายและแนวทางเหมือนกับประเทศอาเซียนอื่นๆเท่านั้นตอนนี้ก็เห็นภาพชัดขึ้นอีกจากคณะผู้แทนที่เตรียมการจะไปเจรจา โดยจะไปบอกทางสหรัฐว่าไทยเราจะซื้อสินค้าจากเขามากขึ้น เช่น LNG ข้าวโพด ถั่วเหลือง เป็นต้น ถ้าจะเดาก็จะขอให้ทางสหรัฐบันยะบันยังกับการเพิ่มภาษีสินค้าที่นำเข้าจากไทยที่มีมูลค่าถึง 18 % ของมูลค่าการส่งออกของไทยทั้งหมด.ส่วนผลกระทบต่อไทย เท่าที่ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) พยายามจะบอกพอสังเขป สรุปได้ว่าการส่งออกของไทยจะโดนกระทบมากโดยเฉพาะอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วน เครื่องใช้ไฟฟ้า และอาหารแปรรูป และจะทำให้การเติบโตของ GDP ในปีนี้ลดต่ำกว่าเป้าเหลือโตไม่ถึง 2.5 % และอัตราเงินเฟ้อของไทยก็จะชะลอลงด้วย นี่ยังไม่พูดถึงผลกระทบในปีหน้าและต่อๆไป ว่าจะรุนแรงสักแค่ไหน เชื่อได้เถอะครับมันแรงเกินคาด.ความเห็นผมนั้น เห็นว่าไทยเราจะโดนหนักกว่าที่รัฐบาลและหน่วยราชการไทยประเมินไว้มาก เกินศักยภาพของรัฐบาลไทยชุดนี้จะรับมือได้ วิกฤตที่จะเกิดขึ้นจากเรื่อง Tariff หนนี้ ไม่ใช่ Covid 19 นะครับ มันเป็นเรื่องประเทศใครประเทศมัน ใครมีผู้นำเก่งก็ทำให้เบาได้ สามารถเปลี่ยนวิกฤตเป็นโอกาสได้.แนวทางในการคิดแก้วิกฤตของประเทศขนาดเล็กผมอยากนำท่านผู้อ่านไปดูว่าผู้นำของสิงคโปร์อย่างอดีตนายกลี เซียนลุง ได้พูดเมื่อไม่กี่วันมานี้ซึ่งดีมาก เขาเริ่มบอกประชาชนรวมทั้งคณะรัฐมนตรีที่บริหารประเทศและนักธุรกิจ นักลงทุนของเขาว่าแม้จะมีความไม่แน่นอนในช่วง 90 วันที่ Trump จะให้ประเทศอื่นๆ นอกจากจีนไปคิดกันให้ดี แต่ก็ต้องมองให้ออกว่าทุกอย่างจะไม่กลับไปเหมือนก่อนหน้านี้อีกแล้ว ดังนั้น เราต้องกังวลและคิดให้ตกว่ามันจะส่งผลกับเรามากแค่ไหน ต้องตระหนักให้ได้ว่าวิกฤตที่จะเกิดทั่วโลกนี้ บางสิ่งบางอย่างที่สำคัญมันแตกต่างไปจากเดิมมาก .ลี เซียนลุง ชี้ให้เห็นชัดว่า การขึ้นภาษีหรือ Tariff ไปทั่วโลกครั้งนี้มันจะก่อกวนต่อการผลิตมากกว่าที่คิด เพราะ Supply Chain หรือ ห่วงโซ่การผลิตทุกอย่างจะหยุดชะงัก แผนการผลิตเดิมทุกอย่างจะหายไป และจะนำไปสู่ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ (Recession) อย่างรวดเร็ว และขอให้คาดหวังไว้ได้เลยว่า ปัญหานี้จะอยู่กับเราไปอีกนาน.หลังจากลี เซียนลุง พูดเรื่องนี้ได้ไม่กี่วัน นายกรัฐมนตรีของสิงคโปร์ที่มีเสียงสนับสนุนหนาแน่นอยู่ได้ประเทศยุบสภาไปเมื่อวันที่ 18 เมษายน นี้เอง เหตุผลเพื่อให้ประชาชนมีโอกาสเลือกผู้นำใหม่ขึ้นมา นี่คือสิงคโปร์ นี่คือสิ่งที่เขาเป็นชาติที่เจริญได้อย่างรวดเร็วและมั่นคงจนเราไม่สามารถแหงนหน้าขึ้นไปมองเขาได้แล้ว.ทางรอดของไทยจะเป็นอย่างไร ท้ายที่สุดนี้ เรามาดูว่าประเทศไทยเราจะมีทางรอดแค่ไหนก่อนเราต้องส่องกระจกดูตัวเอง และต้องฟังดูว่ามีใครมองเราอย่างไรบ้างให้ชัดก่อน เมื่อไม่กี่เดือนมานี้เองได้มีการชี้แนะจากสถาบันการเงินระหว่างประเทศแห่งหนึ่งว่า “ประเทศไทยนั้นมีเรื่องคอร์รัปชั่นเป็นตัวหลักที่ทำให้การบริหารประเทศในทุกด้านเดินหน้าไม่ได้” และเมื่อมีนาคม 2568 นี้ ศูนย์วิจัยกสิกรไทยได้ชี้ว่าเศรษฐกิจไทยน่าห่วงเทียบได้เป็น “คนป่วยแห่งเอเชีย”เป็นคนป่วยยังไงหรือ ทางด้านเศรษฐกิจก็เห็นกันชัดอยู่แล้วว่าไทยเรา กำลังเผชิญกับหนี้สาธารณะสูงมาก ภาษีเก็บได้น้อย ช่องทางในการหาเงินมาบริหารประเทศยังชักหน้าไม่ถึงหลัง อนาคตด้านการคลังริบหรี่ ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจเรื่องหนี้ครัวเรือนก็ไม่มีทางจะแก้ให้เบาบางลงได้ แม้ไม่มีเรื่องการปรับ Tariff ของ Trump ประเทศไทยเราก็มีความเสี่ยงด้านเศรษฐกิจมากเกินอยู่แล้ว นี่คืออาการของคนป่วยเรื้อรังแห่งเอเชีย.ไม่ต้องสาธยายกันมาก อีกเรื่องทุกคนก็รู้ดีอยู่ว่า การเมืองของไทยยักแย่ยักยันอยู่ในปลักโคลนตมเดิมจนโงหัวไม่ขึ้นมานานแล้ว การเล่นการเมืองของนักการเมืองไทยเด็กๆก็รู้ว่าเพื่ออำนาจและผลประโยชน์ของตนเองและพวกพ้องเท่านั้น ใครจะเห็นต่างกี่คนก็บอกมา.เมื่อองคาพยพของการเมืองไทยซึ่งมีการแต่งตั้งคณะรัฐบาลมาบริหารประเทศจากรากเหง้าเก่าๆที่รู้กันอยู่ เมื่อเจอกับปัญหาใหญ่ระดับโลกชนิดที่ว่าหันไปทางไหนก็มากระทบเราทั้งนั้น ท่านผู้ที่ได้ใช้สิทธิใช้เสียงเลือกพวกเขาเข้ามาบริหารประเทศ เชื่อและมั่นใจหรือไม่ว่าเขาจะแก้ปัญหาใหญ่ที่จะมากระทบประเทศเราได้ .หันไปดูนโยบายของพรรคการเมืองผู้กุมอำนาจบริหารประเทศอยู่ในขณะนี้ก็จะเห็นชัดเจนว่า ตอนนี้นโยบายของพวกเขาเหล่านั้น มันเน่าบูดกันแทบหมดแล้วครับ ถ้าจะแก้ปัญหาใหญ่ที่จะมีแรงกระแทกก่อให้เกิดวิกฤตที่ใหญ่เกินคาด ด้วยการปรับ ครม. แต่ยังดันทุรังคงสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ไว้ น่าจะไม่เป็นการกระทำของผู้นำที่รักชาติจริง”
    บทวิเคราะห์ของ สมหมาย ภาษี อดีตรัฐมนตรีคลัง “นโยบายปรับภาษี (Tariff) ของ Trump จะทำให้โลกใบนี้ไม่เหมือนเดิมอีกแล้วพัฒนาการของการค้าโลกในช่วงประมาณ 50 ปีที่ผ่านมา มีการตั้งองค์การด้านการค้าโลกขึ้น เริ่มด้วยการตั้ง GATTS แล้วต่อมาปรับเป็น WTO (World Trade Organization) เพื่อสร้างกฎเกณฑ์การค้าขายระหว่างประเทศและกำกับให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยตามแนวทางการค้าเสรี ช่วงนี้จะมีประเทศมหาอำนาจอย่างสหรัฐอเมริกา รัสเซีย ประเทศใหญ่ๆในยุโรป และประเทศญี่ปุ่นได้ปรับตัวให้ตนเองมั่งคั่งและสะสมความร่ำรวย เข้าไปควบคุมตลาดเงินและสกุลเงินตราสำคัญ รวมทั้งควบคุมตลาดการค้าหลักๆให้เป็นระเบียบและเอื้อต่อการขยายตัวของการค้าขายของแต่ละประเทศเพื่อประโยชน์ต่อตนเองมากขึ้นเรื่อยๆ .แต่แล้วในช่วงดังกล่าวนี้ประเทศจีนเสือหลับแห่งเอเชีย ที่ได้ผู้นำประเทศที่ขึ้นมาพลิกผันประเทศได้อย่างเป็นรูปธรรมได้รวดเร็วและต่อเนื่อง ชื่อ เติ้ง เสี่ยวผิง เติ้งได้ทำการปฏิวัติและปฏิรูปประเทศในทุกด้านโดยเฉพาะด้านอุตสาหกรรมตั้งแต่แบบเก่าจนแบบที่ต้องใช้เทคนิคล้ำหน้า จนขณะนี้จีนภายใต้ผู้นำชื่อ สี จิ้น ผิง ที่เข้มแข็ง มือสะอาด มีฝีมือ มีคุณธรรม มีความตั้งใจจริง เข้ามาบริหารประเทศที่มีพลเมืองมากที่สุดให้ใหญ่โตจนทัดเทียมกับประเทศสหรัฐอเมริกาในทุกด้าน จนผู้นำของสหรัฐอย่าง Trump รู้สึกเสียหน้ามาก. ที่มาของการใช้มาตรการทำสงครามการค้าของ Trump ความแข็งแกร่งของจีนในขณะนี้ Trump ได้เฝ้าดูแลมาร่วม 8 ปี เมื่อเขาสามารถเข้ามาเป็นประธานาธิบดีของสหรัฐอีกครั้งก็ไม่รีรอที่จะลงมือนำนโยบายปรับภาษีสินค้านำเข้าและส่งออก (Tariff) ชนิดสุดโต่งและจำเพาะเจาะจงมาใช้กับประเทศจีนโดยทันที ขณะเดียวกันก็ได้ประกาศใช้กับประเทศคู่ค้าอื่นๆ ทั่วโลกด้วย แต่มาตรการจะเบากว่าที่ใช้กับจีน. สิ่งที่เห็นตามที่เป็นข่าวอยู่ทุกวันนี้ก็คือ การเกิดแรงกระแทกอย่างมากต่อวิถีการค้าระหว่างประเทศที่เป็นอยู่ทั่วโลก ไม่ต้องถามว่าทำไม Trump ต้องทำแบบนี้ เพราะเขาเองเห็นชัดว่า ประเทศสหรัฐอเมริกาของเขากำลังตกต่ำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขาดดุลการค้าอย่างมากที่เกิดต่อเนื่องมานานและมีหนี้สาธารณะสูงมาก .Trump ยังได้เห็นชัดว่า ฝ่ายของจีนมีพวกพ้องมากขึ้น โดยเฉพาะการจัดตั้งกลุ่ม BRICS ประกอบด้วย Brazil, Russia, India, China และ South Africa รวมหัวกันทำการค้าต่อกันอย่างใกล้ชิด คิดใช้สกุลเงินตราของตนเอง โดยหันหน้าหนีการใช้เงินดอลลาร์สหรัฐ.เท่านั้นยังไม่พอ กลุ่ม BRICS ยังค่อยๆลดการลงทุนในพันธบัตรของสหรัฐที่แต่ละประเทศถือไว้มากมายลงไปโดยการขายออก และหันไปซื้อทองคำหรือกระจายการลงทุนเป็นอย่างอื่น ขณะเดียวกันนักลงทุนรายใหญ่อื่นๆ ในตลาดเงินก็ทำการทิ้งพันธบัตรสหรัฐตามกันไปด้วย มีผลทำให้พันธบัตรซึ่งเป็นสินทรัพย์ในอนาคตจำนวนมากของสหรัฐด้อยค่าลงมากอย่างที่ไม่เคยเกิดมาก่อน.สรุปได้ว่า Trump ได้มองเห็นอย่างชัดเจนว่าสหรัฐอเมริกาตอนนี้ได้ต่ำต้อยลงอย่างรวดเร็วมาก ตัวเองจึงจำเป็นต้องทำตัวเป็นอัศวินขี่ม้าขาวเข้ามากู้ประเทศให้พลิกผันให้สหรัฐอเมริกาเป็นหนึ่งอย่างเต็มตัวต่อไป ที่ Trump ตั้งใจจะทำก่อนและให้แรงมากคือเล่นงานด้วยการขึ้นภาษีนำเข้าของสินค้าจีนอย่างบ้าระห่ำ ซึ่งจีนก็ได้ตอบโต้ด้วยมาตรการทำนองเดียวกัน แบบตาต่อตา ฟันต่อฟัน นี่เป็นแค่ยกแรกแค่นั้น.ประเทศน้อยใหญ่ และสถาบันการเงินระหว่างประเทศทั้งหลายต่างก็มองการกระทำของ Trump ในแง่ลบ แม้แต่ประธาน Federal Reserve ของสหรัฐเองอย่าง Jerome Powell เองก็มีอาการกึ่งช็อคกึ่งหัวหมุนกับนโยบายประเภทบ้าบิ่นที่ประธานาธิบดีของเขาจัดมาเป็นชุดๆ Powell ถึงกับกล่าวว่านโยบายของ Trump ที่นำออกมาใช้นี้จะเป็นสิ่งกระตุ้นให้เงินเฟ้อสูงขึ้น ภาวะเศรษฐกิจจะตกต่ำและการว่างงานจะมีมากขึ้น ตลาดหลักทรัพย์หรือตลาดหุ้นก็จะปั่นป่วนมาก ความตั้งใจที่ Fed จะลดดอกเบี้ยลงจึงทำได้ยากขึ้นซึ่งความเห็นของประธาน Fed ดังกล่าว Trump ไม่พอใจมากเพราะเขาอยากให้มีการลดดอกเบี้ยถึงกับเอ่ยออกมาว่าคงต้องคิดเรื่องการเด้งประธาน Fed ซะแล้ว ฟังคล้ายกำลังจะเอาอย่างประเทศไทย.แนวทางของไทยที่จะรับมือเพื่อบรรเทาผลกระทบต่อประเทศทุกประเทศที่โดนผลกระทบในเรื่องการขึ้น Tariff ของ Trump ต่างก็กำลังระดมความคิดและเตรียมตัวที่จะส่งผู้แทนไปเจรจา ยกเว้นจีนประเทศเดียวที่ขึ้นป้ายจะสู้กับสหรัฐอย่างแน่วแน่.สำหรับประเทศไทย ยังฟังไม่ได้ศัพท์จากฝ่ายรัฐบาลว่าจะมีกลยุทธ์ในการรับมือกับเรื่องนี้อย่างไร ชี้ให้เห็นชัดว่าศักยภาพของรัฐบาลไทยในการแก้ปัญหาใหญ่ต่ำมาก ฟังความได้อย่างเดียวจากท่านนายกรัฐมนตรีว่าจะใช้นโยบายและแนวทางเหมือนกับประเทศอาเซียนอื่นๆเท่านั้นตอนนี้ก็เห็นภาพชัดขึ้นอีกจากคณะผู้แทนที่เตรียมการจะไปเจรจา โดยจะไปบอกทางสหรัฐว่าไทยเราจะซื้อสินค้าจากเขามากขึ้น เช่น LNG ข้าวโพด ถั่วเหลือง เป็นต้น ถ้าจะเดาก็จะขอให้ทางสหรัฐบันยะบันยังกับการเพิ่มภาษีสินค้าที่นำเข้าจากไทยที่มีมูลค่าถึง 18 % ของมูลค่าการส่งออกของไทยทั้งหมด.ส่วนผลกระทบต่อไทย เท่าที่ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) พยายามจะบอกพอสังเขป สรุปได้ว่าการส่งออกของไทยจะโดนกระทบมากโดยเฉพาะอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วน เครื่องใช้ไฟฟ้า และอาหารแปรรูป และจะทำให้การเติบโตของ GDP ในปีนี้ลดต่ำกว่าเป้าเหลือโตไม่ถึง 2.5 % และอัตราเงินเฟ้อของไทยก็จะชะลอลงด้วย นี่ยังไม่พูดถึงผลกระทบในปีหน้าและต่อๆไป ว่าจะรุนแรงสักแค่ไหน เชื่อได้เถอะครับมันแรงเกินคาด.ความเห็นผมนั้น เห็นว่าไทยเราจะโดนหนักกว่าที่รัฐบาลและหน่วยราชการไทยประเมินไว้มาก เกินศักยภาพของรัฐบาลไทยชุดนี้จะรับมือได้ วิกฤตที่จะเกิดขึ้นจากเรื่อง Tariff หนนี้ ไม่ใช่ Covid 19 นะครับ มันเป็นเรื่องประเทศใครประเทศมัน ใครมีผู้นำเก่งก็ทำให้เบาได้ สามารถเปลี่ยนวิกฤตเป็นโอกาสได้.แนวทางในการคิดแก้วิกฤตของประเทศขนาดเล็กผมอยากนำท่านผู้อ่านไปดูว่าผู้นำของสิงคโปร์อย่างอดีตนายกลี เซียนลุง ได้พูดเมื่อไม่กี่วันมานี้ซึ่งดีมาก เขาเริ่มบอกประชาชนรวมทั้งคณะรัฐมนตรีที่บริหารประเทศและนักธุรกิจ นักลงทุนของเขาว่าแม้จะมีความไม่แน่นอนในช่วง 90 วันที่ Trump จะให้ประเทศอื่นๆ นอกจากจีนไปคิดกันให้ดี แต่ก็ต้องมองให้ออกว่าทุกอย่างจะไม่กลับไปเหมือนก่อนหน้านี้อีกแล้ว ดังนั้น เราต้องกังวลและคิดให้ตกว่ามันจะส่งผลกับเรามากแค่ไหน ต้องตระหนักให้ได้ว่าวิกฤตที่จะเกิดทั่วโลกนี้ บางสิ่งบางอย่างที่สำคัญมันแตกต่างไปจากเดิมมาก .ลี เซียนลุง ชี้ให้เห็นชัดว่า การขึ้นภาษีหรือ Tariff ไปทั่วโลกครั้งนี้มันจะก่อกวนต่อการผลิตมากกว่าที่คิด เพราะ Supply Chain หรือ ห่วงโซ่การผลิตทุกอย่างจะหยุดชะงัก แผนการผลิตเดิมทุกอย่างจะหายไป และจะนำไปสู่ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ (Recession) อย่างรวดเร็ว และขอให้คาดหวังไว้ได้เลยว่า ปัญหานี้จะอยู่กับเราไปอีกนาน.หลังจากลี เซียนลุง พูดเรื่องนี้ได้ไม่กี่วัน นายกรัฐมนตรีของสิงคโปร์ที่มีเสียงสนับสนุนหนาแน่นอยู่ได้ประเทศยุบสภาไปเมื่อวันที่ 18 เมษายน นี้เอง เหตุผลเพื่อให้ประชาชนมีโอกาสเลือกผู้นำใหม่ขึ้นมา นี่คือสิงคโปร์ นี่คือสิ่งที่เขาเป็นชาติที่เจริญได้อย่างรวดเร็วและมั่นคงจนเราไม่สามารถแหงนหน้าขึ้นไปมองเขาได้แล้ว.ทางรอดของไทยจะเป็นอย่างไร ท้ายที่สุดนี้ เรามาดูว่าประเทศไทยเราจะมีทางรอดแค่ไหนก่อนเราต้องส่องกระจกดูตัวเอง และต้องฟังดูว่ามีใครมองเราอย่างไรบ้างให้ชัดก่อน เมื่อไม่กี่เดือนมานี้เองได้มีการชี้แนะจากสถาบันการเงินระหว่างประเทศแห่งหนึ่งว่า “ประเทศไทยนั้นมีเรื่องคอร์รัปชั่นเป็นตัวหลักที่ทำให้การบริหารประเทศในทุกด้านเดินหน้าไม่ได้” และเมื่อมีนาคม 2568 นี้ ศูนย์วิจัยกสิกรไทยได้ชี้ว่าเศรษฐกิจไทยน่าห่วงเทียบได้เป็น “คนป่วยแห่งเอเชีย”เป็นคนป่วยยังไงหรือ ทางด้านเศรษฐกิจก็เห็นกันชัดอยู่แล้วว่าไทยเรา กำลังเผชิญกับหนี้สาธารณะสูงมาก ภาษีเก็บได้น้อย ช่องทางในการหาเงินมาบริหารประเทศยังชักหน้าไม่ถึงหลัง อนาคตด้านการคลังริบหรี่ ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจเรื่องหนี้ครัวเรือนก็ไม่มีทางจะแก้ให้เบาบางลงได้ แม้ไม่มีเรื่องการปรับ Tariff ของ Trump ประเทศไทยเราก็มีความเสี่ยงด้านเศรษฐกิจมากเกินอยู่แล้ว นี่คืออาการของคนป่วยเรื้อรังแห่งเอเชีย.ไม่ต้องสาธยายกันมาก อีกเรื่องทุกคนก็รู้ดีอยู่ว่า การเมืองของไทยยักแย่ยักยันอยู่ในปลักโคลนตมเดิมจนโงหัวไม่ขึ้นมานานแล้ว การเล่นการเมืองของนักการเมืองไทยเด็กๆก็รู้ว่าเพื่ออำนาจและผลประโยชน์ของตนเองและพวกพ้องเท่านั้น ใครจะเห็นต่างกี่คนก็บอกมา.เมื่อองคาพยพของการเมืองไทยซึ่งมีการแต่งตั้งคณะรัฐบาลมาบริหารประเทศจากรากเหง้าเก่าๆที่รู้กันอยู่ เมื่อเจอกับปัญหาใหญ่ระดับโลกชนิดที่ว่าหันไปทางไหนก็มากระทบเราทั้งนั้น ท่านผู้ที่ได้ใช้สิทธิใช้เสียงเลือกพวกเขาเข้ามาบริหารประเทศ เชื่อและมั่นใจหรือไม่ว่าเขาจะแก้ปัญหาใหญ่ที่จะมากระทบประเทศเราได้ .หันไปดูนโยบายของพรรคการเมืองผู้กุมอำนาจบริหารประเทศอยู่ในขณะนี้ก็จะเห็นชัดเจนว่า ตอนนี้นโยบายของพวกเขาเหล่านั้น มันเน่าบูดกันแทบหมดแล้วครับ ถ้าจะแก้ปัญหาใหญ่ที่จะมีแรงกระแทกก่อให้เกิดวิกฤตที่ใหญ่เกินคาด ด้วยการปรับ ครม. แต่ยังดันทุรังคงสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ไว้ น่าจะไม่เป็นการกระทำของผู้นำที่รักชาติจริง”
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 581 มุมมอง 0 รีวิว
  • การสร้างสมดุลของจักรวาลมนุษย์ชาติ (Human Universe) เป็นแนวคิดที่ซับซ้อน ครอบคลุมทั้งมิติทางสังคม สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และจิตวิญญาณ เพื่อให้เกิดความยั่งยืนและความปรองดองร่วมกัน ต่อไปนี้คือแนวทางหลักที่อาจนำไปสู่การสร้างสมดุลดังกล่าว:

    ### 1. **สมดุลทางสิ่งแวดล้อม**
    - **เปลี่ยนผ่านพลังงานสะอาด**: ลดการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล หันไปใช้พลังงานหมุนเวียน (เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ ลม) และส่งเสริมเทคโนโลยีคาร์บอนต่ำ
    - **ระบบเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy)**: ลดการผลิตของเสียโดยออกแบบระบบการใช้วัสดุใหม่ (Reuse-Recycle) และส่งเสริมการบริโภคอย่างรับผิดชอบ
    - **ปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพ**: ฟื้นฟูระบบนิเวศ สร้างพื้นที่อนุรักษ์ และควบคุมการตัดไม้ทำลายป่า

    ### 2. **สมดุลทางสังคม**
    - **ลดความเหลื่อมล้ำ**: สร้างระบบสวัสดิการที่ทั่วถึง สนับสนุนการศึกษาและสุขภาพฟรีหรือราคาเข้าถึงได้ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในพื้นที่ห่างไกล
    - **ส่งเสริมความเท่าเทียม**: ขจัดการเลือกปฏิบัติทางเพศ เชื้อชาติ ศาสนา และสถานะทางสังคม
    - **สร้างชุมชนเข้มแข็ง**: สนับสนุนการมีส่วนร่วมของท้องถิ่นในการตัดสินใจ และส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน

    ### 3. **สมดุลทางเศรษฐกิจ**
    - **เศรษฐกิจแบบกระจายศูนย์**: ลดการผูกขาดโดยบริษัทขนาดใหญ่ สนับสนุนธุรกิจท้องถิ่นและสตาร์ทอัพ
    - **วัดความเจริญด้วยดัชนีใหม่**: ไม่ใช้เพียง GDP แต่รวมถึงความสุขมวลรวม (Gross National Happiness) หรือดัชนีความยั่งยืน
    - **ภาษีโปรเกรสซีฟ**: เก็บภาษีจากกลุ่มรายได้สูงและบริษัทข้ามชาติเพื่อกระจายความมั่งคั่ง

    ### 4. **สมดุลทางเทคโนโลยี**
    - **จริยธรรมเทคโนโลยี**: ควบคุมการใช้ AI และข้อมูลส่วนตัวเพื่อป้องกันการละเมิดสิทธิ
    - **เทคโนโลยีเพื่อสังคม**: พัฒนานวัตกรรมที่แก้ปัญหาสังคม เช่น เทคโนโลยีช่วยเกษตรกรหรือระบบสุขภาพดิจิทัล
    - **ลดช่องว่างดิจิทัล**: ให้ทุกคนเข้าถึงอินเทอร์เน็ตและความรู้ดิจิทัล

    ### 5. **สมดุลทางวัฒนธรรมและจิตวิญญาณ**
    - **เคารพความหลากหลาย**: ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
    - **สร้างจิตสำนึกใหม่**: ปลูกฝังค่านิยมเช่นความพอเพียง (ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง) และความเชื่อมโยงกับธรรมชาติ
    - **ส่งเสริมสติและสุขภาพจิต**: บูรณาการ mindfulness ในการศึกษาและการทำงาน

    ### 6. **สมดุลทางการเมืองและการปกครอง**
    - **ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม**: เปิดช่องทางให้ประชาชนมีส่วนร่วมนโยบายผ่าน Digital Platform
    - **ความร่วมมือระดับโลก**: เสริมสร้างองค์กรระหว่างประเทศเพื่อแก้ปัญหาร่วม เช่น ภาวะโลกร้อนหรือการค้ามนุษย์
    - **ต่อต้านการทุจริต**: สร้างระบบตรวจสอบที่โปร่งใส และส่งเสริมหลักนิติธรรม

    ### 7. **การศึกษาเพื่อการเปลี่ยนแปลง**
    - **เรียนรู้นอกกรอบ**: สอนทักษะศตวรรษที่ 21 เช่น การคิดวิเคราะห์ ความเห็นอกเห็นใจ (Empathy) และทักษะการอยู่ร่วมกัน
    - **การศึกษาเชิงบูรณาการ**: ผสมผสานความรู้ทางวิทยาศาสตร์กับศิลปะและมนุษยศาสตร์

    ### บทสรุป
    สมดุลของจักรวาลมนุษย์ชาติไม่ใช่สถานะที่ตายตัว แต่เป็นกระบวนการต่อเนื่องที่ต้องอาศัยการปรับตัว ความร่วมมือจากทุกภาคส่วน และการมองมนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของระบบนิเวศ ไม่ใช่ผู้ครอบครอง การสร้างสมดุลนี้ต้องเริ่มจาก "การเปลี่ยนแปลงภายใน" ของแต่ละคน สู่การขับเคลื่อนนโยบายระดับโลก พร้อมกันนั้น ต้องไม่ลืมว่าความหลากหลายทางความคิดและวัฒนธรรมคือพลังขับเคลื่อน ไม่ใช่สิ่งต้องกำจัด!
    การสร้างสมดุลของจักรวาลมนุษย์ชาติ (Human Universe) เป็นแนวคิดที่ซับซ้อน ครอบคลุมทั้งมิติทางสังคม สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และจิตวิญญาณ เพื่อให้เกิดความยั่งยืนและความปรองดองร่วมกัน ต่อไปนี้คือแนวทางหลักที่อาจนำไปสู่การสร้างสมดุลดังกล่าว: ### 1. **สมดุลทางสิ่งแวดล้อม** - **เปลี่ยนผ่านพลังงานสะอาด**: ลดการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล หันไปใช้พลังงานหมุนเวียน (เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ ลม) และส่งเสริมเทคโนโลยีคาร์บอนต่ำ - **ระบบเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy)**: ลดการผลิตของเสียโดยออกแบบระบบการใช้วัสดุใหม่ (Reuse-Recycle) และส่งเสริมการบริโภคอย่างรับผิดชอบ - **ปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพ**: ฟื้นฟูระบบนิเวศ สร้างพื้นที่อนุรักษ์ และควบคุมการตัดไม้ทำลายป่า ### 2. **สมดุลทางสังคม** - **ลดความเหลื่อมล้ำ**: สร้างระบบสวัสดิการที่ทั่วถึง สนับสนุนการศึกษาและสุขภาพฟรีหรือราคาเข้าถึงได้ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในพื้นที่ห่างไกล - **ส่งเสริมความเท่าเทียม**: ขจัดการเลือกปฏิบัติทางเพศ เชื้อชาติ ศาสนา และสถานะทางสังคม - **สร้างชุมชนเข้มแข็ง**: สนับสนุนการมีส่วนร่วมของท้องถิ่นในการตัดสินใจ และส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน ### 3. **สมดุลทางเศรษฐกิจ** - **เศรษฐกิจแบบกระจายศูนย์**: ลดการผูกขาดโดยบริษัทขนาดใหญ่ สนับสนุนธุรกิจท้องถิ่นและสตาร์ทอัพ - **วัดความเจริญด้วยดัชนีใหม่**: ไม่ใช้เพียง GDP แต่รวมถึงความสุขมวลรวม (Gross National Happiness) หรือดัชนีความยั่งยืน - **ภาษีโปรเกรสซีฟ**: เก็บภาษีจากกลุ่มรายได้สูงและบริษัทข้ามชาติเพื่อกระจายความมั่งคั่ง ### 4. **สมดุลทางเทคโนโลยี** - **จริยธรรมเทคโนโลยี**: ควบคุมการใช้ AI และข้อมูลส่วนตัวเพื่อป้องกันการละเมิดสิทธิ - **เทคโนโลยีเพื่อสังคม**: พัฒนานวัตกรรมที่แก้ปัญหาสังคม เช่น เทคโนโลยีช่วยเกษตรกรหรือระบบสุขภาพดิจิทัล - **ลดช่องว่างดิจิทัล**: ให้ทุกคนเข้าถึงอินเทอร์เน็ตและความรู้ดิจิทัล ### 5. **สมดุลทางวัฒนธรรมและจิตวิญญาณ** - **เคารพความหลากหลาย**: ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น - **สร้างจิตสำนึกใหม่**: ปลูกฝังค่านิยมเช่นความพอเพียง (ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง) และความเชื่อมโยงกับธรรมชาติ - **ส่งเสริมสติและสุขภาพจิต**: บูรณาการ mindfulness ในการศึกษาและการทำงาน ### 6. **สมดุลทางการเมืองและการปกครอง** - **ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม**: เปิดช่องทางให้ประชาชนมีส่วนร่วมนโยบายผ่าน Digital Platform - **ความร่วมมือระดับโลก**: เสริมสร้างองค์กรระหว่างประเทศเพื่อแก้ปัญหาร่วม เช่น ภาวะโลกร้อนหรือการค้ามนุษย์ - **ต่อต้านการทุจริต**: สร้างระบบตรวจสอบที่โปร่งใส และส่งเสริมหลักนิติธรรม ### 7. **การศึกษาเพื่อการเปลี่ยนแปลง** - **เรียนรู้นอกกรอบ**: สอนทักษะศตวรรษที่ 21 เช่น การคิดวิเคราะห์ ความเห็นอกเห็นใจ (Empathy) และทักษะการอยู่ร่วมกัน - **การศึกษาเชิงบูรณาการ**: ผสมผสานความรู้ทางวิทยาศาสตร์กับศิลปะและมนุษยศาสตร์ ### บทสรุป สมดุลของจักรวาลมนุษย์ชาติไม่ใช่สถานะที่ตายตัว แต่เป็นกระบวนการต่อเนื่องที่ต้องอาศัยการปรับตัว ความร่วมมือจากทุกภาคส่วน และการมองมนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของระบบนิเวศ ไม่ใช่ผู้ครอบครอง การสร้างสมดุลนี้ต้องเริ่มจาก "การเปลี่ยนแปลงภายใน" ของแต่ละคน สู่การขับเคลื่อนนโยบายระดับโลก พร้อมกันนั้น ต้องไม่ลืมว่าความหลากหลายทางความคิดและวัฒนธรรมคือพลังขับเคลื่อน ไม่ใช่สิ่งต้องกำจัด!
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 435 มุมมอง 0 รีวิว
  • บทความนี้กล่าวถึงคำแนะนำจาก Anjul Bhambhri รองประธานอาวุโสของ Adobe Experience Cloud ในการสร้างกลยุทธ์ AI ที่มีประสิทธิภาพ โดยเน้นความสำคัญของ ความโปร่งใส และ การจัดการข้อมูล เพื่อให้ธุรกิจสามารถสร้างความไว้วางใจและเพิ่มคุณค่าให้กับลูกค้าได้ นอกจากนี้ยังมีการพูดถึงวิธีการจัดการทรัพยากรเพื่อความยั่งยืน เช่น การแบ่งประเภทข้อมูลเป็น hot, warm และ cold storage เพื่อช่วยลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

    ✅ ความโปร่งใสเป็นหัวใจสำคัญในการสร้างกลยุทธ์ AI
    - ธุรกิจควรเปิดเผยข้อมูลและให้ลูกค้ามีส่วนร่วมในกระบวนการ
    - การฟังความคิดเห็นของลูกค้าช่วยให้สามารถพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ตอบโจทย์ได้มากขึ้น

    ✅ การจัดการข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพช่วยลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
    - Adobe ใช้การแบ่งประเภทข้อมูลเป็น hot, warm และ cold storage เพื่อจัดการทรัพยากร
    - การใช้ SSD และ HDD อย่างเหมาะสมช่วยลดการใช้พลังงาน

    ✅ การปฏิบัติตามกฎระเบียบช่วยสร้างความไว้วางใจ
    - กฎระเบียบ เช่น GDPR, HIPAA และ FERPA ช่วยกำหนดแนวทางการจัดการข้อมูล
    - ธุรกิจควรมีบทบาทชัดเจนในการกำกับดูแลข้อมูล

    ✅ การสร้างพื้นฐานที่แข็งแกร่งสำหรับการจัดการข้อมูลเป็นสิ่งสำคัญ
    - ปริมาณข้อมูลที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วทำให้การจัดการข้อมูลมีความสำคัญมากขึ้น

    https://www.techradar.com/pro/want-to-build-an-ai-strategy-adobe-svp-advises-you-start-with-transparency
    บทความนี้กล่าวถึงคำแนะนำจาก Anjul Bhambhri รองประธานอาวุโสของ Adobe Experience Cloud ในการสร้างกลยุทธ์ AI ที่มีประสิทธิภาพ โดยเน้นความสำคัญของ ความโปร่งใส และ การจัดการข้อมูล เพื่อให้ธุรกิจสามารถสร้างความไว้วางใจและเพิ่มคุณค่าให้กับลูกค้าได้ นอกจากนี้ยังมีการพูดถึงวิธีการจัดการทรัพยากรเพื่อความยั่งยืน เช่น การแบ่งประเภทข้อมูลเป็น hot, warm และ cold storage เพื่อช่วยลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ✅ ความโปร่งใสเป็นหัวใจสำคัญในการสร้างกลยุทธ์ AI - ธุรกิจควรเปิดเผยข้อมูลและให้ลูกค้ามีส่วนร่วมในกระบวนการ - การฟังความคิดเห็นของลูกค้าช่วยให้สามารถพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ตอบโจทย์ได้มากขึ้น ✅ การจัดการข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพช่วยลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม - Adobe ใช้การแบ่งประเภทข้อมูลเป็น hot, warm และ cold storage เพื่อจัดการทรัพยากร - การใช้ SSD และ HDD อย่างเหมาะสมช่วยลดการใช้พลังงาน ✅ การปฏิบัติตามกฎระเบียบช่วยสร้างความไว้วางใจ - กฎระเบียบ เช่น GDPR, HIPAA และ FERPA ช่วยกำหนดแนวทางการจัดการข้อมูล - ธุรกิจควรมีบทบาทชัดเจนในการกำกับดูแลข้อมูล ✅ การสร้างพื้นฐานที่แข็งแกร่งสำหรับการจัดการข้อมูลเป็นสิ่งสำคัญ - ปริมาณข้อมูลที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วทำให้การจัดการข้อมูลมีความสำคัญมากขึ้น https://www.techradar.com/pro/want-to-build-an-ai-strategy-adobe-svp-advises-you-start-with-transparency
    WWW.TECHRADAR.COM
    Want to build an AI strategy? Adobe SVP advises you start with transparency
    Start with transparency and honesty, and the rest will follow
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 327 มุมมอง 0 รีวิว
  • Meta ได้ประกาศว่าจะเริ่มใช้ข้อมูลสาธารณะและการโต้ตอบของผู้ใช้ในยุโรปเพื่อฝึกอบรมโมเดล AI ของตน โดยข้อมูลนี้จะรวมถึงโพสต์และความคิดเห็นที่เผยแพร่บนแพลตฟอร์มของ Meta เช่น Facebook และ Instagram การประกาศนี้เกิดขึ้นหลังจาก Meta ได้เปิดตัว Meta AI ในยุโรปเมื่อเดือนมีนาคมที่ผ่านมา โดยมีการหยุดชั่วคราวก่อนหน้านี้เนื่องจากข้อกังวลจากหน่วยงานกำกับดูแลข้อมูลในยุโรป

    ✅ Meta จะใช้ข้อมูลสาธารณะและการโต้ตอบของผู้ใช้ในยุโรป
    - ข้อมูลที่ใช้จะรวมถึงโพสต์และความคิดเห็นที่เผยแพร่โดยผู้ใหญ่
    - ข้อมูลจากผู้ใช้อายุต่ำกว่า 18 ปีและข้อความส่วนตัวจะไม่ถูกนำมาใช้

    ✅ Meta AI เปิดตัวในยุโรปหลังจากหยุดชั่วคราวเนื่องจากข้อกังวลด้านข้อมูล
    - การเปิดตัวเกิดขึ้นเกือบหนึ่งปีหลังจากที่ Meta หยุดแผนการเปิดตัวเนื่องจากข้อกังวลด้าน GDPR

    ✅ ผู้ใช้ในยุโรปสามารถเลือกที่จะไม่ให้ข้อมูลของตนถูกใช้ในการฝึกอบรม AI
    - Meta จะส่งการแจ้งเตือนพร้อมลิงก์ไปยังแบบฟอร์มที่ผู้ใช้สามารถกรอกเพื่อปฏิเสธการใช้ข้อมูล

    ✅ Meta ยืนยันว่าการฝึกอบรม AI ด้วยข้อมูลสาธารณะเป็นเรื่องปกติในอุตสาหกรรม
    - Meta ระบุว่าการฝึกอบรม AI ด้วยข้อมูลสาธารณะช่วยให้โมเดลเข้าใจความหลากหลายของชุมชนยุโรป

    https://www.techradar.com/computing/cyber-security/meta-is-set-to-train-its-ai-models-with-europeans-public-data-and-you-can-stop-it-doing-so
    Meta ได้ประกาศว่าจะเริ่มใช้ข้อมูลสาธารณะและการโต้ตอบของผู้ใช้ในยุโรปเพื่อฝึกอบรมโมเดล AI ของตน โดยข้อมูลนี้จะรวมถึงโพสต์และความคิดเห็นที่เผยแพร่บนแพลตฟอร์มของ Meta เช่น Facebook และ Instagram การประกาศนี้เกิดขึ้นหลังจาก Meta ได้เปิดตัว Meta AI ในยุโรปเมื่อเดือนมีนาคมที่ผ่านมา โดยมีการหยุดชั่วคราวก่อนหน้านี้เนื่องจากข้อกังวลจากหน่วยงานกำกับดูแลข้อมูลในยุโรป ✅ Meta จะใช้ข้อมูลสาธารณะและการโต้ตอบของผู้ใช้ในยุโรป - ข้อมูลที่ใช้จะรวมถึงโพสต์และความคิดเห็นที่เผยแพร่โดยผู้ใหญ่ - ข้อมูลจากผู้ใช้อายุต่ำกว่า 18 ปีและข้อความส่วนตัวจะไม่ถูกนำมาใช้ ✅ Meta AI เปิดตัวในยุโรปหลังจากหยุดชั่วคราวเนื่องจากข้อกังวลด้านข้อมูล - การเปิดตัวเกิดขึ้นเกือบหนึ่งปีหลังจากที่ Meta หยุดแผนการเปิดตัวเนื่องจากข้อกังวลด้าน GDPR ✅ ผู้ใช้ในยุโรปสามารถเลือกที่จะไม่ให้ข้อมูลของตนถูกใช้ในการฝึกอบรม AI - Meta จะส่งการแจ้งเตือนพร้อมลิงก์ไปยังแบบฟอร์มที่ผู้ใช้สามารถกรอกเพื่อปฏิเสธการใช้ข้อมูล ✅ Meta ยืนยันว่าการฝึกอบรม AI ด้วยข้อมูลสาธารณะเป็นเรื่องปกติในอุตสาหกรรม - Meta ระบุว่าการฝึกอบรม AI ด้วยข้อมูลสาธารณะช่วยให้โมเดลเข้าใจความหลากหลายของชุมชนยุโรป https://www.techradar.com/computing/cyber-security/meta-is-set-to-train-its-ai-models-with-europeans-public-data-and-you-can-stop-it-doing-so
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 325 มุมมอง 0 รีวิว
  • Blood Gold เจาะขุมทรัพย์ใต้ภิภพเมียนมาร์ความมั่งคั่งที่มืดมนอนธการ
    .
    ใต้ภิภพเมียนมาร์ นับเป็นรัฐที่มีทรัพยากรมูลค่าสูงฝังอยู่มหาศาล ที่สามารถแปลงเป็นสินทรัพย์ในการพัฒนาประเทศได้อันดับต้น ๆ ของอาเซียน
    ทว่า รัฐสภาพแห่งนี้เหมือนถูกครอบงำ และตกอยู่ภายใต้ความลำบาก ความขัดแย้งไม่ลงรอย ในประวัติศาสตร์การเมืองที่ส่งผลต่อเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศโดยตรง
    รอยเลื่อนสะกาย (Sagaing Fault) “ยักษ์หลับแห่งเมียนมา” ที่ใหญ่และสำคัญที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ตื่นขึ้น 28 มีนาคม 2568 ที่ ขนาด 8.2 แมกนิจูด ได้ส่งพลังพาดผ่านเมืองหลวงสำคัญของพม่า ตั้งแต่มัณฑะเลย์ เนปิดอว์ ย่างกุ้ง ดูเหมือนว่าเมืองแห่งอารยธรรมและศูนย์กลางอำนาจ ตั้งอยู่บนหลังมังกรที่หลับ ขยับทีก็ทำให้เมืองศูนย์กลางสำคัญได้ได้ผลกระทบสูงการฟื้นตัวครั้งแล้วครั้งเล่าเหมือนสถานการณ์เริ่มต้นใหม่หลายรอบ หมุนวน
    โครงสร้างทางธรณีวิทยาของเมียนมาร์ค่อนข้างซับซ้อน ภูมิสัณฐานและธรณีโครงสร้างได้เป็น 4 ส่วนใหญ่ๆ คือพื้นที่ราบสูงตะวันออก (Sino Burman Ranges) พื้นที่ลุ่มต่ำตอนกลาง (Inner Burman Tertiary Zone) ดินแดนเทือกเขาตะวันตก (Indo Burman Ranges) และ ที่ราบฝั่งยะไข่ - คะฉิ่น Rakhine (Arakan) Coastal Plain
    ชั้นหินที่มีอายุอ่อนที่สุดจะอยู่ใน พื้นที่ลุ่มต่ำตอนกลาง ไล่ถัดไปทางด้านตะวันตกของประเทศ จะเป็นชั้นหินที่มีอายุแก่ขึ้นเรื่อยๆ ไปจนถึงที่ราบแถบยะไข่ ด้านตะวันออกของประเทศ ส่วนของ Sino Burman เป็นชั้นหินที่มีอายุแก่ที่สุด มีรอยเลื่อนรัฐฉาน แนวรอยต่อเชื่อมรอยเลื่อนสะกาย
    อุตสาหกรรมเหมืองแร่ในเมียนมาร์ มีบทบาทสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะในช่วงหลังรัฐประหารปี 2021 ซึ่งมีการขยายตัวของการทำเหมืองแร่หายาก (Rare Earth Elements: REEs) อย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตาม การเติบโตนี้มาพร้อมกับผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ซับซ้อน มีมูลค่าสูงถึง 1.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในปี 2023
    นับว่าแร่หายากกลุ่มหนัก heavy rare earth elements: HREE คิดเป็นสัดส่วนหลักของมูลค่าการส่งออกของเมียนมาร์ โดยส่วนใหญ่ส่งไปจีนเพื่อผลิตแม่เหล็กถาวรสำหรับรถไฟฟ้าและกังหันลมการส่งออก อัตราเติบโตเพิ่มขึ้นกว่า 2 เท่าในปี 2023 เมื่อเทียบกับปี 2021 จาก 19,500 ตัน เป็น 41,700 ตัน
    แน่นอนแร่หายากกลุ่ม China Rare Earths Group (REGCC) เป็นผู้ลงทุนหลัก ควบคุมทั้งเทคโนโลยี การประมวลผล และห่วงโซ่อุปทาน ภายใต้การดูแลพื้นที่ของกองทัพเมียนมาร์ (SAC) และมิลิเชียพันธมิตรควบคุมพื้นที่พิเศษ Kachin 1 และกองกำลัง Kachin Independence Army (KIA) ควบคุมพื้นที่ Momauk และแนวชายแดน
    แร่หายากเป็นแหล่งเงินสำคัญสำหรับทั้งรัฐบาลทหารและกลุ่มกบฎ แต่ 70% ของประชากรในพื้นที่ยังพึ่งพาการเกษตรที่ได้รับความเสียหาย ขณะที่ค่าแรงงานในเหมืองสูงถึง 600 ดอลลาร์สหรัฐ/เดือน (สูงกว่าเฉลี่ยประเทศ 2 เท่า) แต่มีความเสี่ยงด้านสุขภาพ โรคปอด ปัญหาหายใจลำบาก โรคผิวหนัง และไตวายจากสารเคมี เช่น แอมโมเนียมซัลเฟตและออกซาลิกแอซิด
    ไม่รวมถึงมลพิษน้ำ 96% ของครัวเรือนในเขต Chipwi ไม่มีน้ำดื่มสะอาดเนื่องจากสารเคมีปนเปื้อน ดวงตาสวรรค์ได้ส่องพื้นที่การขยายตัวของเหมืองกว่า 40% ใน Kachin Special Region 1 และ Momauk ระหว่างปี 2021-2023 ที่สลายระบบนิเวศในพื้นที่ยากจะทวงคืนสภาพเดิมกลับมาในอนาคต
    อีกแร่ธาตุหนึ่งคือเหล็กที่เมียนมาร์ เป็นเบอร์หนึ่งของโลก ที่แหล่ง Pong Pet ซึ่งอยู่ห่างจาก Taunggyi ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เป็นระยะทาง 10 กิโลเมตร ปรากฏเป็นแหล่งเฮมาไทต์ (Hematite) และยังพบแหล่งแร่เหล็ก 393 แหล่ง ปริมาณสารองทรัพยากรแร่ประมาณ 495 ล้านตัน และพบแหล่งแร่เหล็กที่มีศักยภาพ 14 แหล่ง ในรัฐ Kachin, Mandalay, Bago, Tanintharyi และรัฐShan ได้แก่ แหล่งแร่เหล็กสำคัญพบที่รัฐ Tanintharyi บริเวณตอนเหนือของรัฐ Shan
    โดยในรัฐคะฉิ่น คือศูนย์รวมแร่ธาตุความมั่งคั่งสมบูรณ์อุตสาหกรรมเหมืองแร่ นอกจากหยกแล้วยังมีแหล่งแร่เหล็กในรัฐ Kachin มีปริมาณสารองประมาณ 223 ล้านตันที่ 50.56%Fe องค์ประกอบหลักของแร่ คือ Goethite/Limonite 75%, Hematite 15% และ Magnetite 2%
    แน่นอนเมียนมาร์เป็นผู้ผลิตหยกรายใหญ่ที่สุดในโลก และเป็นหนึ่งในประเทศเดียวที่ผลิตหยกเจไดต์คุณภาพสูง อุตสาหกรรมหยกมีมูลค่าประมาณ 3 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งมากกว่าครึ่งหนึ่งของ GDP ของประเทศ โดยเมืองผะกัน (Hpakan) เป็นที่ตั้งของเหมืองหยกที่ใหญ่ที่สุดในโลก เมืองที่มีข่าวของเหมืองถล่ม ดินโคลนโถมทับหมู่บ้านถี่มากและต้นปี 2568 ก็ได้เกิดเหตุการณ์โศกนาฎกรรมที่ซ้ำซาก สูญเสียชีวิตของผู้คนไปอย่างมาก
    Global Witness ประเมินไว้ว่ารายได้จากหยกได้เข้าพกเข้าห่อของผู้นำของเมียนมาไปแล้วราว 120,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ตลอดระยะเวลาสิบปีที่ผ่านมา
    หากประมวลประเทศที่มีบริษัทลงทุนในเหมืองแร่ในภาพรวมในเมียนมาร์ ได้แก่
    1.) จีน: เป็นนักลงทุนรายใหญ่ที่สุดในอุตสาหกรรมเหมืองแร่เมียนมาร์ โดยเฉพาะในเหมืองทองแดง (เช่น โครงการ Letpadaung, S&K, Tagaung Taung) และแร่หายาก มีทั้งบริษัทขนาดใหญ่ของรัฐ เช่น China Nonferrous Metal Mining (CNMC), Wanbao Mining Co., Ltd. รวมถึงนักลงทุนรายย่อยจากมณฑลยูนนานและเสฉวน
    2.) ไทย: มีบริษัท Myanmar-Pongpipat Co., Ltd. ร่วมลงทุนในเหมืองดีบุกและโลหะอื่น
    3.) เวียดนาม: บริษัท Simco Songda มีการลงทุนในเหมืองแร่ร่วมกับเมียนมาร์
    4.) ออสเตรเลีย: บริษัท PanAust ได้รับอนุญาตให้ศึกษาความเป็นไปได้ในพื้นที่เหมือง Wuntho
    5.) ญี่ปุ่น: มีบริษัทญี่ปุ่นบางแห่งยื่นขออนุญาตลงทุนในเหมืองแร่เมียนมาร์
    6.) สิงคโปร์: แม้จะเน้นลงทุนในภาคอสังหาริมทรัพย์และพลังงาน แต่ก็มีการลงทุนในเหมืองแร่บางส่วน
    7.) มาเลเซีย, เกาหลีใต้, เนเธอร์แลนด์, สหราชอาณาจักร: มีการลงทุนในเมียนมาร์ในหลายภาคส่วน รวมถึงเหมืองแร่ในบางโครงการ
    ในส่วนแร่ทองคำ Blood Gold บริบทไม่แตกต่างจากพื้นที่คะฉิ่น แต่รายงานจาก EarthRights International (2567) ระบุว่าในรัฐกะฉิ่นมีการขุดทองคำเพิ่มขึ้นอย่างมาก โดยมีจุดขุดนับร้อยแห่ง ส่วนใหญ่เป็นการขุดขนาดเล็กและใช้เครื่องจักรหนัก
    ผู้สัมปทาน ก่อนการรัฐประหาร (2564): เหมืองทองคำขนาดใหญ่บางแห่ง เช่น ในเขตเบ็งเมาก์ (Bemauk), กานิ (Kani), และเคาก์ปาดอง (Kyaukpadaung) ดำเนินการโดยบริษัทร่วมทุนระหว่างกองทัพเมียนมาร์และบริษัทต่างชาติ เช่น บริษัทจากจีนและไทย อย่างไรก็ตาม ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัทเฉพาะเจาะจงในปัจจุบันหายาก
    พื้นที่การขุดทองคำในรัฐกะฉิ่นส่วนใหญ่ควบคุมโดย Kachin Independence Army (KIA) และกลุ่มชาติพันธุ์อื่น ๆ ซึ่งเก็บค่าธรรมเนียมจากบริษัทหรือนักขุดท้องถิ่น บริษัทจีน มีรายงานว่าได้รับสัมปทานในพื้นที่ เช่น บริเวณแม่น้ำโขงและแม่น้ำกก โดยได้รับการอนุมัติจาก United Wa State Army (UWSA) บริษัทท้องถิ่นและกองทัพเมียนมาร์: Myanmar Economic Holdings Limited (MEHL) และ Myanmar Economic Corporation (MEC) ยังคงมีส่วนในเหมืองบางแห่ง
    ตั้งแต่ปี 2563 เป็นต้นมา ไม่มีการออกใบอนุญาตขุดอย่างเป็นทางการในหลายพื้นที่ เช่น Hpakant แต่การขุดยังดำเนินต่อไปโดยผิดกฎหมาย
    ปัจจุบันหลังจาก การรัฐประหารในปี 2564 ทำให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจและกฎหมาย ส่งผลให้การขุดทองคำเพิ่มขึ้นอย่างไม่มีการควบคุม โดยเฉพาะในรัฐกะฉิ่นและสะกาย เพิ่มขึ้น 10 เท่าหลังการรัฐประหาร ซึ่งเป็นแหล่งทองคำสำคัญ เรียกว่าเกิดการขุดแบบทำลายล้าง ใช้เครื่องจักรกลหนักและการขุดในแม่น้ำในพื้นที่ และลุกลามขยายยังพื้นที่ลุ่มแม่น้ำโขง แม่น้ำกก และแม่น้ำสายใกล้ชายแดนไทย
    แน่นอนความระส่ำระสายในพื้นที่คือการกอบโกยความมั่งคั่งในพื้นที่ที่ไม่ได้มองไกลถึงอนาคตว่าผลกระทบของผู้คน ประชาชนจะเป็นอย่างไร ระยะเวลาการฟื้นตัวความอ่อนเปียกของรัฐชาติที่ถูกสูบทรัพยากรที่มีความมั่งคั่งออกไปอย่างไร้ข้อจำกัด โดยมีอำนาจภายในควบคุม กองทัพเมียนมาร์ ควบคุมเหมืองขนาดใหญ่บางแห่งเพื่อหารายได้ กลุ่มชาติพันธุ์ เช่น KIA เก็บส่วนแบ่งจากเหมืองในพื้นที่ของตน บริษัทต่างชาติ โดยเฉพาะจากจีน มีบทบาทในพื้นที่รัฐที่อุดมด้วยแร่ธาตุโดยเฉพาะฉาน และพื้นที่ลุ่มแม่น้ำโขงที่สัญญาณได้ส่งผลแล้วกรณีที่แม่สาย ลุ่มแม่น้ำกก เชียงราย ที่ต้องเกาะติดอย่างใกล้ชิด


    อ้างอิง :
    • โครงการ การส่งเสริมการจัดหาวัตถุดิบและการลงทุนด้านเหมืองแร่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    https://www.bbc.com/thai/international-53264790
    • EarthRights International, Global Witness
    Blood Gold เจาะขุมทรัพย์ใต้ภิภพเมียนมาร์ความมั่งคั่งที่มืดมนอนธการ . ใต้ภิภพเมียนมาร์ นับเป็นรัฐที่มีทรัพยากรมูลค่าสูงฝังอยู่มหาศาล ที่สามารถแปลงเป็นสินทรัพย์ในการพัฒนาประเทศได้อันดับต้น ๆ ของอาเซียน ทว่า รัฐสภาพแห่งนี้เหมือนถูกครอบงำ และตกอยู่ภายใต้ความลำบาก ความขัดแย้งไม่ลงรอย ในประวัติศาสตร์การเมืองที่ส่งผลต่อเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศโดยตรง รอยเลื่อนสะกาย (Sagaing Fault) “ยักษ์หลับแห่งเมียนมา” ที่ใหญ่และสำคัญที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ตื่นขึ้น 28 มีนาคม 2568 ที่ ขนาด 8.2 แมกนิจูด ได้ส่งพลังพาดผ่านเมืองหลวงสำคัญของพม่า ตั้งแต่มัณฑะเลย์ เนปิดอว์ ย่างกุ้ง ดูเหมือนว่าเมืองแห่งอารยธรรมและศูนย์กลางอำนาจ ตั้งอยู่บนหลังมังกรที่หลับ ขยับทีก็ทำให้เมืองศูนย์กลางสำคัญได้ได้ผลกระทบสูงการฟื้นตัวครั้งแล้วครั้งเล่าเหมือนสถานการณ์เริ่มต้นใหม่หลายรอบ หมุนวน โครงสร้างทางธรณีวิทยาของเมียนมาร์ค่อนข้างซับซ้อน ภูมิสัณฐานและธรณีโครงสร้างได้เป็น 4 ส่วนใหญ่ๆ คือพื้นที่ราบสูงตะวันออก (Sino Burman Ranges) พื้นที่ลุ่มต่ำตอนกลาง (Inner Burman Tertiary Zone) ดินแดนเทือกเขาตะวันตก (Indo Burman Ranges) และ ที่ราบฝั่งยะไข่ - คะฉิ่น Rakhine (Arakan) Coastal Plain ชั้นหินที่มีอายุอ่อนที่สุดจะอยู่ใน พื้นที่ลุ่มต่ำตอนกลาง ไล่ถัดไปทางด้านตะวันตกของประเทศ จะเป็นชั้นหินที่มีอายุแก่ขึ้นเรื่อยๆ ไปจนถึงที่ราบแถบยะไข่ ด้านตะวันออกของประเทศ ส่วนของ Sino Burman เป็นชั้นหินที่มีอายุแก่ที่สุด มีรอยเลื่อนรัฐฉาน แนวรอยต่อเชื่อมรอยเลื่อนสะกาย อุตสาหกรรมเหมืองแร่ในเมียนมาร์ มีบทบาทสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะในช่วงหลังรัฐประหารปี 2021 ซึ่งมีการขยายตัวของการทำเหมืองแร่หายาก (Rare Earth Elements: REEs) อย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตาม การเติบโตนี้มาพร้อมกับผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ซับซ้อน มีมูลค่าสูงถึง 1.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในปี 2023 นับว่าแร่หายากกลุ่มหนัก heavy rare earth elements: HREE คิดเป็นสัดส่วนหลักของมูลค่าการส่งออกของเมียนมาร์ โดยส่วนใหญ่ส่งไปจีนเพื่อผลิตแม่เหล็กถาวรสำหรับรถไฟฟ้าและกังหันลมการส่งออก อัตราเติบโตเพิ่มขึ้นกว่า 2 เท่าในปี 2023 เมื่อเทียบกับปี 2021 จาก 19,500 ตัน เป็น 41,700 ตัน แน่นอนแร่หายากกลุ่ม China Rare Earths Group (REGCC) เป็นผู้ลงทุนหลัก ควบคุมทั้งเทคโนโลยี การประมวลผล และห่วงโซ่อุปทาน ภายใต้การดูแลพื้นที่ของกองทัพเมียนมาร์ (SAC) และมิลิเชียพันธมิตรควบคุมพื้นที่พิเศษ Kachin 1 และกองกำลัง Kachin Independence Army (KIA) ควบคุมพื้นที่ Momauk และแนวชายแดน แร่หายากเป็นแหล่งเงินสำคัญสำหรับทั้งรัฐบาลทหารและกลุ่มกบฎ แต่ 70% ของประชากรในพื้นที่ยังพึ่งพาการเกษตรที่ได้รับความเสียหาย ขณะที่ค่าแรงงานในเหมืองสูงถึง 600 ดอลลาร์สหรัฐ/เดือน (สูงกว่าเฉลี่ยประเทศ 2 เท่า) แต่มีความเสี่ยงด้านสุขภาพ โรคปอด ปัญหาหายใจลำบาก โรคผิวหนัง และไตวายจากสารเคมี เช่น แอมโมเนียมซัลเฟตและออกซาลิกแอซิด ไม่รวมถึงมลพิษน้ำ 96% ของครัวเรือนในเขต Chipwi ไม่มีน้ำดื่มสะอาดเนื่องจากสารเคมีปนเปื้อน ดวงตาสวรรค์ได้ส่องพื้นที่การขยายตัวของเหมืองกว่า 40% ใน Kachin Special Region 1 และ Momauk ระหว่างปี 2021-2023 ที่สลายระบบนิเวศในพื้นที่ยากจะทวงคืนสภาพเดิมกลับมาในอนาคต อีกแร่ธาตุหนึ่งคือเหล็กที่เมียนมาร์ เป็นเบอร์หนึ่งของโลก ที่แหล่ง Pong Pet ซึ่งอยู่ห่างจาก Taunggyi ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เป็นระยะทาง 10 กิโลเมตร ปรากฏเป็นแหล่งเฮมาไทต์ (Hematite) และยังพบแหล่งแร่เหล็ก 393 แหล่ง ปริมาณสารองทรัพยากรแร่ประมาณ 495 ล้านตัน และพบแหล่งแร่เหล็กที่มีศักยภาพ 14 แหล่ง ในรัฐ Kachin, Mandalay, Bago, Tanintharyi และรัฐShan ได้แก่ แหล่งแร่เหล็กสำคัญพบที่รัฐ Tanintharyi บริเวณตอนเหนือของรัฐ Shan โดยในรัฐคะฉิ่น คือศูนย์รวมแร่ธาตุความมั่งคั่งสมบูรณ์อุตสาหกรรมเหมืองแร่ นอกจากหยกแล้วยังมีแหล่งแร่เหล็กในรัฐ Kachin มีปริมาณสารองประมาณ 223 ล้านตันที่ 50.56%Fe องค์ประกอบหลักของแร่ คือ Goethite/Limonite 75%, Hematite 15% และ Magnetite 2% แน่นอนเมียนมาร์เป็นผู้ผลิตหยกรายใหญ่ที่สุดในโลก และเป็นหนึ่งในประเทศเดียวที่ผลิตหยกเจไดต์คุณภาพสูง อุตสาหกรรมหยกมีมูลค่าประมาณ 3 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งมากกว่าครึ่งหนึ่งของ GDP ของประเทศ โดยเมืองผะกัน (Hpakan) เป็นที่ตั้งของเหมืองหยกที่ใหญ่ที่สุดในโลก เมืองที่มีข่าวของเหมืองถล่ม ดินโคลนโถมทับหมู่บ้านถี่มากและต้นปี 2568 ก็ได้เกิดเหตุการณ์โศกนาฎกรรมที่ซ้ำซาก สูญเสียชีวิตของผู้คนไปอย่างมาก Global Witness ประเมินไว้ว่ารายได้จากหยกได้เข้าพกเข้าห่อของผู้นำของเมียนมาไปแล้วราว 120,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ตลอดระยะเวลาสิบปีที่ผ่านมา หากประมวลประเทศที่มีบริษัทลงทุนในเหมืองแร่ในภาพรวมในเมียนมาร์ ได้แก่ 1.) จีน: เป็นนักลงทุนรายใหญ่ที่สุดในอุตสาหกรรมเหมืองแร่เมียนมาร์ โดยเฉพาะในเหมืองทองแดง (เช่น โครงการ Letpadaung, S&K, Tagaung Taung) และแร่หายาก มีทั้งบริษัทขนาดใหญ่ของรัฐ เช่น China Nonferrous Metal Mining (CNMC), Wanbao Mining Co., Ltd. รวมถึงนักลงทุนรายย่อยจากมณฑลยูนนานและเสฉวน 2.) ไทย: มีบริษัท Myanmar-Pongpipat Co., Ltd. ร่วมลงทุนในเหมืองดีบุกและโลหะอื่น 3.) เวียดนาม: บริษัท Simco Songda มีการลงทุนในเหมืองแร่ร่วมกับเมียนมาร์ 4.) ออสเตรเลีย: บริษัท PanAust ได้รับอนุญาตให้ศึกษาความเป็นไปได้ในพื้นที่เหมือง Wuntho 5.) ญี่ปุ่น: มีบริษัทญี่ปุ่นบางแห่งยื่นขออนุญาตลงทุนในเหมืองแร่เมียนมาร์ 6.) สิงคโปร์: แม้จะเน้นลงทุนในภาคอสังหาริมทรัพย์และพลังงาน แต่ก็มีการลงทุนในเหมืองแร่บางส่วน 7.) มาเลเซีย, เกาหลีใต้, เนเธอร์แลนด์, สหราชอาณาจักร: มีการลงทุนในเมียนมาร์ในหลายภาคส่วน รวมถึงเหมืองแร่ในบางโครงการ ในส่วนแร่ทองคำ Blood Gold บริบทไม่แตกต่างจากพื้นที่คะฉิ่น แต่รายงานจาก EarthRights International (2567) ระบุว่าในรัฐกะฉิ่นมีการขุดทองคำเพิ่มขึ้นอย่างมาก โดยมีจุดขุดนับร้อยแห่ง ส่วนใหญ่เป็นการขุดขนาดเล็กและใช้เครื่องจักรหนัก ผู้สัมปทาน ก่อนการรัฐประหาร (2564): เหมืองทองคำขนาดใหญ่บางแห่ง เช่น ในเขตเบ็งเมาก์ (Bemauk), กานิ (Kani), และเคาก์ปาดอง (Kyaukpadaung) ดำเนินการโดยบริษัทร่วมทุนระหว่างกองทัพเมียนมาร์และบริษัทต่างชาติ เช่น บริษัทจากจีนและไทย อย่างไรก็ตาม ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัทเฉพาะเจาะจงในปัจจุบันหายาก พื้นที่การขุดทองคำในรัฐกะฉิ่นส่วนใหญ่ควบคุมโดย Kachin Independence Army (KIA) และกลุ่มชาติพันธุ์อื่น ๆ ซึ่งเก็บค่าธรรมเนียมจากบริษัทหรือนักขุดท้องถิ่น บริษัทจีน มีรายงานว่าได้รับสัมปทานในพื้นที่ เช่น บริเวณแม่น้ำโขงและแม่น้ำกก โดยได้รับการอนุมัติจาก United Wa State Army (UWSA) บริษัทท้องถิ่นและกองทัพเมียนมาร์: Myanmar Economic Holdings Limited (MEHL) และ Myanmar Economic Corporation (MEC) ยังคงมีส่วนในเหมืองบางแห่ง ตั้งแต่ปี 2563 เป็นต้นมา ไม่มีการออกใบอนุญาตขุดอย่างเป็นทางการในหลายพื้นที่ เช่น Hpakant แต่การขุดยังดำเนินต่อไปโดยผิดกฎหมาย ปัจจุบันหลังจาก การรัฐประหารในปี 2564 ทำให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจและกฎหมาย ส่งผลให้การขุดทองคำเพิ่มขึ้นอย่างไม่มีการควบคุม โดยเฉพาะในรัฐกะฉิ่นและสะกาย เพิ่มขึ้น 10 เท่าหลังการรัฐประหาร ซึ่งเป็นแหล่งทองคำสำคัญ เรียกว่าเกิดการขุดแบบทำลายล้าง ใช้เครื่องจักรกลหนักและการขุดในแม่น้ำในพื้นที่ และลุกลามขยายยังพื้นที่ลุ่มแม่น้ำโขง แม่น้ำกก และแม่น้ำสายใกล้ชายแดนไทย แน่นอนความระส่ำระสายในพื้นที่คือการกอบโกยความมั่งคั่งในพื้นที่ที่ไม่ได้มองไกลถึงอนาคตว่าผลกระทบของผู้คน ประชาชนจะเป็นอย่างไร ระยะเวลาการฟื้นตัวความอ่อนเปียกของรัฐชาติที่ถูกสูบทรัพยากรที่มีความมั่งคั่งออกไปอย่างไร้ข้อจำกัด โดยมีอำนาจภายในควบคุม กองทัพเมียนมาร์ ควบคุมเหมืองขนาดใหญ่บางแห่งเพื่อหารายได้ กลุ่มชาติพันธุ์ เช่น KIA เก็บส่วนแบ่งจากเหมืองในพื้นที่ของตน บริษัทต่างชาติ โดยเฉพาะจากจีน มีบทบาทในพื้นที่รัฐที่อุดมด้วยแร่ธาตุโดยเฉพาะฉาน และพื้นที่ลุ่มแม่น้ำโขงที่สัญญาณได้ส่งผลแล้วกรณีที่แม่สาย ลุ่มแม่น้ำกก เชียงราย ที่ต้องเกาะติดอย่างใกล้ชิด อ้างอิง : • โครงการ การส่งเสริมการจัดหาวัตถุดิบและการลงทุนด้านเหมืองแร่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • https://www.bbc.com/thai/international-53264790 • EarthRights International, Global Witness
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 917 มุมมอง 0 รีวิว
  • ข่าวนี้กล่าวถึงการสอบสวนของ Irish Data Protection Commission (DPC) เกี่ยวกับการใช้ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้งานในสหภาพยุโรป (EU) โดยแพลตฟอร์ม X (เดิมชื่อ Twitter) เพื่อฝึกอบรมระบบ AI Grok

    ✅ การสอบสวนของ DPC:
    - DPC ซึ่งเป็นหน่วยงานกำกับดูแลข้อมูลใน EU ได้เริ่มการสอบสวนเกี่ยวกับการใช้ข้อมูลส่วนบุคคลจากโพสต์ที่เข้าถึงได้สาธารณะบนแพลตฟอร์ม X เพื่อฝึกอบรมโมเดล AI.
    - การสอบสวนนี้มีอำนาจในการกำหนดค่าปรับสูงสุดถึง 4% ของรายได้ทั่วโลกของบริษัทภายใต้กฎ GDPR.

    ✅ การตอบสนองของ X:
    - X ได้ตกลงที่จะหยุดการฝึกอบรมระบบ AI โดยใช้ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้งานใน EU ก่อนที่ผู้ใช้งานจะมีตัวเลือกในการถอนความยินยอม.
    - การตกลงนี้เกิดขึ้นหลังจากการดำเนินคดีในศาลที่ DPC เรียกร้องให้ X หยุดการประมวลผลข้อมูลดังกล่าว.

    ✅ ความสำคัญของ GDPR:
    - GDPR เป็นกฎหมายที่เข้มงวดใน EU ซึ่งกำหนดให้บริษัทต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดด้านความเป็นส่วนตัวและการปกป้องข้อมูล.
    - DPC เคยกำหนดค่าปรับให้กับบริษัทเทคโนโลยีรายใหญ่ เช่น Meta และ TikTok รวมถึง X ในปี 2020.

    ✅ ความคิดเห็นจากบุคคลสำคัญ:
    - Elon Musk เจ้าของ X และที่ปรึกษาของ Donald Trump ได้วิพากษ์วิจารณ์กฎระเบียบของ EU โดยเฉพาะกฎที่กำหนดโดย Brussels

    https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/04/11/irish-regulator-investigates-x-over-use-of-eu-personal-data-to-train-grok-ai
    ข่าวนี้กล่าวถึงการสอบสวนของ Irish Data Protection Commission (DPC) เกี่ยวกับการใช้ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้งานในสหภาพยุโรป (EU) โดยแพลตฟอร์ม X (เดิมชื่อ Twitter) เพื่อฝึกอบรมระบบ AI Grok ✅ การสอบสวนของ DPC: - DPC ซึ่งเป็นหน่วยงานกำกับดูแลข้อมูลใน EU ได้เริ่มการสอบสวนเกี่ยวกับการใช้ข้อมูลส่วนบุคคลจากโพสต์ที่เข้าถึงได้สาธารณะบนแพลตฟอร์ม X เพื่อฝึกอบรมโมเดล AI. - การสอบสวนนี้มีอำนาจในการกำหนดค่าปรับสูงสุดถึง 4% ของรายได้ทั่วโลกของบริษัทภายใต้กฎ GDPR. ✅ การตอบสนองของ X: - X ได้ตกลงที่จะหยุดการฝึกอบรมระบบ AI โดยใช้ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้งานใน EU ก่อนที่ผู้ใช้งานจะมีตัวเลือกในการถอนความยินยอม. - การตกลงนี้เกิดขึ้นหลังจากการดำเนินคดีในศาลที่ DPC เรียกร้องให้ X หยุดการประมวลผลข้อมูลดังกล่าว. ✅ ความสำคัญของ GDPR: - GDPR เป็นกฎหมายที่เข้มงวดใน EU ซึ่งกำหนดให้บริษัทต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดด้านความเป็นส่วนตัวและการปกป้องข้อมูล. - DPC เคยกำหนดค่าปรับให้กับบริษัทเทคโนโลยีรายใหญ่ เช่น Meta และ TikTok รวมถึง X ในปี 2020. ✅ ความคิดเห็นจากบุคคลสำคัญ: - Elon Musk เจ้าของ X และที่ปรึกษาของ Donald Trump ได้วิพากษ์วิจารณ์กฎระเบียบของ EU โดยเฉพาะกฎที่กำหนดโดย Brussels https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/04/11/irish-regulator-investigates-x-over-use-of-eu-personal-data-to-train-grok-ai
    WWW.THESTAR.COM.MY
    Irish regulator investigates X over use of EU personal data to train Grok AI
    DUBLIN (Reuters) - Ireland's data regulator on Friday said it had opened an investigation into social media platform X over the use of personal data collected from European Union users to train its AI system Grok.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 187 มุมมอง 0 รีวิว
  • Apple Intelligence ได้ขยายตัวครั้งใหญ่ด้วยการเพิ่มการรองรับ 10 ภาษาหลัก ได้แก่ ฝรั่งเศส เยอรมัน อิตาลี โปรตุเกส สเปน ญี่ปุ่น เกาหลี จีน รวมถึง ภาษาอังกฤษที่ปรับแต่งสำหรับสิงคโปร์และอินเดีย ฟีเจอร์เหล่านี้เริ่มใช้งานบน iOS 18.4 อย่างไรก็ตาม ผู้ใช้งานยังคงต้องรอการเปิดตัว Siri รุ่นใหม่ที่ใช้พลัง AI ซึ่งล่าช้าและคาดว่าจะพร้อมใช้งานภายในปีหน้า

    ✅ เพิ่มความสะดวกด้านความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัว
    - ฟีเจอร์ AI ที่ใช้งานได้ส่วนใหญ่ ทำงานบนอุปกรณ์โดยตรง เช่น iPhone และ iPad เพื่อลดความจำเป็นในการส่งข้อมูลไปยังเซิร์ฟเวอร์
    - หากต้องการพลังการประมวลผลเพิ่มเติม ระบบสามารถเชื่อมต่อกับ Cloud ของ Apple ผ่านการเข้ารหัสที่ปลอดภัย

    ✅ ฟีเจอร์หลากหลาย—จากการสรุปข้อความถึงการสร้างอีโมจิแบบเฉพาะตัว
    - Apple Intelligence สามารถ สรุปอีเมลและข้อความ, สร้างอีโมจิแบบปรับแต่ง, รวมถึงค้นหาข้อมูลตามต้องการ
    - นอกจากนี้ ผู้ใช้ยังมีตัวเลือกให้ OpenAI ChatGPT ตอบคำถามออนไลน์แทน

    ✅ การเริ่มต้นในยุโรปภายใต้กฎระเบียบที่เข้มงวด
    - Apple ได้ปรับ AI เพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมาย Digital Markets Act (DMA) และ General Data Protection Regulation (GDPR) ของสหภาพยุโรป
    - แม้การปรับตัวจะใช้เวลานาน แต่ Apple ยืนยันว่า ฟีเจอร์ใหม่ในยุโรปจะเน้นความปลอดภัยสูงสุด

    https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/04/05/apple039s-ai-suite-expanded-to-new-languages-but-new-siri-still-missing
    Apple Intelligence ได้ขยายตัวครั้งใหญ่ด้วยการเพิ่มการรองรับ 10 ภาษาหลัก ได้แก่ ฝรั่งเศส เยอรมัน อิตาลี โปรตุเกส สเปน ญี่ปุ่น เกาหลี จีน รวมถึง ภาษาอังกฤษที่ปรับแต่งสำหรับสิงคโปร์และอินเดีย ฟีเจอร์เหล่านี้เริ่มใช้งานบน iOS 18.4 อย่างไรก็ตาม ผู้ใช้งานยังคงต้องรอการเปิดตัว Siri รุ่นใหม่ที่ใช้พลัง AI ซึ่งล่าช้าและคาดว่าจะพร้อมใช้งานภายในปีหน้า ✅ เพิ่มความสะดวกด้านความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัว - ฟีเจอร์ AI ที่ใช้งานได้ส่วนใหญ่ ทำงานบนอุปกรณ์โดยตรง เช่น iPhone และ iPad เพื่อลดความจำเป็นในการส่งข้อมูลไปยังเซิร์ฟเวอร์ - หากต้องการพลังการประมวลผลเพิ่มเติม ระบบสามารถเชื่อมต่อกับ Cloud ของ Apple ผ่านการเข้ารหัสที่ปลอดภัย ✅ ฟีเจอร์หลากหลาย—จากการสรุปข้อความถึงการสร้างอีโมจิแบบเฉพาะตัว - Apple Intelligence สามารถ สรุปอีเมลและข้อความ, สร้างอีโมจิแบบปรับแต่ง, รวมถึงค้นหาข้อมูลตามต้องการ - นอกจากนี้ ผู้ใช้ยังมีตัวเลือกให้ OpenAI ChatGPT ตอบคำถามออนไลน์แทน ✅ การเริ่มต้นในยุโรปภายใต้กฎระเบียบที่เข้มงวด - Apple ได้ปรับ AI เพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมาย Digital Markets Act (DMA) และ General Data Protection Regulation (GDPR) ของสหภาพยุโรป - แม้การปรับตัวจะใช้เวลานาน แต่ Apple ยืนยันว่า ฟีเจอร์ใหม่ในยุโรปจะเน้นความปลอดภัยสูงสุด https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/04/05/apple039s-ai-suite-expanded-to-new-languages-but-new-siri-still-missing
    WWW.THESTAR.COM.MY
    Apple's AI suite expanded to new languages but new Siri still missing
    The iPhone manufacturer is taking longer than planned to roll out its improved Siri assistant software.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 339 มุมมอง 0 รีวิว
  • ข่าวนี้พูดถึงช่องโหว่ความปลอดภัยใน ระบบพลังงานแสงอาทิตย์ ซึ่งอาจทำให้ นักโจมตีทางไซเบอร์ สามารถควบคุมการผลิตพลังงาน แทรกแซงข้อมูลส่วนตัว หรือแม้กระทั่งขัดขวางการทำงานของโครงข่ายพลังงาน ผู้เชี่ยวชาญจาก Forescout – Vedere Labs ระบุช่องโหว่ใหม่ถึง 46 รายการในอุปกรณ์อินเวอร์เตอร์จากผู้ผลิตรายใหญ่อย่าง Sungrow, Growatt และ SMA โดย 80% ของช่องโหว่ที่รายงานถือเป็นปัญหาร้ายแรงหรือสำคัญ

    ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการเชื่อมต่อออนไลน์:
    - หลายอินเวอร์เตอร์ในระบบพลังงานแสงอาทิตย์มีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตโดยตรง ทำให้ง่ายต่อการโจมตีผ่านการใช้เฟิร์มแวร์ที่ล้าสมัยหรือการเข้ารหัสข้อมูลที่อ่อนแอ

    ผลกระทบที่เกิดขึ้น:
    - การโจมตีสามารถทำให้เกิดความไม่สมดุลในโครงข่ายพลังงาน การขโมยข้อมูลที่ละเมิดข้อกำหนดด้าน GDPR รวมถึงการควบคุมอุปกรณ์ภายในบ้านอัจฉริยะ เช่น เครื่องชาร์จรถยนต์ไฟฟ้า

    คำแนะนำในการป้องกัน:
    - ผู้ผลิตควรเร่งแก้ไขปัญหาด้วยการอัปเดตระบบ ปรับปรุงโค้ดให้ปลอดภัย และทดสอบเจาะระบบอย่างสม่ำเสมอ นอกจากนี้ ควรมีการใช้ Web Application Firewall และมาตรการความปลอดภัยมาตรฐาน เช่น NIST IR 8259

    บทบาทของเจ้าของระบบพลังงานแสงอาทิตย์:
    - การแยกเครือข่ายของอุปกรณ์แสงอาทิตย์ การตั้งค่าระบบเฝ้าระวังความปลอดภัย และการใช้ซอฟต์แวร์ป้องกันภัยไซเบอร์เป็นสิ่งสำคัญที่ผู้ใช้ควรดำเนินการ

    https://www.techradar.com/pro/millions-of-solar-power-systems-could-be-at-risk-of-cyber-attacks-after-researchers-find-flurry-of-vulnerabilities
    ข่าวนี้พูดถึงช่องโหว่ความปลอดภัยใน ระบบพลังงานแสงอาทิตย์ ซึ่งอาจทำให้ นักโจมตีทางไซเบอร์ สามารถควบคุมการผลิตพลังงาน แทรกแซงข้อมูลส่วนตัว หรือแม้กระทั่งขัดขวางการทำงานของโครงข่ายพลังงาน ผู้เชี่ยวชาญจาก Forescout – Vedere Labs ระบุช่องโหว่ใหม่ถึง 46 รายการในอุปกรณ์อินเวอร์เตอร์จากผู้ผลิตรายใหญ่อย่าง Sungrow, Growatt และ SMA โดย 80% ของช่องโหว่ที่รายงานถือเป็นปัญหาร้ายแรงหรือสำคัญ ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการเชื่อมต่อออนไลน์: - หลายอินเวอร์เตอร์ในระบบพลังงานแสงอาทิตย์มีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตโดยตรง ทำให้ง่ายต่อการโจมตีผ่านการใช้เฟิร์มแวร์ที่ล้าสมัยหรือการเข้ารหัสข้อมูลที่อ่อนแอ ผลกระทบที่เกิดขึ้น: - การโจมตีสามารถทำให้เกิดความไม่สมดุลในโครงข่ายพลังงาน การขโมยข้อมูลที่ละเมิดข้อกำหนดด้าน GDPR รวมถึงการควบคุมอุปกรณ์ภายในบ้านอัจฉริยะ เช่น เครื่องชาร์จรถยนต์ไฟฟ้า คำแนะนำในการป้องกัน: - ผู้ผลิตควรเร่งแก้ไขปัญหาด้วยการอัปเดตระบบ ปรับปรุงโค้ดให้ปลอดภัย และทดสอบเจาะระบบอย่างสม่ำเสมอ นอกจากนี้ ควรมีการใช้ Web Application Firewall และมาตรการความปลอดภัยมาตรฐาน เช่น NIST IR 8259 บทบาทของเจ้าของระบบพลังงานแสงอาทิตย์: - การแยกเครือข่ายของอุปกรณ์แสงอาทิตย์ การตั้งค่าระบบเฝ้าระวังความปลอดภัย และการใช้ซอฟต์แวร์ป้องกันภัยไซเบอร์เป็นสิ่งสำคัญที่ผู้ใช้ควรดำเนินการ https://www.techradar.com/pro/millions-of-solar-power-systems-could-be-at-risk-of-cyber-attacks-after-researchers-find-flurry-of-vulnerabilities
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 495 มุมมอง 0 รีวิว
  • สำนักงานสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐ (USGS) คาดการณ์ว่า เหตุแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่เกิดขึ้นในเมียนมาวันนี้ จะทำให้มีผู้เสียชีวิตราว 10,000-100,000 ราย และจะสร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจคิดเป็นสัดส่วนสูงถึง 70% ของตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ของเมียนมาทั้งนี้ ดร.โรเจอร์ มัสซัน กล่าวว่า ตัวเลขคาดการณ์ดังกล่าวอิงอยู่บนข้อมูลแผ่นดินไหวในอดีต และอยู่บนขนาดและที่ตั้งของเมียนมา และความพร้อมโดยรวมในการรับมือแผ่นดินไหวดร.มัสซันกล่าวว่า การที่แผ่นดินไหวดังกล่าวมีความลึกเพียง 6.2 ไมล์ ได้ทำให้เกิดความเสียหายอย่างรุนแรง เนื่องจากคลื่นแผ่นดินไหวไม่มีการกระจายตัวเมื่อเดินทางจากศูนย์กลางขึ้นสู่พื้นดิน ส่งผลให้อาคารต่าง ๆ ได้รับแรงกระทบอย่างเต็มที่นอกจากนี้ การที่อาคารบ้านเรือนของเมียนมาไม่ได้สร้างขึ้นมาให้รองรับแผ่นดินไหวที่มีความรุนแรงเท่ากับในวันนี้ ก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่จะทำให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมากพลเอกอาวุโส มิน อ่อง หล่าย ผู้นำรัฐบาลทหารเมียนมา กล่าวว่า มีผู้ที่เสียชีวิตจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวในวันนี้อย่างน้อย 144 ราย และบาดเจ็บ 730 ราย"เราคาดว่าจำนวนผู้ที่ได้รับบาดเจ็บและเสียชีวิตจะเพิ่มขึ้นอีก" พลเอกอาวุโส มิน อ่อง หล่าย กล่าวผ่านสถานีโทรทัศน์ของเมียนมาUSGS รายงานว่า เกิดแผ่นดินไหวรุนแรง 7.7 แมกนิจูดใกล้กับเมืองมัณฑะเลย์ของเมียนมาในวันนี้ และตามมาด้วยอาฟเตอร์ช็อก 6.4 แมกนิจูดเหตุแผ่นดินไหวดังกล่าวมีศูนย์กลางอยู่ที่ระดับความลึกเพียง 10 กิโลเมตร และใกล้กับรอยเลื่อนสะกาย ซึ่งเป็นรอยเลื่อนที่ยังคงมีพลัง และทอดยาวผ่านตอนกลางของเมียนมานอกจากนี้ แผ่นดินไหวดังกล่าวยังรับรู้แรงสั่นสะเทือนได้ถึงกรุงเทพฯ เวียดนาม และมณฑลยูนนานของจีนรัฐบาลทหารของเมียนมาได้เรียกร้องขอความช่วยเหลือจากต่างประเทศในวันนี้ หลังเกิดเหตุแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ ซึ่งสร้างความเสียหายอย่างหนัก และคาดว่าจะมีผู้ที่เสียชีวิตและได้รับบาดเจ็บจำนวนมาก"เราต้องการให้ประชาคมระหว่างประเทศให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้" พลตรีซอ มิน ตุน โฆษกรัฐบาลเมียนมา กล่าวต่อผู้สื่อข่าว AFPพลตรีซอ มิน ตุนกล่าวเสริมว่า เมียนมาต้องการได้รับการบริจาคโลหิตสำหรับผู้ที่บาดเจ็บซึ่งเข้ารับการรักษาตัวในมัณฑะเลย์ เนปิดอว์ และสะกายทั้งนี้ การเรียกร้องความช่วยเหลือจากต่างชาติถือเป็นสิ่งที่รัฐบาลทหารของเมียนมาแทบไม่เคยทำมาก่อน ซึ่งบ่งชี้ถึงผลกระทบที่รุนแรงจากเหตุแผ่นดินไหวดังกล่าว ขณะที่รัฐบาลประกาศภาวะฉุกเฉินในเขตสะกาย มัณฑะเลย์ เนปืดอว์ พะโค มะเกวย์ และรัฐฉานโดย ก้องเกียรติ กอวีรกิติ อินโฟเควสต์
    สำนักงานสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐ (USGS) คาดการณ์ว่า เหตุแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่เกิดขึ้นในเมียนมาวันนี้ จะทำให้มีผู้เสียชีวิตราว 10,000-100,000 ราย และจะสร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจคิดเป็นสัดส่วนสูงถึง 70% ของตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ของเมียนมาทั้งนี้ ดร.โรเจอร์ มัสซัน กล่าวว่า ตัวเลขคาดการณ์ดังกล่าวอิงอยู่บนข้อมูลแผ่นดินไหวในอดีต และอยู่บนขนาดและที่ตั้งของเมียนมา และความพร้อมโดยรวมในการรับมือแผ่นดินไหวดร.มัสซันกล่าวว่า การที่แผ่นดินไหวดังกล่าวมีความลึกเพียง 6.2 ไมล์ ได้ทำให้เกิดความเสียหายอย่างรุนแรง เนื่องจากคลื่นแผ่นดินไหวไม่มีการกระจายตัวเมื่อเดินทางจากศูนย์กลางขึ้นสู่พื้นดิน ส่งผลให้อาคารต่าง ๆ ได้รับแรงกระทบอย่างเต็มที่นอกจากนี้ การที่อาคารบ้านเรือนของเมียนมาไม่ได้สร้างขึ้นมาให้รองรับแผ่นดินไหวที่มีความรุนแรงเท่ากับในวันนี้ ก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่จะทำให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมากพลเอกอาวุโส มิน อ่อง หล่าย ผู้นำรัฐบาลทหารเมียนมา กล่าวว่า มีผู้ที่เสียชีวิตจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวในวันนี้อย่างน้อย 144 ราย และบาดเจ็บ 730 ราย"เราคาดว่าจำนวนผู้ที่ได้รับบาดเจ็บและเสียชีวิตจะเพิ่มขึ้นอีก" พลเอกอาวุโส มิน อ่อง หล่าย กล่าวผ่านสถานีโทรทัศน์ของเมียนมาUSGS รายงานว่า เกิดแผ่นดินไหวรุนแรง 7.7 แมกนิจูดใกล้กับเมืองมัณฑะเลย์ของเมียนมาในวันนี้ และตามมาด้วยอาฟเตอร์ช็อก 6.4 แมกนิจูดเหตุแผ่นดินไหวดังกล่าวมีศูนย์กลางอยู่ที่ระดับความลึกเพียง 10 กิโลเมตร และใกล้กับรอยเลื่อนสะกาย ซึ่งเป็นรอยเลื่อนที่ยังคงมีพลัง และทอดยาวผ่านตอนกลางของเมียนมานอกจากนี้ แผ่นดินไหวดังกล่าวยังรับรู้แรงสั่นสะเทือนได้ถึงกรุงเทพฯ เวียดนาม และมณฑลยูนนานของจีนรัฐบาลทหารของเมียนมาได้เรียกร้องขอความช่วยเหลือจากต่างประเทศในวันนี้ หลังเกิดเหตุแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ ซึ่งสร้างความเสียหายอย่างหนัก และคาดว่าจะมีผู้ที่เสียชีวิตและได้รับบาดเจ็บจำนวนมาก"เราต้องการให้ประชาคมระหว่างประเทศให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้" พลตรีซอ มิน ตุน โฆษกรัฐบาลเมียนมา กล่าวต่อผู้สื่อข่าว AFPพลตรีซอ มิน ตุนกล่าวเสริมว่า เมียนมาต้องการได้รับการบริจาคโลหิตสำหรับผู้ที่บาดเจ็บซึ่งเข้ารับการรักษาตัวในมัณฑะเลย์ เนปิดอว์ และสะกายทั้งนี้ การเรียกร้องความช่วยเหลือจากต่างชาติถือเป็นสิ่งที่รัฐบาลทหารของเมียนมาแทบไม่เคยทำมาก่อน ซึ่งบ่งชี้ถึงผลกระทบที่รุนแรงจากเหตุแผ่นดินไหวดังกล่าว ขณะที่รัฐบาลประกาศภาวะฉุกเฉินในเขตสะกาย มัณฑะเลย์ เนปืดอว์ พะโค มะเกวย์ และรัฐฉานโดย ก้องเกียรติ กอวีรกิติ อินโฟเควสต์
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 515 มุมมอง 0 รีวิว
  • รายงานวิเคราะห์จากเพจลงทุนแมน เกี่ยวกับสรุปวิกฤติค่าเงิน อินโดนีเซีย อ่อนสุดตั้งแต่ต้มยำกุ้ง ในโพสต์เดียว /โดย ลงทุนแมน
    ถ้าบอกว่า อินโดนีเซียยังเป็นประเทศดาวรุ่งพุ่งแรง ที่ทุกอย่างกำลังดูดี โพสต์นี้อาจทำให้หลายคนมองภาพประเทศนี้เปลี่ยนไป

    เพราะตอนนี้ อินโดนีเซียกำลังเจอวิกฤติเงินรูเปียอ่อนค่าอย่างหนัก ซึ่งเป็นการอ่อนค่ามากที่สุด นับตั้งแต่วิกฤติต้มยำกุ้งในปี 2540 เลยทีเดียว

    จนธนาคารกลางอินโดนีเซีย ต้องนำเงินทุนสำรองมาพยุงค่าเงินรูเปียไม่ให้อ่อนค่าไปมากกว่านี้

    วิกฤติค่าเงินของอินโดนีเซียรุนแรงแค่ไหน ?
    แล้วเกิดขึ้นเพราะอะไร ?
    ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง

    ค่าเงินรูเปียของอินโดนีเซีย ร่วงไปแตะระดับ 16,600 รูเปียต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่ามากที่สุด ระดับเดียวกับช่วงวิกฤติต้มยำกุ้ง เมื่อปี 2540

    สถานการณ์ของอินโดนีเซียในครั้งนี้ อาจไม่ได้ซ้ำรอยกับวิกฤติต้มยำกุ้ง ที่เริ่มต้นจากการถล่มค่าเงินในภูมิภาค แต่เกิดขึ้นจากรากฐานเศรษฐกิจของอินโดนีเซียที่อ่อนแอลง และถูกซ้ำเติมด้วยนโยบายภาครัฐ

    ก่อนหน้านี้ อินโดนีเซีย คือหนึ่งในประเทศที่ได้รับเงินสนับสนุนและการลงทุนโดยตรงจากต่างชาติมาอย่างต่อเนื่อง

    โดยในปี 2566 มีเม็ดเงินลงทุนจากต่างชาติมากถึง 1.88 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้น 21% จากปีก่อนหน้า และมี GDP เติบโตเฉลี่ย 5% ตลอด 10 ปีที่ผ่านมา

    เมื่อมีเม็ดเงินลงทุนเข้ามาอย่างต่อเนื่อง บวกกับเศรษฐกิจที่เติบโตดี มีฐานประชากรกว่า 281 ล้านคน คอยขับเคลื่อนเศรษฐกิจ

    อีกทั้งรัฐบาลอินโดนีเซีย ดำเนินนโยบายแบบขาดดุลตลอด 10 ปีที่ผ่านมา ซึ่งอินโดนีเซียมีกรอบนโยบายขาดดุลงบประมาณราว -3% ต่อ GDP อย่างยาวนาน

    จนมาถึงยุคของ ประธานาธิบดีปราโบโว ซูเบียนโต
    ที่เพิ่งเข้ารับตำแหน่งในช่วงปลายปี 2567 ก็ยังคงเดินตามแบบแผนเดิม ๆ คือ การตั้งงบประมาณแบบขาดดุล

    พร้อมกับนโยบายประชานิยมหลากหลายอย่าง ที่เขาได้ประกาศใช้ ไม่ว่าจะเป็น

    - ปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำ 6.5% สูงกว่าข้อเสนอของกระทรวงแรงงานที่เสนอไว้ 6%

    - อาหารกลางวันฟรี ให้กับประชาชนกว่า 83 ล้านคน โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือ เด็ก และสตรีมีครรภ์ ซึ่งคาดว่าจะใช้งบประมาณกว่า 950,000 ล้านบาทต่อปี

    - สั่งเบรกอัตราภาษี VAT ที่จะต้องปรับขึ้นเป็น 12% ในสินค้าทุกรายการ เป็นบังคับใช้เพียงสินค้าฟุ่มเฟือยเท่านั้น

    แน่นอนว่า การทำนโยบายประชานิยม ก็ยิ่งกดดันให้อินโดนีเซียต้องขาดดุลมากขึ้น และมีความเสี่ยงที่จะเลยกรอบ 3% ต่อ GDP ที่วางไว้

    ซึ่งในปี 2568 รัฐบาลอินโดนีเซีย ตั้งเป้างบประมาณขาดดุลไว้ที่ 2.53% เพิ่มขึ้นจาก 2.29% ในปี 2567

    แล้วภาพเศรษฐกิจของอินโดนีเซีย เป็นอย่างไร ?

    สัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP อินโดนีเซีย ในปี 2567 อยู่ที่ 39% ซึ่งถือว่าค่อนข้างต่ำเมื่อเทียบกับชาติอื่น ๆ ในภูมิภาค เช่น ไทย ฟิลิปปินส์ หรือ มาเลเซีย

    แต่หากดูในภาพรวม จะพบว่า GDP ของอินโดนีเซีย กำลังเติบโตลดลงทีละน้อย จาก 5.31% ในปี 2565 เหลือ 5.03% ในปี 2567

    ในขณะที่รายได้ของรัฐ เริ่มส่งสัญญาณโตไม่ทันรายจ่าย ทำให้ภาครัฐขาดดุลมากขึ้น

    ปี 2565 ขาดดุล 943,236 ล้านบาท
    ปี 2566 ขาดดุล 994,387 ล้านบาท
    ปี 2567 ขาดดุล 1,070,091 ล้านบาท

    เมื่อมีแนวโน้มขาดดุลงบประมาณมากขึ้น แต่การเติบโตของเศรษฐกิจกลับเริ่มอ่อนแรง การกู้เงินมาใช้จ่ายจึงเพิ่มขึ้น

    ซึ่งแม้แต่ประธานาธิบดีปราโบโวเอง ก็เคยบอกไว้ว่ามีแผนจะปรับระดับเพดานหนี้สาธารณะต่อ GDP อินโดนีเซีย ไปอยู่ในระดับ 50% ภายในเวลา 5 ปี

    นอกจากเรื่องการขาดดุลอย่างต่อเนื่องแล้ว ประธานาธิบดีคนนี้ ยังต้องการตั้งกองทุนความมั่งคั่งแห่งชาติที่ชื่อว่า Danantara ที่คาดว่าจะมีมูลค่าทรัพย์สินภายใต้การจัดการกว่า 30 ล้านล้านบาท

    Danantara มีโมเดลคล้าย Temasek กองทุน
    ความมั่งคั่งแห่งชาติสิงคโปร์ ที่เน้นนำเงินของประเทศ
    ไปลงทุนในสินทรัพย์ต่าง ๆ ทั่วโลก

    รวมถึง รัฐวิสาหกิจของอินโดนีเซีย กว่า 40 แห่ง ที่จะถูกรวมเข้ามาเป็นสินทรัพย์ภายใต้กองทุน เช่น
    - Pertamina บริษัทน้ำมันและก๊าซ
    - PLN บริษัทไฟฟ้า
    - Telkom Indonesia บริษัทโทรคมนาคม

    แต่ปัญหาคือ กองทุนนี้ต้องใช้เงินมหาศาลในการจัดตั้งกองทุน ซึ่งสิ่งที่รัฐบาลอินโดนีเซียทำ เป็นความเสี่ยงที่หลายคนกังวล

    เพราะรัฐบาลหาเงินมาทำกองทุนนี้ ด้วยการตัดงบประมาณบริการสาธารณะที่จำเป็น รวมถึงการลดเงินทุนสำหรับการศึกษาระดับประถมลง 24% และลดงบประมาณการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยลง 39% ลดค่าใช้จ่ายด้านการดูแลสุขภาพลง 19% และที่สำคัญคือ การลดโครงการสาธารณูปโภค และโครงสร้างพื้นฐานลง 73%

    เรียกได้ว่า กองทุนนี้มีเงินตั้งต้นจากการลดค่าใช้จ่าย
    ในเศรษฐกิจ ที่เป็นอนาคตสำคัญของประเทศ

    จากปัญหาหลักทั้ง 2 เรื่องนี้ นั่นก็คือ การขาดดุลงบประมาณ และการลดค่าใช้จ่ายที่สำคัญทางเศรษฐกิจ ก็ทำให้นักลงทุนต่างชาติเริ่มกังวลกับความอ่อนแอของเศรษฐกิจ และศักยภาพการเติบโตที่ยั่งยืนในระยะยาวของอินโดนีเซีย

    ส่งผลให้นักลงทุนเริ่มเทขายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์อินโดนีเซีย จนดัชนีตลาดหลักทรัพย์อินโดนีเซีย (IDX Composite) ปรับตัวลงไปแล้ว -10% นับจากต้นปี (ยังดีกว่าดัชนี SET ของไทยที่ -14%)

    ซึ่งวันที่ 18 มีนาคมที่ผ่านมา ตลาดหลักทรัพย์อินโดนีเซียได้มีการประกาศหยุดซื้อขายหุ้นชั่วคราว หลังจากดัชนีหลักทรัพย์ร่วงไป -5%

    โดยแรงขายหุ้นจากนักลงทุนต่างชาติ ยังเป็นแรงกดดันให้ค่าเงินรูเปียของอินโดนีเซียอ่อนค่าลงอีกทาง

    ในที่สุด ค่าเงินรูเปียของอินโดนีเซียก็อ่อนค่าลงต่อเนื่อง จนตอนนี้อยู่ในระดับที่ต่ำสุด นับตั้งแต่วิกฤติต้มยำกุ้งในช่วงปี 2540 ไปแล้ว (ในขณะที่ค่าเงินบาทไทยยังห่างไกลจากช่วงวิกฤติต้มยำกุ้ง ที่อ่อนค่าลงไปแตะ 55 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ)

    อย่างไรก็ตาม ก็ต้องบอกว่า เรื่องนี้ก็อาจเกิดขึ้นในระยะสั้นเท่านั้น หากความเชื่อมั่นของนักลงทุนกลับมา และความท้าทายทางเศรษฐกิจเริ่มคลี่คลาย

    แต่ถ้ารัฐบาลอินโดนีเซียภายใต้ผู้นำที่ชื่อว่า ปราโบโว
    ซูเบียนโต ยังทำแบบเดิม ๆ และความเชื่อมั่นของนักลงทุนต่างชาติ ยังไม่ฟื้นคืน

    สุดท้าย ก็อาจทำให้ค่าเงินรูเปียของอินโดนีเซีย ร่วงหนักไปมากกว่านี้ก็ได้..

    ปิดท้ายด้วยข้อมูลที่น่าสนใจ

    รู้ไหมว่า กองทุนความมั่งคั่งแห่งชาติ Danantara
    ของอินโดนีเซีย มีคุณทักษิณ ชินวัตร เป็นที่ปรึกษาอีกด้วย
    ╔═══════════╗
    ติดตามข่าวเศรษฐกิจแบบเน้น ๆ จากหลายเพจได้ใน Blockdit - คอนเทนต์แพลตฟอร์มที่มีผู้ใช้งานเป็นประจำ 2 ล้านคน ลองใช้ฟรี blockdit.com/download
    ╚═══════════╝
    ติดตามลงทุนแมนได้ที่
    Website - longtunman.com
    Blockdit - blockdit.com/longtunman
    Facebook - facebook.com/longtunman
    Twitter - twitter.com/longtunman
    Instagram - instagram.com/longtunman
    YouTube - youtube.com/longtunman
    TikTok - tiktok.com/@longtunman
    Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
    Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงทุนแมน/id1543162829
    Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
    References
    -https://www.reuters.com/markets/currencies/indonesia-cbank-says-rupiah-weakness-reflects-global-domestic-factors-2025-03-25/?utm_source=chatgpt.com
    -https://www.bloomberg.com/news/articles/2025-03-26/indonesia-stock-market-why-are-investors-fleeing-what-role-has-prabowo-played
    -https://tradingeconomics.com/indonesia/indicators
    -https://www.bps.go.id/en/statistics-table/2/MTA4NSMy/actual-government-expenditures--finance-.html
    -https://asiatimes.com/2025/03/danantara-indonesias-ticking-financial-time-bomb
    รายงานวิเคราะห์จากเพจลงทุนแมน เกี่ยวกับสรุปวิกฤติค่าเงิน อินโดนีเซีย อ่อนสุดตั้งแต่ต้มยำกุ้ง ในโพสต์เดียว /โดย ลงทุนแมน ถ้าบอกว่า อินโดนีเซียยังเป็นประเทศดาวรุ่งพุ่งแรง ที่ทุกอย่างกำลังดูดี โพสต์นี้อาจทำให้หลายคนมองภาพประเทศนี้เปลี่ยนไป เพราะตอนนี้ อินโดนีเซียกำลังเจอวิกฤติเงินรูเปียอ่อนค่าอย่างหนัก ซึ่งเป็นการอ่อนค่ามากที่สุด นับตั้งแต่วิกฤติต้มยำกุ้งในปี 2540 เลยทีเดียว จนธนาคารกลางอินโดนีเซีย ต้องนำเงินทุนสำรองมาพยุงค่าเงินรูเปียไม่ให้อ่อนค่าไปมากกว่านี้ วิกฤติค่าเงินของอินโดนีเซียรุนแรงแค่ไหน ? แล้วเกิดขึ้นเพราะอะไร ? ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง ค่าเงินรูเปียของอินโดนีเซีย ร่วงไปแตะระดับ 16,600 รูเปียต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่ามากที่สุด ระดับเดียวกับช่วงวิกฤติต้มยำกุ้ง เมื่อปี 2540 สถานการณ์ของอินโดนีเซียในครั้งนี้ อาจไม่ได้ซ้ำรอยกับวิกฤติต้มยำกุ้ง ที่เริ่มต้นจากการถล่มค่าเงินในภูมิภาค แต่เกิดขึ้นจากรากฐานเศรษฐกิจของอินโดนีเซียที่อ่อนแอลง และถูกซ้ำเติมด้วยนโยบายภาครัฐ ก่อนหน้านี้ อินโดนีเซีย คือหนึ่งในประเทศที่ได้รับเงินสนับสนุนและการลงทุนโดยตรงจากต่างชาติมาอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2566 มีเม็ดเงินลงทุนจากต่างชาติมากถึง 1.88 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้น 21% จากปีก่อนหน้า และมี GDP เติบโตเฉลี่ย 5% ตลอด 10 ปีที่ผ่านมา เมื่อมีเม็ดเงินลงทุนเข้ามาอย่างต่อเนื่อง บวกกับเศรษฐกิจที่เติบโตดี มีฐานประชากรกว่า 281 ล้านคน คอยขับเคลื่อนเศรษฐกิจ อีกทั้งรัฐบาลอินโดนีเซีย ดำเนินนโยบายแบบขาดดุลตลอด 10 ปีที่ผ่านมา ซึ่งอินโดนีเซียมีกรอบนโยบายขาดดุลงบประมาณราว -3% ต่อ GDP อย่างยาวนาน จนมาถึงยุคของ ประธานาธิบดีปราโบโว ซูเบียนโต ที่เพิ่งเข้ารับตำแหน่งในช่วงปลายปี 2567 ก็ยังคงเดินตามแบบแผนเดิม ๆ คือ การตั้งงบประมาณแบบขาดดุล พร้อมกับนโยบายประชานิยมหลากหลายอย่าง ที่เขาได้ประกาศใช้ ไม่ว่าจะเป็น - ปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำ 6.5% สูงกว่าข้อเสนอของกระทรวงแรงงานที่เสนอไว้ 6% - อาหารกลางวันฟรี ให้กับประชาชนกว่า 83 ล้านคน โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือ เด็ก และสตรีมีครรภ์ ซึ่งคาดว่าจะใช้งบประมาณกว่า 950,000 ล้านบาทต่อปี - สั่งเบรกอัตราภาษี VAT ที่จะต้องปรับขึ้นเป็น 12% ในสินค้าทุกรายการ เป็นบังคับใช้เพียงสินค้าฟุ่มเฟือยเท่านั้น แน่นอนว่า การทำนโยบายประชานิยม ก็ยิ่งกดดันให้อินโดนีเซียต้องขาดดุลมากขึ้น และมีความเสี่ยงที่จะเลยกรอบ 3% ต่อ GDP ที่วางไว้ ซึ่งในปี 2568 รัฐบาลอินโดนีเซีย ตั้งเป้างบประมาณขาดดุลไว้ที่ 2.53% เพิ่มขึ้นจาก 2.29% ในปี 2567 แล้วภาพเศรษฐกิจของอินโดนีเซีย เป็นอย่างไร ? สัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP อินโดนีเซีย ในปี 2567 อยู่ที่ 39% ซึ่งถือว่าค่อนข้างต่ำเมื่อเทียบกับชาติอื่น ๆ ในภูมิภาค เช่น ไทย ฟิลิปปินส์ หรือ มาเลเซีย แต่หากดูในภาพรวม จะพบว่า GDP ของอินโดนีเซีย กำลังเติบโตลดลงทีละน้อย จาก 5.31% ในปี 2565 เหลือ 5.03% ในปี 2567 ในขณะที่รายได้ของรัฐ เริ่มส่งสัญญาณโตไม่ทันรายจ่าย ทำให้ภาครัฐขาดดุลมากขึ้น ปี 2565 ขาดดุล 943,236 ล้านบาท ปี 2566 ขาดดุล 994,387 ล้านบาท ปี 2567 ขาดดุล 1,070,091 ล้านบาท เมื่อมีแนวโน้มขาดดุลงบประมาณมากขึ้น แต่การเติบโตของเศรษฐกิจกลับเริ่มอ่อนแรง การกู้เงินมาใช้จ่ายจึงเพิ่มขึ้น ซึ่งแม้แต่ประธานาธิบดีปราโบโวเอง ก็เคยบอกไว้ว่ามีแผนจะปรับระดับเพดานหนี้สาธารณะต่อ GDP อินโดนีเซีย ไปอยู่ในระดับ 50% ภายในเวลา 5 ปี นอกจากเรื่องการขาดดุลอย่างต่อเนื่องแล้ว ประธานาธิบดีคนนี้ ยังต้องการตั้งกองทุนความมั่งคั่งแห่งชาติที่ชื่อว่า Danantara ที่คาดว่าจะมีมูลค่าทรัพย์สินภายใต้การจัดการกว่า 30 ล้านล้านบาท Danantara มีโมเดลคล้าย Temasek กองทุน ความมั่งคั่งแห่งชาติสิงคโปร์ ที่เน้นนำเงินของประเทศ ไปลงทุนในสินทรัพย์ต่าง ๆ ทั่วโลก รวมถึง รัฐวิสาหกิจของอินโดนีเซีย กว่า 40 แห่ง ที่จะถูกรวมเข้ามาเป็นสินทรัพย์ภายใต้กองทุน เช่น - Pertamina บริษัทน้ำมันและก๊าซ - PLN บริษัทไฟฟ้า - Telkom Indonesia บริษัทโทรคมนาคม แต่ปัญหาคือ กองทุนนี้ต้องใช้เงินมหาศาลในการจัดตั้งกองทุน ซึ่งสิ่งที่รัฐบาลอินโดนีเซียทำ เป็นความเสี่ยงที่หลายคนกังวล เพราะรัฐบาลหาเงินมาทำกองทุนนี้ ด้วยการตัดงบประมาณบริการสาธารณะที่จำเป็น รวมถึงการลดเงินทุนสำหรับการศึกษาระดับประถมลง 24% และลดงบประมาณการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยลง 39% ลดค่าใช้จ่ายด้านการดูแลสุขภาพลง 19% และที่สำคัญคือ การลดโครงการสาธารณูปโภค และโครงสร้างพื้นฐานลง 73% เรียกได้ว่า กองทุนนี้มีเงินตั้งต้นจากการลดค่าใช้จ่าย ในเศรษฐกิจ ที่เป็นอนาคตสำคัญของประเทศ จากปัญหาหลักทั้ง 2 เรื่องนี้ นั่นก็คือ การขาดดุลงบประมาณ และการลดค่าใช้จ่ายที่สำคัญทางเศรษฐกิจ ก็ทำให้นักลงทุนต่างชาติเริ่มกังวลกับความอ่อนแอของเศรษฐกิจ และศักยภาพการเติบโตที่ยั่งยืนในระยะยาวของอินโดนีเซีย ส่งผลให้นักลงทุนเริ่มเทขายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์อินโดนีเซีย จนดัชนีตลาดหลักทรัพย์อินโดนีเซีย (IDX Composite) ปรับตัวลงไปแล้ว -10% นับจากต้นปี (ยังดีกว่าดัชนี SET ของไทยที่ -14%) ซึ่งวันที่ 18 มีนาคมที่ผ่านมา ตลาดหลักทรัพย์อินโดนีเซียได้มีการประกาศหยุดซื้อขายหุ้นชั่วคราว หลังจากดัชนีหลักทรัพย์ร่วงไป -5% โดยแรงขายหุ้นจากนักลงทุนต่างชาติ ยังเป็นแรงกดดันให้ค่าเงินรูเปียของอินโดนีเซียอ่อนค่าลงอีกทาง ในที่สุด ค่าเงินรูเปียของอินโดนีเซียก็อ่อนค่าลงต่อเนื่อง จนตอนนี้อยู่ในระดับที่ต่ำสุด นับตั้งแต่วิกฤติต้มยำกุ้งในช่วงปี 2540 ไปแล้ว (ในขณะที่ค่าเงินบาทไทยยังห่างไกลจากช่วงวิกฤติต้มยำกุ้ง ที่อ่อนค่าลงไปแตะ 55 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ) อย่างไรก็ตาม ก็ต้องบอกว่า เรื่องนี้ก็อาจเกิดขึ้นในระยะสั้นเท่านั้น หากความเชื่อมั่นของนักลงทุนกลับมา และความท้าทายทางเศรษฐกิจเริ่มคลี่คลาย แต่ถ้ารัฐบาลอินโดนีเซียภายใต้ผู้นำที่ชื่อว่า ปราโบโว ซูเบียนโต ยังทำแบบเดิม ๆ และความเชื่อมั่นของนักลงทุนต่างชาติ ยังไม่ฟื้นคืน สุดท้าย ก็อาจทำให้ค่าเงินรูเปียของอินโดนีเซีย ร่วงหนักไปมากกว่านี้ก็ได้.. ปิดท้ายด้วยข้อมูลที่น่าสนใจ รู้ไหมว่า กองทุนความมั่งคั่งแห่งชาติ Danantara ของอินโดนีเซีย มีคุณทักษิณ ชินวัตร เป็นที่ปรึกษาอีกด้วย ╔═══════════╗ ติดตามข่าวเศรษฐกิจแบบเน้น ๆ จากหลายเพจได้ใน Blockdit - คอนเทนต์แพลตฟอร์มที่มีผู้ใช้งานเป็นประจำ 2 ล้านคน ลองใช้ฟรี blockdit.com/download ╚═══════════╝ ติดตามลงทุนแมนได้ที่ Website - longtunman.com Blockdit - blockdit.com/longtunman Facebook - facebook.com/longtunman Twitter - twitter.com/longtunman Instagram - instagram.com/longtunman YouTube - youtube.com/longtunman TikTok - tiktok.com/@longtunman Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงทุนแมน/id1543162829 Soundcloud - soundcloud.com/longtunman References -https://www.reuters.com/markets/currencies/indonesia-cbank-says-rupiah-weakness-reflects-global-domestic-factors-2025-03-25/?utm_source=chatgpt.com -https://www.bloomberg.com/news/articles/2025-03-26/indonesia-stock-market-why-are-investors-fleeing-what-role-has-prabowo-played -https://tradingeconomics.com/indonesia/indicators -https://www.bps.go.id/en/statistics-table/2/MTA4NSMy/actual-government-expenditures--finance-.html -https://asiatimes.com/2025/03/danantara-indonesias-ticking-financial-time-bomb
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1047 มุมมอง 0 รีวิว
  • "เอาเงินไปแจกผมว่าปัญญาอ่อน"

    เรียกเสียงวิจารณ์ในสังคม ถึงมาตรการแจกเงิน 10,000 บาท กระตุ้นเศรษฐกิจเฟส 3 ของรัฐบาล น.ส.แพทองธาร ชินวัตร จากพรรคเพื่อไทย คราวนี้เป็นคิวของผู้ที่มีอายุ 16-20 ปี จำนวน 2.7 ล้านคน โดยอ้างว่ามีความพร้อมรู้ทางเทคโนโลยี ที่ประชุมคณะกรรมการกระตุ้นเศรษฐกิจเมื่อวันที่ 10 มี.ค. เห็นชอบหลักการดังกล่าว ซึ่งครั้งนี้แจกเงินผ่านแพลตฟอร์มดิจิทัล วอลเล็ต บนแอปพลิเคชันทางรัฐ คาดว่าจะดำเนินการในช่วงปลายไตรมาส 2 ควบไตรมาส 3 ของปี 2568

    ส่วนกลุ่มอายุ 21-59 ปี ที่ยังไม่ได้รับเงินกระตุ้นเศรษฐกิจ นายเผ่าภูมิ โรจนสกุล รมช.คลัง กล่าวว่า รัฐบาลได้กันเงินไว้ 150,000 ล้านบาท มีกระสุนไว้เพียงพอ มีไว้เยอะ รัฐบาลใช้เงินทุกบาททุกสตางค์อย่างคุ้มค่า ยืนยันว่าการเลือกแจกกลุ่มนี้ เป็นกลุ่มที่ตื่นรู้ทางเทคโนโลยีสูง มีความสามารถในการใช้จ่ายในแบบนี้ ด้วยจำนวนเงินช่วงเวลาที่เหมาะสม

    อย่างไรก็ตาม การแจกเงินหมื่นเฟสนี้กลายเป็นที่สับสนแก่สังคม เพราะทีแรกแถลงข่าวว่า สามารถจ่ายค่าเทอมได้ แต่วันต่อมา กลับกล่าวว่าไม่ได้ เพราะค่าเทอม ค่าโทรศัพท์มือถือ และค่าบริการต่างๆ เช่น ค่าน้ำ ค่าไฟ ถือว่าเป็นค่าบริการ ไม่รวมอยู่ในโครงการดิจิทัลวอลเล็ต ซึ่งนายจุลพันธ์ อมรวิวัฒน์ รมช.คลังก็อ้างว่าสื่อถามเร็วไปหน่อย ประจัญหน้าไปหน่อย คราวหน้าส่งคำถามมาก่อน อย่างไรก็ตาม ยังคงสามารถนำเงินไปใช้ซื้อสินค้าประเภทอื่นได้อยู่แล้ว

    ไม่นับรวมเสียงวิจารณ์จากสังคม โดยเฉพาะกลุ่มวัยทำงานที่รอรัฐบาลแจกเงินแล้วยังไม่ได้ และผลพิสูจน์โครงการแจกเงิน 2 เฟสที่ผ่านมา ได้แก่ กลุ่มผู้ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐและผู้พิการ 14.5 ล้านคน และผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป 3.02 ล้านคน รวม 17.5 ล้านคน แม้จะเป็นการโอนเงินสดเข้าบัญชีธนาคาร ผ่านระบบพร้อมเพย์เลขที่บัตรประชาชนก็ตาม ก็ไม่ได้เกิดพายุหมุนทางเศรษฐกิจตามที่รัฐบาลกล่าวอ้าง ธนาคารโลก (World Bank) ยังระบุว่ากระตุ้น GDP ได้เพียง 0.3% แต่มีต้นทุนทางการคลังสูงถึง 145,000 ล้านบาท หรือ 0.8% ของ GDP

    ขณะที่ชาวเน็ตยังคงแชร์ดิจิทัลฟุตปรินต์ แล้ววิจารณ์อย่างสนุกสนาน หนึ่งในนั้นเป็นคำพูดของนายทักษิณ ชินวัตร กล่าวในรายการ CARE Talk เมื่อวันที่ 15 มี.ค. 2565 ระบุว่า "เติมเศรษฐกิจให้แข็งแรง ทำอะไรกระตุ้นเศรษฐกิจ เอาเงินไปแจกผมว่าปัญญาอ่อน ถ้ามีปัญญาเขาไม่แจก เขาใช้เงินไปสร้างเศรษฐกิจ ให้เศรษฐกิจแข็งแรง ทำเรื่องง่าย หรือยังขายวัคซีนไม่จบ" ซึ่งเป็นการแซะ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น แต่กลายเป็นว่าพอพรรคเพื่อไทยเป็นรัฐบาล และลูกสาวเป็นนายกรัฐมนตรี กลับทำเสียเอง

    #Newskit
    "เอาเงินไปแจกผมว่าปัญญาอ่อน" เรียกเสียงวิจารณ์ในสังคม ถึงมาตรการแจกเงิน 10,000 บาท กระตุ้นเศรษฐกิจเฟส 3 ของรัฐบาล น.ส.แพทองธาร ชินวัตร จากพรรคเพื่อไทย คราวนี้เป็นคิวของผู้ที่มีอายุ 16-20 ปี จำนวน 2.7 ล้านคน โดยอ้างว่ามีความพร้อมรู้ทางเทคโนโลยี ที่ประชุมคณะกรรมการกระตุ้นเศรษฐกิจเมื่อวันที่ 10 มี.ค. เห็นชอบหลักการดังกล่าว ซึ่งครั้งนี้แจกเงินผ่านแพลตฟอร์มดิจิทัล วอลเล็ต บนแอปพลิเคชันทางรัฐ คาดว่าจะดำเนินการในช่วงปลายไตรมาส 2 ควบไตรมาส 3 ของปี 2568 ส่วนกลุ่มอายุ 21-59 ปี ที่ยังไม่ได้รับเงินกระตุ้นเศรษฐกิจ นายเผ่าภูมิ โรจนสกุล รมช.คลัง กล่าวว่า รัฐบาลได้กันเงินไว้ 150,000 ล้านบาท มีกระสุนไว้เพียงพอ มีไว้เยอะ รัฐบาลใช้เงินทุกบาททุกสตางค์อย่างคุ้มค่า ยืนยันว่าการเลือกแจกกลุ่มนี้ เป็นกลุ่มที่ตื่นรู้ทางเทคโนโลยีสูง มีความสามารถในการใช้จ่ายในแบบนี้ ด้วยจำนวนเงินช่วงเวลาที่เหมาะสม อย่างไรก็ตาม การแจกเงินหมื่นเฟสนี้กลายเป็นที่สับสนแก่สังคม เพราะทีแรกแถลงข่าวว่า สามารถจ่ายค่าเทอมได้ แต่วันต่อมา กลับกล่าวว่าไม่ได้ เพราะค่าเทอม ค่าโทรศัพท์มือถือ และค่าบริการต่างๆ เช่น ค่าน้ำ ค่าไฟ ถือว่าเป็นค่าบริการ ไม่รวมอยู่ในโครงการดิจิทัลวอลเล็ต ซึ่งนายจุลพันธ์ อมรวิวัฒน์ รมช.คลังก็อ้างว่าสื่อถามเร็วไปหน่อย ประจัญหน้าไปหน่อย คราวหน้าส่งคำถามมาก่อน อย่างไรก็ตาม ยังคงสามารถนำเงินไปใช้ซื้อสินค้าประเภทอื่นได้อยู่แล้ว ไม่นับรวมเสียงวิจารณ์จากสังคม โดยเฉพาะกลุ่มวัยทำงานที่รอรัฐบาลแจกเงินแล้วยังไม่ได้ และผลพิสูจน์โครงการแจกเงิน 2 เฟสที่ผ่านมา ได้แก่ กลุ่มผู้ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐและผู้พิการ 14.5 ล้านคน และผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป 3.02 ล้านคน รวม 17.5 ล้านคน แม้จะเป็นการโอนเงินสดเข้าบัญชีธนาคาร ผ่านระบบพร้อมเพย์เลขที่บัตรประชาชนก็ตาม ก็ไม่ได้เกิดพายุหมุนทางเศรษฐกิจตามที่รัฐบาลกล่าวอ้าง ธนาคารโลก (World Bank) ยังระบุว่ากระตุ้น GDP ได้เพียง 0.3% แต่มีต้นทุนทางการคลังสูงถึง 145,000 ล้านบาท หรือ 0.8% ของ GDP ขณะที่ชาวเน็ตยังคงแชร์ดิจิทัลฟุตปรินต์ แล้ววิจารณ์อย่างสนุกสนาน หนึ่งในนั้นเป็นคำพูดของนายทักษิณ ชินวัตร กล่าวในรายการ CARE Talk เมื่อวันที่ 15 มี.ค. 2565 ระบุว่า "เติมเศรษฐกิจให้แข็งแรง ทำอะไรกระตุ้นเศรษฐกิจ เอาเงินไปแจกผมว่าปัญญาอ่อน ถ้ามีปัญญาเขาไม่แจก เขาใช้เงินไปสร้างเศรษฐกิจ ให้เศรษฐกิจแข็งแรง ทำเรื่องง่าย หรือยังขายวัคซีนไม่จบ" ซึ่งเป็นการแซะ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น แต่กลายเป็นว่าพอพรรคเพื่อไทยเป็นรัฐบาล และลูกสาวเป็นนายกรัฐมนตรี กลับทำเสียเอง #Newskit
    Like
    Haha
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 795 มุมมอง 0 รีวิว
  • โอษฐภัยเผ่าภูมิ ถูกมอง'ดูถูกนักลงทุน'

    ความมั่นใจเป็นภัยย้อนเข้าตัว ประโยค "คนฉลาดมองเห็นโอกาส คนไม่ฉลาดจะตื่นเต้น" ของนายเผ่าภูมิ โรจนสกุล รมช.คลัง หลังตลาดหุ้นไทยตกต่ำกว่า 1,200 จุด และไม่มีแผนกระตุ้นนักลงทุนอย่างชัดเจน เรียกเสียงวิจารณ์จากทั่วทุกสารทิศ ถูกมองว่าดูถูกนักลงทุน นายวรภพ วิริยะโรจน์ สส.บัญชีรายชื่อ พรรคประชาชน ถึงกับกล่าวว่า "ตลาดหุ้นตกไม่ใช่เรื่องโง่หรือฉลาด แต่คือการบริหารผิดพลาด และขาดการกำกับดูแล"

    โดยเห็นว่าคำพูดของนายเผ่าภูมิ นอกจากจะไม่ช่วยบรรเทาสถานการณ์แล้ว กลับทำลายความเชื่อมั่นให้ตกต่ำลงไปอีก ทั้งที่รัฐบาลควรรับฟังข้อเสนอแนะและข้อวิจารณ์ต่อความผิดพลาด โดยเฉพาะการแจกเงิน 10,000 บาท ที่มีผู้ทักท้วงว่าอาจไม่คุ้มกับต้นทุนการคลัง ปรากฎว่าตัวเลข GDP ปี 2567 เติบโตเพียง 2.5% รั้งท้ายอาเซียน แต่รัฐบาลกลับเพิกเฉยแล้วเดินหน้าต่อด้วยงบประมาณมากขึ้น

    นอกจากไม่เห็นโอกาสทางเศรษฐกิจใหม่แล้ว รัฐบาลยังละเลยกำกับตลาดหุ้นไทยให้เป็นธรรมกับนักลงทุน กรณีซีพีแอ็กซ์ตร้า (CPAXT) เอาบริษัทมหาชนไปร่วมลงทุนกับบริษัทในครอบครัวนอกธุรกิจหลัก จากช่องโหว่ทางกฎหมาย และล่าสุดท่าอากาศยานไทย (AOT) ช่วยเหลือผู้ประกอบการดิวตี้ฟรี เลื่อนเงื่อนไขการชำระเงินตามสัญญา แต่ประกาศข่าวสำคัญล่าช้า จึงอยากเห็นตลาดหุ้นไทยยังคงเป็นความหวังในอนาคตให้กับนักลงทุนได้บ้าง ในยามที่เศรษฐกิจไทยไม่ค่อยมีอนาคต ขอให้ประชาชนและนักลงทุนรายย่อยช่วยกันผลักดันรัฐบาลและ รมช.คลัง กำกับและเข้มงวดกับการคุ้มครองนักลงทุนรายย่อยให้มากขึ้น

    ภายหลังนายเผ่าภูมิได้ขออภัย ระบุว่าเจตนาไม่ได้ต้องการวิพากษ์วิจารณ์นักลงทุน แต่ต้องการสื่อสารเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจที่ฟื้นตัว แต่ยอมรับว่ามีปัญหาการสื่อสารที่สั้นเกินไป และเนื้อหาไม่ตรงกับเจตนารมณ์ที่ต้องการสื่อ หากเกิดความคลาดเคลื่อนต้องขออภัย

    ทั้งนี้ ราคาหุ้นปัจจุบันไม่ได้สะท้อนพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่แท้จริง แต่ได้รับแรงกดดันจากปัจจัยภายนอก ทั้งความไม่แน่นอนจากสงครามการค้า รวมถึงนโยบายเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา แต่ยืนยันว่าเศรษฐกิจไทยอยู่ในช่วงขาขึ้น แม้ตลาดหุ้นจะผันผวนแต่พื้นฐานเศรษฐกิจไทยยังแข็งแกร่ง รัฐบาลไม่สามารถบอกได้ว่าหุ้นน่าซื้อหรือไม่ แต่เรามีหน้าที่ให้ข้อมูล เพื่อให้นักลงทุนมองเห็นโอกาสจากการปรับฐานของตลาดหุ้น และใช้ข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงในการตัดสินใจลงทุน

    ตลาดหุ้นไทย ณ วันที่ 5 มี.ค. 2568 ปิดตลาดอยู่ที่ 1,206.96 จุด เพิ่มขึ้น 29.32 จุด (+2.49%) ด้วยมูลค่าการซื้อขาย 50,706.03 ล้านบาท โดยหุ้นที่มีมูลค่าซื้อขายสูงสุด ได้แก่ AOT ADVANC DELTA CPALL และ TOP

    #Newskit
    โอษฐภัยเผ่าภูมิ ถูกมอง'ดูถูกนักลงทุน' ความมั่นใจเป็นภัยย้อนเข้าตัว ประโยค "คนฉลาดมองเห็นโอกาส คนไม่ฉลาดจะตื่นเต้น" ของนายเผ่าภูมิ โรจนสกุล รมช.คลัง หลังตลาดหุ้นไทยตกต่ำกว่า 1,200 จุด และไม่มีแผนกระตุ้นนักลงทุนอย่างชัดเจน เรียกเสียงวิจารณ์จากทั่วทุกสารทิศ ถูกมองว่าดูถูกนักลงทุน นายวรภพ วิริยะโรจน์ สส.บัญชีรายชื่อ พรรคประชาชน ถึงกับกล่าวว่า "ตลาดหุ้นตกไม่ใช่เรื่องโง่หรือฉลาด แต่คือการบริหารผิดพลาด และขาดการกำกับดูแล" โดยเห็นว่าคำพูดของนายเผ่าภูมิ นอกจากจะไม่ช่วยบรรเทาสถานการณ์แล้ว กลับทำลายความเชื่อมั่นให้ตกต่ำลงไปอีก ทั้งที่รัฐบาลควรรับฟังข้อเสนอแนะและข้อวิจารณ์ต่อความผิดพลาด โดยเฉพาะการแจกเงิน 10,000 บาท ที่มีผู้ทักท้วงว่าอาจไม่คุ้มกับต้นทุนการคลัง ปรากฎว่าตัวเลข GDP ปี 2567 เติบโตเพียง 2.5% รั้งท้ายอาเซียน แต่รัฐบาลกลับเพิกเฉยแล้วเดินหน้าต่อด้วยงบประมาณมากขึ้น นอกจากไม่เห็นโอกาสทางเศรษฐกิจใหม่แล้ว รัฐบาลยังละเลยกำกับตลาดหุ้นไทยให้เป็นธรรมกับนักลงทุน กรณีซีพีแอ็กซ์ตร้า (CPAXT) เอาบริษัทมหาชนไปร่วมลงทุนกับบริษัทในครอบครัวนอกธุรกิจหลัก จากช่องโหว่ทางกฎหมาย และล่าสุดท่าอากาศยานไทย (AOT) ช่วยเหลือผู้ประกอบการดิวตี้ฟรี เลื่อนเงื่อนไขการชำระเงินตามสัญญา แต่ประกาศข่าวสำคัญล่าช้า จึงอยากเห็นตลาดหุ้นไทยยังคงเป็นความหวังในอนาคตให้กับนักลงทุนได้บ้าง ในยามที่เศรษฐกิจไทยไม่ค่อยมีอนาคต ขอให้ประชาชนและนักลงทุนรายย่อยช่วยกันผลักดันรัฐบาลและ รมช.คลัง กำกับและเข้มงวดกับการคุ้มครองนักลงทุนรายย่อยให้มากขึ้น ภายหลังนายเผ่าภูมิได้ขออภัย ระบุว่าเจตนาไม่ได้ต้องการวิพากษ์วิจารณ์นักลงทุน แต่ต้องการสื่อสารเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจที่ฟื้นตัว แต่ยอมรับว่ามีปัญหาการสื่อสารที่สั้นเกินไป และเนื้อหาไม่ตรงกับเจตนารมณ์ที่ต้องการสื่อ หากเกิดความคลาดเคลื่อนต้องขออภัย ทั้งนี้ ราคาหุ้นปัจจุบันไม่ได้สะท้อนพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่แท้จริง แต่ได้รับแรงกดดันจากปัจจัยภายนอก ทั้งความไม่แน่นอนจากสงครามการค้า รวมถึงนโยบายเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา แต่ยืนยันว่าเศรษฐกิจไทยอยู่ในช่วงขาขึ้น แม้ตลาดหุ้นจะผันผวนแต่พื้นฐานเศรษฐกิจไทยยังแข็งแกร่ง รัฐบาลไม่สามารถบอกได้ว่าหุ้นน่าซื้อหรือไม่ แต่เรามีหน้าที่ให้ข้อมูล เพื่อให้นักลงทุนมองเห็นโอกาสจากการปรับฐานของตลาดหุ้น และใช้ข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงในการตัดสินใจลงทุน ตลาดหุ้นไทย ณ วันที่ 5 มี.ค. 2568 ปิดตลาดอยู่ที่ 1,206.96 จุด เพิ่มขึ้น 29.32 จุด (+2.49%) ด้วยมูลค่าการซื้อขาย 50,706.03 ล้านบาท โดยหุ้นที่มีมูลค่าซื้อขายสูงสุด ได้แก่ AOT ADVANC DELTA CPALL และ TOP #Newskit
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 765 มุมมอง 0 รีวิว
  • “ทรัมป์บ้า” กับ...การลอบสังหารครั้งที่ 4!!! โดย: ทับทิม พญาไท เนื่องจากอะไรมิอะไรมันน่าจะเริ่ม “ตกผลึก” ลงมามั่งแล้ว หรือน่าจะพอ “เดาทาง” ผู้นำอเมริกาอย่าง “ทรัมป์บ้า” ได้บ้างแล้วว่า น่าจะออกไปในแนวไหน? ลูกไหน? ไม่ได้ถึงขั้น “บ้า...จนเดาไม่ออก” เปิดฉากสัปดาห์นี้...เลยคงต้องขออนุญาตทบทวน ใคร่ครวญ ถึงความเพียรพยายามที่จะทำให้ “America Great Again” ของประธานาธิบดีอเมริกันรายนี้ เอาไว้พอให้เห็นภาพคร่าวๆ ส่วนจะถูก-จะผิด จริง-ไม่จริง เชื่อ-ไม่เชื่อ ก็อย่าถึงกับได้ถือสา หาความ ถือเสียว่าเป็นการ “แลกเปลี่ยนมุมมอง” ไปตามสภาพก็แล้วกัน...
    ประการแรก...ตั้งแต่การเชื้อเชิญ ชักชวน ให้ผู้นำ “มหาอำนาจคู่แข่ง” อย่างประธานาธิบดี “ปูติน” แห่งรัสเซีย และ “สี ทนได้”
    หรือ “สี จิ้นผิง” แห่งประเทศจีน มาร่วมมือกัน “ปรับลดค่าใช้จ่ายทางทหาร” ลงไปแบบครึ่ง-ต่อครึ่ง โดยผู้นำรัสเซียได้แสดงอาการตอบสนองอย่างไม่อิดเอื้อน-ลังเลใดๆ เอาเลยแม้แต่น้อย ขณะที่ผู้นำจีนยังคงเงียบๆ เฉยๆ แต่โดย “ภาพรวม” แล้ว ต้องถือเป็นการ “ริเริ่มในเชิงสร้างสรรค์” เอามากๆ ส่วนประการสอง...ก็คือความพยายามลดค่าใช้จ่ายที่รกรุงรังของสหรัฐฯ เอง ถึงขั้นปิดฉากองค์กรความช่วยเหลือต่างประเทศอย่าง “USAID” เอาดื้อๆ หรือคิดจะหั่นงบประมาณประเภทสุรุ่ยสุร่ายของประเทศ ลงไปไม่น้อยกว่า 2 ล้านล้านดอลลาร์ ตามเข็มมุ่งและเจตนาของนายใหญ่-นายใหม่ แห่งกระทรวง “DODGE” หรือ “The Department of Government Efficiency” อย่าง “นายElon Musk” ผู้ใกล้ชนิดสนิทสนมประธานาธิบดี อันแสดงให้เห็นถึงความพยายาม “รัดเข็มขัด” แบบชนิดแทบไม่ต้องสนใจว่าชาวอเมริกันรายใดจะหน้าเขียว-หน้าเหลือง กันไปถึงขั้นไหน...
    ตามมาด้วยประการที่สาม...ก็คือการคิดขาย “บัตรทอง” บัตรวีไอพีที่พร้อมจะมอบความเป็นพลเมืองสหรัฐฯ มอบกรีนการ์ด เป็นเครื่องตอบแทน ใบละถึง 5 ล้านดอลลาร์ หรือ 168 ล้านบาทเอาเลยถึงขั้นนั้น โดยหวังจะได้อะไรกลับมา จากไอเดียสุดบรรเจิดเช่นนี้ ตามคำพูด คำสัมภาษณ์ของ “ทรัมป์บ้า” ก็น่าจะถือเป็น “คำตอบ” ได้โดยชัดเจนโดยเฉพาะคำพูดที่ว่า... “บางทีเราอาจสามารถขายบัตรได้ราวๆ 1 ล้านใบ หรืออาจมากกว่านั้น และถึงขายได้แค่ 1 ล้านใบ เราจะได้เงินกลับมาถึง 5 ล้านล้านดอลลาร์ แต่ถ้าขายได้ 10 ล้านใบ ก็เท่ากับ 50 ล้านล้านดอลลาร์ แล้วเรามีหนี้ประเทศอยู่แค่ 35 ล้านล้านดอลลาร์ ดังนั้น...มันเป็นเรื่องเยี่ยมไหมล่ะ!!!” พูดง่ายๆ ว่า...เป็นความพยายามที่น่าเห็นใจเอามากๆ สำหรับการคิดทุเลา เบาบาง “ปัญหาหนี้สิน” ที่ล้นทะลักคอหลอยย์ประเทศมหาอำนาจอันดับหนึ่ง จนหาทางออก-ทางไปแทบไม่เจอ ไม่ว่าจะเป็นรัฐบาลพรรคไหนต่อพรรคไหนก็ตามที...
    ส่วนประการที่สี่...การคิดจะยึดแคนาดา ยึดเกาะกรีนแลนด์ หรือยึดคลองปานา แต่กลับหันไป “ถีบทิ้ง” ยุโรปซะดื้อๆ อันนี้...ยิ่งถือเป็นส่วนเสริม เพิ่มเติม ให้เห็นโดยชัดเจน ว่าในแต่ละประการดังที่ได้กล่าวไปแล้ว น่าจะสรุปได้ไม่ยากว่า ความคิดที่จะทำให้ “America Great Again” ของ “ทรัมป์บ้า” ก็น่าจะเป็นความ “Great” ความ “ยิ่งใหญ่” ภายใต้ “ขอบเขตที่ตัวเองต้องการ” ไม่ใช่ความยิ่งใหญ่ในแบบจ้าวโลก ประมุขโลก หรือผู้ที่สามารถควบคุมครอบครอง “โลกทั้งใบ” ได้แบบเดิมๆ อีกต่อไปแล้ว หรือเท่ากับเป็นการยอมรับ “ความจริง” และ “ข้อเท็จจริง” ว่าโลกยุคใหม่ หรือยุคนี้ ไม่ใช่เป็น “โลกขั้วอำนาจเดียว” เหมือนเดิมๆ อีกต่อไป อีกทั้งรัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ อย่าง “นายMarco Rubio” ก็ยังได้ออกมาตอกย้ำให้เห็นถึงการยอมรับความจริง-ข้อเท็จจริงในลักษณะที่ว่านี้ ดังที่เคยนำมาเล่าสู่กันฟังเมื่อช่วงไม่กี่สัปดาห์ที่ผ่านมา...
    และด้วยแนวคิด แนวทาง เช่นนี้นี่เอง...ที่ทำให้แม้แต่ผู้นำรัสเซีย อย่างประธานาธิบดี “ปูติน” ยังอดไม่ได้ที่จะกล่าวกับบรรดาเจ้าหน้าที่ระดับสูงแห่งหน่วยงาน “FSB” (The Russian Federal Security Service) ของรัสเซีย เมื่อช่วงวัน-สองวันที่ผ่านมา ว่าโดยแนวคิดของผู้นำอเมริกานั้น...ถือเป็นแนวคิดที่สอดคล้องกับการปฏิบัติ หรือแสดงออกถึงการยอมรับความจริง-ข้อเท็จจริง เป็นพื้นฐาน (pragmatism and a realistic vision of things) เอาเลยถึงขั้นนั้น ส่วนในแง่ของการปฏิบัติ จะบรรลุเป้าหมาย เป้าประสงค์ ได้มาก-น้อยขนาดไหน??? อันนี้...ก็ยังต้องถือเป็น “คำถาม” ตัวโตๆ อีกต่อไป??? เพราะด้วยความเป็นประเทศ “จักรวรรดินิยม” และมหาอำนาจอันดับหนึ่งอย่างอเมริกานั้น...โอกาสที่จะ “Great Again” หรือ “Dead Again” คงต้องยอมรับอย่างมิอาจปฏิเสธได้ว่าออกไป 50-50 หรือหนักไปทาง “เจ๊ง...กับ...เจ๊า” อะไรประมาณนั้น...
    คือแค่เฉพาะประการแรก ในเรื่อง “ปัญหาหนี้สิน” ก็ต้องเรียกว่า...น่าจะรากเขียว-รากเหลืองกันไปอีกนาน โอกาสที่จะปรับลดค่าใช้จ่ายต่างๆ พรวดเดียวได้ถึง 2 ล้านล้านดอลลาร์นั้นไม่น่าจะง่าย!!! บรรดาข้าราชการชาวอเมริกันที่ตกงาน ว่างงานทั้งหลาย ชักเริ่มออกมา “ลงถนน” กันเต็มบ้าน เต็มเมือง ส่วนจะขาย “บัตรทอง” ให้ได้ถึง 10 ล้านใบ ก็ใช่ว่า...มหาเศรษฐีทั่วทั้งโลกอยากจะเป็นพลเมืองอเมริกัน อยากได้กรีนการ์ด ชนิดมากมายมหาศาลถึงปานนั้นซะเมื่อไหร่??? และประการที่สองคือความพยายามที่จะรักษาความยิ่งใหญ่ของ “เงินดอลลาร์” ไม่ให้ตกต่ำ เสื่อมค่า ลงไปกว่านี้ ด้วยการอาศัย “ภาษี” เป็นเครื่องมือ ถึงขั้นพร้อมประกาศว่าจะขึ้นภาษีต่อประเทศใดก็ตาม โดยเฉพาะกลุ่มประเทศ “BRICS” ถ้าหากคิด “เทดอลลาร์” (De-Dollarization) หรือคิดแทนที่ดอลลาร์ด้วยเงินตราสกุลอื่นๆ จะต้องเจอกับการขึ้นภาษีสินค้าเข้าอเมริการะดับ 100-150 เปอร์เซ็นต์เอาเลยถึงขั้นนั้น แต่ก็นั่นแหละ...การอาศัยอัตราภาษีเป็นเครื่องมือ ก็ใช่ว่าจะก่อให้เกิดความเจ็บปวดรวดร้าว ต่อเฉพาะฝ่ายหนึ่ง ฝ่ายใด ฝ่ายเดียวก็หาไม่ บรรดาอเมริกันชนที่อยู่ในฐานะ “ผู้บริโภค” หรือแม้แต่อุตสาหกรรมต่างๆ ของอเมริกาที่จะต้องหาทางแข่งขันกับ “ผู้ผลิต” รายอื่นๆ ย่อมมีสิทธิ์อ้วกแตก-อ้วกแตนเพราะราคาสินค้าที่แพงขึ้นๆ หรือเพราะการขาดหาย ขาดแคลนของสินค้าประเภท “ห่วงโซ่อุปทาน” ทั้งหลาย จนอาจต้องเจ๊ง-กับ-เจ๊ง ไปเป็นรายๆ เอาเลยก็ไม่แน่!!!
    ยิ่งเป็นสินค้าจากประเทศกลุ่ม “BRICS” ที่มีสัดส่วนการค้าถึง 1 ใน 5 ของโลกทั้งโลก มี “GDP” ถึง 30 เปอร์เซ็นต์ของ “GDP” โลก เป็นตลาดสำหรับ “ผู้บริโภค” ถึง 47 เปอร์เซ็นต์ของประชากรโลก โอกาสที่จะเกิดการ “ยืมหอกสนองคืน” สร้างความเจ็บปวดรวดร้าว ให้กับบรรดาอเมริกันชนหรือประเทศอเมริกาทั้งประเทศ ก็ใช่ว่าจะเป็นไปได้เอาเลย และอาจด้วยเหตุนี้นี่เอง...ที่ทำให้หนึ่งในผู้นำประเทศกลุ่ม “BRICS”
    อย่างผู้นำบราซิล ประธานาธิบดี “Luiz Inacio Lula da Silva” ท่านเลยกล้าออกมาแสดงความเป็น “หมูไม่กลัวน้ำร้อน” ด้วยการประกาศว่า... “การคุกคามของผู้นำอเมริกาด้วยการใช้ภาษีเป็นเครื่องมือ ไม่อาจหยุดยั้งการหาทางเลือกอื่นๆ ในการค้าขาย-แลกเปลี่ยนระหว่างประเทศสมาชิกกลุ่ม BRICS ได้เลย” หรือด้วยเหตุเพราะความเสื่อมถอย เสื่อมค่าของเงินดอลลาร์อเมริกันในฐานะเงินทุนสำรองระหว่างประเทศลงไปถึง 40 เปอร์เซ็นต์ด้วยตัวของมันเอง ที่ทำให้บรรดาประเทศทั้งหลายเลยต้องพยายามหาทางออก-ทางไป แทนที่จะแขวนชะตากรรมในอนาคตไว้กับสกุลเงินตราชนิดนี้ แบบทื่อมะลื่อไปเรื่อยๆ จนทำให้การ “De-Dollarization” มันได้กลายเป็น “ข้อเท็จจริง” เป็นแนวโน้มของโลก ที่มิอาจฝืน หรือมิอาจขัดขืนได้อีกต่อไป นั่นแล...
    ประการที่สาม...ก็คือ “ปัญหาภายใน” ของสังคมอเมริกัน ที่ยากจะเยียวยากันได้ง่ายๆ ไม่ว่าความเสื่อมทางศีลธรรมที่สร้างความตกตะลึงให้กับคอลัมนิสต์ชาวอเมริกันเอง อย่าง “นายTyler Durden” แห่ง “ZeroHedge” ที่ต้องนำรายละเอียดเอามาแจกแจงไว้ถึง 11 เรื่อง ไม่ว่าเหตุการณ์ว่าด้วยการปล้น ฆ่า ข่มขืน ฯลฯ ชนิดตู้สินค้าบนเส้นทางรถไฟถูกปล้นเพิ่มขึ้นกว่าปี ค.ศ. 2023 ถึง 40 เปอร์เซ็นต์เอาเลยถึงขั้นนั้น ร้านอาหารดังๆ อย่าง “McDonald” ถึงกับต้องปิดตัวเองในย่านบรู๊คลินเพราะทนบรรดาวัยรุ่นอเมริกันไม่ไหว เด็กๆ ระดับอายุแค่ไม่กี่ปีถูกข่มขืนไม่เว้นแต่ละวัน ฯลฯ และนั่นยังไม่รวมไปถึงความรุนแรงจากการแบ่งขั้ว แบ่งข้าง ทางการเมือง ที่ทำให้กระทั่งประธานเสนาธิการทหารผิวสี อย่าง “พลเอกCharls Brown” ที่ถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้สนับสนุนพวกขบวนการผิวสี หรือพวก “Black Lives Matter” (BLM) ที่เคยก่อความรุนแรงหลังชาวอเมริกันผิวดำ อย่าง “George Floyd” ถูกตำรวจเอาเข่ากดคอจนเด๊ดสะมอเร่ย์ อิน เดอะ เท่งทึง ในช่วงปี ค.ศ. 2020 เลยต้องถูกปลดจากตำแหน่งซะดื้อๆ!!!
    และด้วยการแบ่งขั้วแบ่งข้างทางการเมืองในลักษณะเช่นนี้นี่เอง...ที่ทำให้เกิดความพยายาม “ลอบสังหารทรัมป์บ้า” มาแล้วถึง 3 ครั้ง 3 คราด้วยกัน ไม่ว่าตั้งแต่การ “ยิงเฉี่ยวหู” ขณะหาเสียงที่รัฐเพนซิลเวเนีย ช่วงเดือนก.ค.ปี 2024 แอบซุ่มอยู่สนามกอล์ฟของรีสอร์ต “Mar-a-Lago” ช่วงเดือนกันยาปีเดียวกัน แต่เผอิญเจ้าหน้าที่เห็นกระบอกปืนโผล่ออกมาจากพุ่มไม้เลยจับได้ไล่ทันก่อนลงมือ ส่วนครั้งที่สามถูกรวบตัวก่อนมุ่งตรงไปยังพื้นที่หาเสียงของ “ทรัมป์บ้า” ณ เมืองโคเรลลา รัฐแคลิฟอร์เนีย ขณะที่พกปืนลูกซองติดตัวไปด้วย อันนี้นี่แหละ...ที่เลยทำให้โอกาสที่จะเกิดการ “ลอบสังหารครั้งที่ 4” ก็ใช่ว่าจะเป็นไปไม่ได้เอาเลย โดยเฉพาะถ้าหากยังไม่คิดจะลดราวาศอก ในการเล่นงานพวก “Deep State” ต่อไปเรื่อยๆ โอกาสที่ “America Great Again” หรือจะ “Dead Again” เลยน่าจะเป็นไปแบบที่ว่าไว้แล้วนั่นแหละ ออกไปทาง 50-50 หรือถ้าหากไม่ “เจ๊ง” ก็คงได้แค่ “เจ๊า” เท่านั้นเอง ไม่ถึงกับยิ่งใหญ่ระดับคับโลก คับฟ้า ครอบโลก ครองโลก แบบเดิมๆ ได้อีกต่อไปแล้ว!!!
    “ทรัมป์บ้า” กับ...การลอบสังหารครั้งที่ 4!!! โดย: ทับทิม พญาไท เนื่องจากอะไรมิอะไรมันน่าจะเริ่ม “ตกผลึก” ลงมามั่งแล้ว หรือน่าจะพอ “เดาทาง” ผู้นำอเมริกาอย่าง “ทรัมป์บ้า” ได้บ้างแล้วว่า น่าจะออกไปในแนวไหน? ลูกไหน? ไม่ได้ถึงขั้น “บ้า...จนเดาไม่ออก” เปิดฉากสัปดาห์นี้...เลยคงต้องขออนุญาตทบทวน ใคร่ครวญ ถึงความเพียรพยายามที่จะทำให้ “America Great Again” ของประธานาธิบดีอเมริกันรายนี้ เอาไว้พอให้เห็นภาพคร่าวๆ ส่วนจะถูก-จะผิด จริง-ไม่จริง เชื่อ-ไม่เชื่อ ก็อย่าถึงกับได้ถือสา หาความ ถือเสียว่าเป็นการ “แลกเปลี่ยนมุมมอง” ไปตามสภาพก็แล้วกัน... ประการแรก...ตั้งแต่การเชื้อเชิญ ชักชวน ให้ผู้นำ “มหาอำนาจคู่แข่ง” อย่างประธานาธิบดี “ปูติน” แห่งรัสเซีย และ “สี ทนได้” หรือ “สี จิ้นผิง” แห่งประเทศจีน มาร่วมมือกัน “ปรับลดค่าใช้จ่ายทางทหาร” ลงไปแบบครึ่ง-ต่อครึ่ง โดยผู้นำรัสเซียได้แสดงอาการตอบสนองอย่างไม่อิดเอื้อน-ลังเลใดๆ เอาเลยแม้แต่น้อย ขณะที่ผู้นำจีนยังคงเงียบๆ เฉยๆ แต่โดย “ภาพรวม” แล้ว ต้องถือเป็นการ “ริเริ่มในเชิงสร้างสรรค์” เอามากๆ ส่วนประการสอง...ก็คือความพยายามลดค่าใช้จ่ายที่รกรุงรังของสหรัฐฯ เอง ถึงขั้นปิดฉากองค์กรความช่วยเหลือต่างประเทศอย่าง “USAID” เอาดื้อๆ หรือคิดจะหั่นงบประมาณประเภทสุรุ่ยสุร่ายของประเทศ ลงไปไม่น้อยกว่า 2 ล้านล้านดอลลาร์ ตามเข็มมุ่งและเจตนาของนายใหญ่-นายใหม่ แห่งกระทรวง “DODGE” หรือ “The Department of Government Efficiency” อย่าง “นายElon Musk” ผู้ใกล้ชนิดสนิทสนมประธานาธิบดี อันแสดงให้เห็นถึงความพยายาม “รัดเข็มขัด” แบบชนิดแทบไม่ต้องสนใจว่าชาวอเมริกันรายใดจะหน้าเขียว-หน้าเหลือง กันไปถึงขั้นไหน... ตามมาด้วยประการที่สาม...ก็คือการคิดขาย “บัตรทอง” บัตรวีไอพีที่พร้อมจะมอบความเป็นพลเมืองสหรัฐฯ มอบกรีนการ์ด เป็นเครื่องตอบแทน ใบละถึง 5 ล้านดอลลาร์ หรือ 168 ล้านบาทเอาเลยถึงขั้นนั้น โดยหวังจะได้อะไรกลับมา จากไอเดียสุดบรรเจิดเช่นนี้ ตามคำพูด คำสัมภาษณ์ของ “ทรัมป์บ้า” ก็น่าจะถือเป็น “คำตอบ” ได้โดยชัดเจนโดยเฉพาะคำพูดที่ว่า... “บางทีเราอาจสามารถขายบัตรได้ราวๆ 1 ล้านใบ หรืออาจมากกว่านั้น และถึงขายได้แค่ 1 ล้านใบ เราจะได้เงินกลับมาถึง 5 ล้านล้านดอลลาร์ แต่ถ้าขายได้ 10 ล้านใบ ก็เท่ากับ 50 ล้านล้านดอลลาร์ แล้วเรามีหนี้ประเทศอยู่แค่ 35 ล้านล้านดอลลาร์ ดังนั้น...มันเป็นเรื่องเยี่ยมไหมล่ะ!!!” พูดง่ายๆ ว่า...เป็นความพยายามที่น่าเห็นใจเอามากๆ สำหรับการคิดทุเลา เบาบาง “ปัญหาหนี้สิน” ที่ล้นทะลักคอหลอยย์ประเทศมหาอำนาจอันดับหนึ่ง จนหาทางออก-ทางไปแทบไม่เจอ ไม่ว่าจะเป็นรัฐบาลพรรคไหนต่อพรรคไหนก็ตามที... ส่วนประการที่สี่...การคิดจะยึดแคนาดา ยึดเกาะกรีนแลนด์ หรือยึดคลองปานา แต่กลับหันไป “ถีบทิ้ง” ยุโรปซะดื้อๆ อันนี้...ยิ่งถือเป็นส่วนเสริม เพิ่มเติม ให้เห็นโดยชัดเจน ว่าในแต่ละประการดังที่ได้กล่าวไปแล้ว น่าจะสรุปได้ไม่ยากว่า ความคิดที่จะทำให้ “America Great Again” ของ “ทรัมป์บ้า” ก็น่าจะเป็นความ “Great” ความ “ยิ่งใหญ่” ภายใต้ “ขอบเขตที่ตัวเองต้องการ” ไม่ใช่ความยิ่งใหญ่ในแบบจ้าวโลก ประมุขโลก หรือผู้ที่สามารถควบคุมครอบครอง “โลกทั้งใบ” ได้แบบเดิมๆ อีกต่อไปแล้ว หรือเท่ากับเป็นการยอมรับ “ความจริง” และ “ข้อเท็จจริง” ว่าโลกยุคใหม่ หรือยุคนี้ ไม่ใช่เป็น “โลกขั้วอำนาจเดียว” เหมือนเดิมๆ อีกต่อไป อีกทั้งรัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ อย่าง “นายMarco Rubio” ก็ยังได้ออกมาตอกย้ำให้เห็นถึงการยอมรับความจริง-ข้อเท็จจริงในลักษณะที่ว่านี้ ดังที่เคยนำมาเล่าสู่กันฟังเมื่อช่วงไม่กี่สัปดาห์ที่ผ่านมา... และด้วยแนวคิด แนวทาง เช่นนี้นี่เอง...ที่ทำให้แม้แต่ผู้นำรัสเซีย อย่างประธานาธิบดี “ปูติน” ยังอดไม่ได้ที่จะกล่าวกับบรรดาเจ้าหน้าที่ระดับสูงแห่งหน่วยงาน “FSB” (The Russian Federal Security Service) ของรัสเซีย เมื่อช่วงวัน-สองวันที่ผ่านมา ว่าโดยแนวคิดของผู้นำอเมริกานั้น...ถือเป็นแนวคิดที่สอดคล้องกับการปฏิบัติ หรือแสดงออกถึงการยอมรับความจริง-ข้อเท็จจริง เป็นพื้นฐาน (pragmatism and a realistic vision of things) เอาเลยถึงขั้นนั้น ส่วนในแง่ของการปฏิบัติ จะบรรลุเป้าหมาย เป้าประสงค์ ได้มาก-น้อยขนาดไหน??? อันนี้...ก็ยังต้องถือเป็น “คำถาม” ตัวโตๆ อีกต่อไป??? เพราะด้วยความเป็นประเทศ “จักรวรรดินิยม” และมหาอำนาจอันดับหนึ่งอย่างอเมริกานั้น...โอกาสที่จะ “Great Again” หรือ “Dead Again” คงต้องยอมรับอย่างมิอาจปฏิเสธได้ว่าออกไป 50-50 หรือหนักไปทาง “เจ๊ง...กับ...เจ๊า” อะไรประมาณนั้น... คือแค่เฉพาะประการแรก ในเรื่อง “ปัญหาหนี้สิน” ก็ต้องเรียกว่า...น่าจะรากเขียว-รากเหลืองกันไปอีกนาน โอกาสที่จะปรับลดค่าใช้จ่ายต่างๆ พรวดเดียวได้ถึง 2 ล้านล้านดอลลาร์นั้นไม่น่าจะง่าย!!! บรรดาข้าราชการชาวอเมริกันที่ตกงาน ว่างงานทั้งหลาย ชักเริ่มออกมา “ลงถนน” กันเต็มบ้าน เต็มเมือง ส่วนจะขาย “บัตรทอง” ให้ได้ถึง 10 ล้านใบ ก็ใช่ว่า...มหาเศรษฐีทั่วทั้งโลกอยากจะเป็นพลเมืองอเมริกัน อยากได้กรีนการ์ด ชนิดมากมายมหาศาลถึงปานนั้นซะเมื่อไหร่??? และประการที่สองคือความพยายามที่จะรักษาความยิ่งใหญ่ของ “เงินดอลลาร์” ไม่ให้ตกต่ำ เสื่อมค่า ลงไปกว่านี้ ด้วยการอาศัย “ภาษี” เป็นเครื่องมือ ถึงขั้นพร้อมประกาศว่าจะขึ้นภาษีต่อประเทศใดก็ตาม โดยเฉพาะกลุ่มประเทศ “BRICS” ถ้าหากคิด “เทดอลลาร์” (De-Dollarization) หรือคิดแทนที่ดอลลาร์ด้วยเงินตราสกุลอื่นๆ จะต้องเจอกับการขึ้นภาษีสินค้าเข้าอเมริการะดับ 100-150 เปอร์เซ็นต์เอาเลยถึงขั้นนั้น แต่ก็นั่นแหละ...การอาศัยอัตราภาษีเป็นเครื่องมือ ก็ใช่ว่าจะก่อให้เกิดความเจ็บปวดรวดร้าว ต่อเฉพาะฝ่ายหนึ่ง ฝ่ายใด ฝ่ายเดียวก็หาไม่ บรรดาอเมริกันชนที่อยู่ในฐานะ “ผู้บริโภค” หรือแม้แต่อุตสาหกรรมต่างๆ ของอเมริกาที่จะต้องหาทางแข่งขันกับ “ผู้ผลิต” รายอื่นๆ ย่อมมีสิทธิ์อ้วกแตก-อ้วกแตนเพราะราคาสินค้าที่แพงขึ้นๆ หรือเพราะการขาดหาย ขาดแคลนของสินค้าประเภท “ห่วงโซ่อุปทาน” ทั้งหลาย จนอาจต้องเจ๊ง-กับ-เจ๊ง ไปเป็นรายๆ เอาเลยก็ไม่แน่!!! ยิ่งเป็นสินค้าจากประเทศกลุ่ม “BRICS” ที่มีสัดส่วนการค้าถึง 1 ใน 5 ของโลกทั้งโลก มี “GDP” ถึง 30 เปอร์เซ็นต์ของ “GDP” โลก เป็นตลาดสำหรับ “ผู้บริโภค” ถึง 47 เปอร์เซ็นต์ของประชากรโลก โอกาสที่จะเกิดการ “ยืมหอกสนองคืน” สร้างความเจ็บปวดรวดร้าว ให้กับบรรดาอเมริกันชนหรือประเทศอเมริกาทั้งประเทศ ก็ใช่ว่าจะเป็นไปได้เอาเลย และอาจด้วยเหตุนี้นี่เอง...ที่ทำให้หนึ่งในผู้นำประเทศกลุ่ม “BRICS” อย่างผู้นำบราซิล ประธานาธิบดี “Luiz Inacio Lula da Silva” ท่านเลยกล้าออกมาแสดงความเป็น “หมูไม่กลัวน้ำร้อน” ด้วยการประกาศว่า... “การคุกคามของผู้นำอเมริกาด้วยการใช้ภาษีเป็นเครื่องมือ ไม่อาจหยุดยั้งการหาทางเลือกอื่นๆ ในการค้าขาย-แลกเปลี่ยนระหว่างประเทศสมาชิกกลุ่ม BRICS ได้เลย” หรือด้วยเหตุเพราะความเสื่อมถอย เสื่อมค่าของเงินดอลลาร์อเมริกันในฐานะเงินทุนสำรองระหว่างประเทศลงไปถึง 40 เปอร์เซ็นต์ด้วยตัวของมันเอง ที่ทำให้บรรดาประเทศทั้งหลายเลยต้องพยายามหาทางออก-ทางไป แทนที่จะแขวนชะตากรรมในอนาคตไว้กับสกุลเงินตราชนิดนี้ แบบทื่อมะลื่อไปเรื่อยๆ จนทำให้การ “De-Dollarization” มันได้กลายเป็น “ข้อเท็จจริง” เป็นแนวโน้มของโลก ที่มิอาจฝืน หรือมิอาจขัดขืนได้อีกต่อไป นั่นแล... ประการที่สาม...ก็คือ “ปัญหาภายใน” ของสังคมอเมริกัน ที่ยากจะเยียวยากันได้ง่ายๆ ไม่ว่าความเสื่อมทางศีลธรรมที่สร้างความตกตะลึงให้กับคอลัมนิสต์ชาวอเมริกันเอง อย่าง “นายTyler Durden” แห่ง “ZeroHedge” ที่ต้องนำรายละเอียดเอามาแจกแจงไว้ถึง 11 เรื่อง ไม่ว่าเหตุการณ์ว่าด้วยการปล้น ฆ่า ข่มขืน ฯลฯ ชนิดตู้สินค้าบนเส้นทางรถไฟถูกปล้นเพิ่มขึ้นกว่าปี ค.ศ. 2023 ถึง 40 เปอร์เซ็นต์เอาเลยถึงขั้นนั้น ร้านอาหารดังๆ อย่าง “McDonald” ถึงกับต้องปิดตัวเองในย่านบรู๊คลินเพราะทนบรรดาวัยรุ่นอเมริกันไม่ไหว เด็กๆ ระดับอายุแค่ไม่กี่ปีถูกข่มขืนไม่เว้นแต่ละวัน ฯลฯ และนั่นยังไม่รวมไปถึงความรุนแรงจากการแบ่งขั้ว แบ่งข้าง ทางการเมือง ที่ทำให้กระทั่งประธานเสนาธิการทหารผิวสี อย่าง “พลเอกCharls Brown” ที่ถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้สนับสนุนพวกขบวนการผิวสี หรือพวก “Black Lives Matter” (BLM) ที่เคยก่อความรุนแรงหลังชาวอเมริกันผิวดำ อย่าง “George Floyd” ถูกตำรวจเอาเข่ากดคอจนเด๊ดสะมอเร่ย์ อิน เดอะ เท่งทึง ในช่วงปี ค.ศ. 2020 เลยต้องถูกปลดจากตำแหน่งซะดื้อๆ!!! และด้วยการแบ่งขั้วแบ่งข้างทางการเมืองในลักษณะเช่นนี้นี่เอง...ที่ทำให้เกิดความพยายาม “ลอบสังหารทรัมป์บ้า” มาแล้วถึง 3 ครั้ง 3 คราด้วยกัน ไม่ว่าตั้งแต่การ “ยิงเฉี่ยวหู” ขณะหาเสียงที่รัฐเพนซิลเวเนีย ช่วงเดือนก.ค.ปี 2024 แอบซุ่มอยู่สนามกอล์ฟของรีสอร์ต “Mar-a-Lago” ช่วงเดือนกันยาปีเดียวกัน แต่เผอิญเจ้าหน้าที่เห็นกระบอกปืนโผล่ออกมาจากพุ่มไม้เลยจับได้ไล่ทันก่อนลงมือ ส่วนครั้งที่สามถูกรวบตัวก่อนมุ่งตรงไปยังพื้นที่หาเสียงของ “ทรัมป์บ้า” ณ เมืองโคเรลลา รัฐแคลิฟอร์เนีย ขณะที่พกปืนลูกซองติดตัวไปด้วย อันนี้นี่แหละ...ที่เลยทำให้โอกาสที่จะเกิดการ “ลอบสังหารครั้งที่ 4” ก็ใช่ว่าจะเป็นไปไม่ได้เอาเลย โดยเฉพาะถ้าหากยังไม่คิดจะลดราวาศอก ในการเล่นงานพวก “Deep State” ต่อไปเรื่อยๆ โอกาสที่ “America Great Again” หรือจะ “Dead Again” เลยน่าจะเป็นไปแบบที่ว่าไว้แล้วนั่นแหละ ออกไปทาง 50-50 หรือถ้าหากไม่ “เจ๊ง” ก็คงได้แค่ “เจ๊า” เท่านั้นเอง ไม่ถึงกับยิ่งใหญ่ระดับคับโลก คับฟ้า ครอบโลก ครองโลก แบบเดิมๆ ได้อีกต่อไปแล้ว!!!
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1110 มุมมอง 0 รีวิว
  • แพทองธารกล่าว "อย่าท้อใจ" GDP ไทยรั้งท้ายอาเซียน

    น.ส.แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี กล่าวในรายการโอกาสไทยกับนายกแพทองธาร ทางช่อง NBT เมื่อวันที่ 2 มี.ค. ในตอนหนึ่งกล่าวถึงตัวเลขทางเศรษฐกิจจากสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ซึ่งมีหลายฝ่ายกังวลว่าเศรษฐกิจไทยไม่โตและรั้งท้ายในกลุ่มอาเซียน เจ้าตัวชี้แจงว่าไตรมาส 4/2567 ตัวเลขจีดีพีเพิ่มขึ้น 3.2% รวมทั้งปีอยู่ที่ 2.5% เกิดจากนโยบายฟรีวีซ่า การลงทุนของภาครัฐ และการลงทุนของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ)

    น.ส.แพทองธาร กล่าวว่า 10 กว่าปีที่ผ่านมาไม่ค่อยมีการลงทุนในภาคอุตสาหกรรมใหม่ๆ หากไม่ทำให้ธุรกิจก้าวไปข้างหน้า จะตามคนอื่นไม่ทัน ทุกฝ่ายทั้งภาครัฐและเอกชนจะต้องดันจีดีพีขึ้นด้วยกัน ไม่ใช่เฉพาะฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ตอนที่รัฐบาลชุดนี้เข้ามาทำงาน เป็นนายกฯ เกือบ 6 เดือน ดูเรื่องงบประมาณค่อนข้างจำกัด งบส่วนใหญ่ที่รัฐได้มาจะถูกนำไปใช้จ่ายเรื่องงบประจำ พยายามรัดเข็มขัดให้ดี ไม่อยากให้มีการจ่ายเพิ่มงบประจำ ขออย่าเสียกำลังใจในเรื่องจีดีพี

    "จีดีพีเราโต 2.5% แปลว่าเราโตขึ้นจากปีที่แล้ว 2% ขยับขึ้นและคิดว่าภายใต้การนำของรัฐบาลร่วมกับเอกชนร่วมมือกัน จีดีพีมีโอกาสโตขึ้นสูงมากๆ อย่าเพิ่งท้อใจ นี่เพิ่งต้นปี เราต้องร่วมมือกันทุกฝ่าย"

    น.ส.แพทองธารยืนยันว่า ตนต้องอยู่ครบเทอมเพื่อผลักดันการลงทุน ยืนยันว่าทุกจังหวัดรัฐบาลต้องดูแลอยู่แล้ว เพิ่งเริ่มต้นรัฐบาลผลักดันต่อแน่นอน เพื่อให้จีดีพีของประเทศเพิ่มมากขึ้น แปลว่าเงินในกระเป๋าของประชาชนเพิ่มขึ้น ให้ประเทศอื่นได้ดูด้วยว่าประเทศไทยมีคุณภาพ มีศักยภาพขึ้นแล้ว จีดีพีช่วงนี้ที่ไม่ได้ขึ้นมานานก็ขึ้น กำลังค่อยๆ ไปต่อ ตนอยากทำให้ขึ้นแบบก้าวกระโดด คิดว่าเป็นไปได้ รัฐบาลอยากให้พี่น้องทุกคนร่ำรวย จะได้จับจ่ายใช้สอยให้เกิดประโยชน์กับประเทศ

    “ก็ขอกำลังใจเยอะๆ บางทีก็มีท้อบ้าง แต่ว่าไม่ท้อนานแน่นอน สู้ ประเทศยังต้องการพัฒนา การผลักดันอีกเยอะ คนยังต้องการการสนับสนุนอีกเยอะ ดิฉันเองวันนี้ที่มีโอกาสเป็นนายกฯ ทำหน้าที่เต็มที่ที่สุด เพราะฉะนั้นปีแห่งโอกาส ทุกคนต้องมีความหวังและต้องได้รับโอกาสแน่นอน”

    ก่อนหน้านี้ นายดนุชา พิชยนันท์ เลขาธิการสภาพัฒน์ คาดการณ์ว่าปี 2568 จีดีพีโต 2.8% รวมมาตรการแจกเงิน 10,000 บาทแล้ว แม้เศรษฐกิจจะฟื้นตัวแต่ยังต่ำกว่าประเทศเพื่อนบ้าน เช่น เวียดนาม (6.4%) ฟิลิปปินส์ (6%) และกัมพูชา (6%) แต่ยังมีความเสี่ยงจากมาตรการกีดกันทางการค้าโลก หากรัฐบาลต้องการให้เศรษฐกิจโตถึง 3-3.5% ต้องกระตุ้นการลงทุนภาคเอกชนและเร่งกระจายเงินลงทุนภาครัฐเพิ่มเติม

    #Newskit
    แพทองธารกล่าว "อย่าท้อใจ" GDP ไทยรั้งท้ายอาเซียน น.ส.แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี กล่าวในรายการโอกาสไทยกับนายกแพทองธาร ทางช่อง NBT เมื่อวันที่ 2 มี.ค. ในตอนหนึ่งกล่าวถึงตัวเลขทางเศรษฐกิจจากสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ซึ่งมีหลายฝ่ายกังวลว่าเศรษฐกิจไทยไม่โตและรั้งท้ายในกลุ่มอาเซียน เจ้าตัวชี้แจงว่าไตรมาส 4/2567 ตัวเลขจีดีพีเพิ่มขึ้น 3.2% รวมทั้งปีอยู่ที่ 2.5% เกิดจากนโยบายฟรีวีซ่า การลงทุนของภาครัฐ และการลงทุนของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) น.ส.แพทองธาร กล่าวว่า 10 กว่าปีที่ผ่านมาไม่ค่อยมีการลงทุนในภาคอุตสาหกรรมใหม่ๆ หากไม่ทำให้ธุรกิจก้าวไปข้างหน้า จะตามคนอื่นไม่ทัน ทุกฝ่ายทั้งภาครัฐและเอกชนจะต้องดันจีดีพีขึ้นด้วยกัน ไม่ใช่เฉพาะฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ตอนที่รัฐบาลชุดนี้เข้ามาทำงาน เป็นนายกฯ เกือบ 6 เดือน ดูเรื่องงบประมาณค่อนข้างจำกัด งบส่วนใหญ่ที่รัฐได้มาจะถูกนำไปใช้จ่ายเรื่องงบประจำ พยายามรัดเข็มขัดให้ดี ไม่อยากให้มีการจ่ายเพิ่มงบประจำ ขออย่าเสียกำลังใจในเรื่องจีดีพี "จีดีพีเราโต 2.5% แปลว่าเราโตขึ้นจากปีที่แล้ว 2% ขยับขึ้นและคิดว่าภายใต้การนำของรัฐบาลร่วมกับเอกชนร่วมมือกัน จีดีพีมีโอกาสโตขึ้นสูงมากๆ อย่าเพิ่งท้อใจ นี่เพิ่งต้นปี เราต้องร่วมมือกันทุกฝ่าย" น.ส.แพทองธารยืนยันว่า ตนต้องอยู่ครบเทอมเพื่อผลักดันการลงทุน ยืนยันว่าทุกจังหวัดรัฐบาลต้องดูแลอยู่แล้ว เพิ่งเริ่มต้นรัฐบาลผลักดันต่อแน่นอน เพื่อให้จีดีพีของประเทศเพิ่มมากขึ้น แปลว่าเงินในกระเป๋าของประชาชนเพิ่มขึ้น ให้ประเทศอื่นได้ดูด้วยว่าประเทศไทยมีคุณภาพ มีศักยภาพขึ้นแล้ว จีดีพีช่วงนี้ที่ไม่ได้ขึ้นมานานก็ขึ้น กำลังค่อยๆ ไปต่อ ตนอยากทำให้ขึ้นแบบก้าวกระโดด คิดว่าเป็นไปได้ รัฐบาลอยากให้พี่น้องทุกคนร่ำรวย จะได้จับจ่ายใช้สอยให้เกิดประโยชน์กับประเทศ “ก็ขอกำลังใจเยอะๆ บางทีก็มีท้อบ้าง แต่ว่าไม่ท้อนานแน่นอน สู้ ประเทศยังต้องการพัฒนา การผลักดันอีกเยอะ คนยังต้องการการสนับสนุนอีกเยอะ ดิฉันเองวันนี้ที่มีโอกาสเป็นนายกฯ ทำหน้าที่เต็มที่ที่สุด เพราะฉะนั้นปีแห่งโอกาส ทุกคนต้องมีความหวังและต้องได้รับโอกาสแน่นอน” ก่อนหน้านี้ นายดนุชา พิชยนันท์ เลขาธิการสภาพัฒน์ คาดการณ์ว่าปี 2568 จีดีพีโต 2.8% รวมมาตรการแจกเงิน 10,000 บาทแล้ว แม้เศรษฐกิจจะฟื้นตัวแต่ยังต่ำกว่าประเทศเพื่อนบ้าน เช่น เวียดนาม (6.4%) ฟิลิปปินส์ (6%) และกัมพูชา (6%) แต่ยังมีความเสี่ยงจากมาตรการกีดกันทางการค้าโลก หากรัฐบาลต้องการให้เศรษฐกิจโตถึง 3-3.5% ต้องกระตุ้นการลงทุนภาคเอกชนและเร่งกระจายเงินลงทุนภาครัฐเพิ่มเติม #Newskit
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 621 มุมมอง 0 รีวิว
  • รายงานข่าวไฟแนนซ์เชียลไทม์ระบุว่า ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์แห่งสหรัฐฯ ประกาศยกเลิก “ข้อตกลงสัมปทาน” ในภาคพลังงานของเวเนซุเอลา ซึ่งอนุญาตให้บริษัทเชฟรอนสามารถสูบและส่งออกน้ำมันในประเทศอเมริกาใต้ที่ถูกคว่ำบาตรได้ ทรัมป์ได้โพสต์บนแพลตฟอร์ม Truth Social ของเขา ทรัมป์กล่าวเมื่อวันพุธที่26 กุมภาพันธ์ว่า เขากำลัง “ยกเลิกข้อตกลงสัมปทาน” ที่รัฐบาลของโจ ไบเดนให้ไว้แก่บริษัทเชฟรอนเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2022ว่า “เราขอยกเลิกข้อตกลงที่โจ ไบเดน ให้กับนิโคลัส มาดูโร แห่งเวเนซุเอลา ที่เกี่ยวกับข้อตกลงธุรกรรมน้ำมัน และยังเกี่ยวข้องกับเงื่อนไขการเลือกตั้งภายในเวเนซุเอลาที่ระบอบมาดูโรไม่ปฏิบัติตาม” ทรัมป์เขียน มาตรการดังกล่าวเป็นความพยายามที่จะโน้มน้าวให้มาดูโร ประธานาธิบดีเผด็จการของเวเนซุเอลา จัดการเลือกตั้งประธานาธิบดีที่เสรีและยุติธรรม แม้ว่าทรัมป์จะไม่ได้เอ่ยชื่อเชฟรอนโดยตรง แต่เชฟรอนก็เป็นบริษัทเดียวที่ได้รับใบอนุญาตให้ดำเนินการร่วมกับบริษัทเปโตรเลออส เดอ เวเนซุเอลา (PDVSA) ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจของเวเนซุเอลาในสัมปทานเดือนพฤศจิกายน 2022 ใบอนุญาตอื่นๆ ได้ถูกมอบให้กับบริษัทเรปโซล เอนี่ และเมาเรล แอนด์ โพรม เชฟรอนกล่าวว่ากำลังพิจารณาถึงผลกระทบจากการตัดสินใจครั้งนี้ และเสริมว่าบริษัทดำเนินธุรกิจในเวเนซุเอลาโดยปฏิบัติตามกฎหมายและกรอบการคว่ำบาตรที่รัฐบาลสหรัฐฯ กำหนดไว้ นักวิเคราะห์กล่าวว่าการสูญเสียใบอนุญาตสัมปทานของเชฟรอนจะส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมน้ำมันของเวเนซุเอลา “การสูญเสียสารเจือจางที่เชฟรอนจัดหาให้เป็นปัญหาใหญ่ ถือเป็นเส้นเลือดใหญ่สำหรับการผลิตของพวกเขา” ชไรเนอร์ ปาร์กเกอร์ นักวิเคราะห์จาก Rystad Energy ซึ่งเป็นบริษัทที่ปรึกษา กล่าว สารเจือจางเป็นสารที่ผู้ผลิตน้ำมันใช้ในการเจือจางน้ำมันดิบหนักประเภทหนึ่งที่ผลิตในเวเนซุเอลา และมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการสกัดและขนส่ง นายพาร์คเกอร์กล่าวว่า การสูญเสียสารเจือจางอาจทำให้การผลิตน้ำมันของเวเนซุเอลาลดลงต่ำกว่า 500,000 บาร์เรลต่อวัน จากเดิมที่อยู่ที่ 900,000 บาร์เรลต่อวันเมื่อปีที่แล้ว แม้จะมีปริมาณสำรองน้ำมันที่พิสูจน์แล้วมากที่สุดในโลกและเป็นสมาชิกผู้ก่อตั้งโอเปก แต่การทุจริต การบริหารจัดการที่ผิดพลาด และการคว่ำบาตรที่นำโดยสหรัฐฯ ทำให้การผลิตน้ำมันดิบของประเทศลดลงจากประมาณ 2.5 ล้านบาร์เรลต่อวันในปี 2016 เหลือ 400,000 บาร์เรลต่อวันในปี 2020 ซึ่งฟื้นตัวเมื่อปีที่แล้ว โดยส่วนหนึ่งเป็นเพราะการร่วมทุนของเชฟรอน อัสดรูบัล โอลิเวโรส กรรมการบริษัทที่ปรึกษา Ecoanalitica ซึ่งตั้งอยู่ในเมืองการากัส คาดการณ์ว่าการยกเลิกใบอนุญาตของเชฟรอนอาจทำให้การเติบโตของ GDP หดตัวลงจาก 3.2% เหลือ 2% ในปีนี้ “เห็นได้ชัดว่าการยกเลิกใบอนุญาตมีผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญ ไม่เพียงแต่ต่อการเติบโตเท่านั้น แต่ยังรวมถึงแนวโน้มของกระแสเงินตราต่างประเทศ อัตราเงินเฟ้อ และการลดค่าเงินด้วย” โอลิเวโรสกล่าว มาดูโรเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีเป็นสมัยที่สามในเดือนมกราคม แม้จะมีหลักฐานมากมายเกี่ยวกับการทุจริตในการเลือกตั้งเมื่อเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา คู่แข่งหลักของเขาในการลงคะแนนเสียงครั้งนั้น คือ เอ็ดมันโด กอนซาเลซ ซึ่งตอนนี้ลี้ภัยอยู่ต่างประเทศ ในขณะที่ มาเรีย คอรินา มาชาโด ผู้นำฝ่ายค้านที่เป็นที่นิยมมากที่สุด ซึ่งถูกห้ามไม่ให้ลงสมัคร กำลังหลบซ่อนตัวอยู่ เดลซี โรดริเกซ รองประธานาธิบดีเวเนซุเอลา กล่าวว่าการตัดสินใจยกเลิกใบอนุญาตของเชฟรอนนั้น “สร้างความเสียหายและอธิบายไม่ได้” เชฟรอนได้ล็อบบี้อย่างหนักเพื่อปกป้องสัมปทานของสหรัฐฯ “โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเวเนซุเอลา สิ่งที่คุณเห็นเมื่อประเทศต่างๆ จากตะวันตกออกจากประเทศ คุณจะเห็นบริษัทจากจีนและรัสเซียเพิ่มการมีอยู่ของตนเองเป็นผล” ไมค์ เวิร์ธ ซีอีโอ กล่าวกับไฟแนนเชียล ไทมส์ในการสัมภาษณ์เมื่อเดือนที่แล้ว ในช่วงปลายเดือนมกราคม ริชาร์ด เกรเนลล์ ผู้แทนพิเศษของทรัมป์ที่ดูแลวิกฤตการณ์ ได้เดินทางไปยังกรุงการากัส ซึ่งเขาได้พบกับมาดูโร และประกาศข้อตกลงให้เวเนซุเอลารับผู้ถูกเนรเทศออกจากประเทศ ชาวเวเนซุเอลามากกว่า 7 ล้านคนหลบหนีความยากลำบากทางเศรษฐกิจและการปราบปรามในประเทศในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ขณะที่กลุ่มอาชญากร Tren de Aragua ก็ได้ขยายตัวไปทั่วโลก รวมถึงในสหรัฐอเมริกาด้วย
    รายงานข่าวไฟแนนซ์เชียลไทม์ระบุว่า ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์แห่งสหรัฐฯ ประกาศยกเลิก “ข้อตกลงสัมปทาน” ในภาคพลังงานของเวเนซุเอลา ซึ่งอนุญาตให้บริษัทเชฟรอนสามารถสูบและส่งออกน้ำมันในประเทศอเมริกาใต้ที่ถูกคว่ำบาตรได้ ทรัมป์ได้โพสต์บนแพลตฟอร์ม Truth Social ของเขา ทรัมป์กล่าวเมื่อวันพุธที่26 กุมภาพันธ์ว่า เขากำลัง “ยกเลิกข้อตกลงสัมปทาน” ที่รัฐบาลของโจ ไบเดนให้ไว้แก่บริษัทเชฟรอนเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2022ว่า “เราขอยกเลิกข้อตกลงที่โจ ไบเดน ให้กับนิโคลัส มาดูโร แห่งเวเนซุเอลา ที่เกี่ยวกับข้อตกลงธุรกรรมน้ำมัน และยังเกี่ยวข้องกับเงื่อนไขการเลือกตั้งภายในเวเนซุเอลาที่ระบอบมาดูโรไม่ปฏิบัติตาม” ทรัมป์เขียน มาตรการดังกล่าวเป็นความพยายามที่จะโน้มน้าวให้มาดูโร ประธานาธิบดีเผด็จการของเวเนซุเอลา จัดการเลือกตั้งประธานาธิบดีที่เสรีและยุติธรรม แม้ว่าทรัมป์จะไม่ได้เอ่ยชื่อเชฟรอนโดยตรง แต่เชฟรอนก็เป็นบริษัทเดียวที่ได้รับใบอนุญาตให้ดำเนินการร่วมกับบริษัทเปโตรเลออส เดอ เวเนซุเอลา (PDVSA) ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจของเวเนซุเอลาในสัมปทานเดือนพฤศจิกายน 2022 ใบอนุญาตอื่นๆ ได้ถูกมอบให้กับบริษัทเรปโซล เอนี่ และเมาเรล แอนด์ โพรม เชฟรอนกล่าวว่ากำลังพิจารณาถึงผลกระทบจากการตัดสินใจครั้งนี้ และเสริมว่าบริษัทดำเนินธุรกิจในเวเนซุเอลาโดยปฏิบัติตามกฎหมายและกรอบการคว่ำบาตรที่รัฐบาลสหรัฐฯ กำหนดไว้ นักวิเคราะห์กล่าวว่าการสูญเสียใบอนุญาตสัมปทานของเชฟรอนจะส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมน้ำมันของเวเนซุเอลา “การสูญเสียสารเจือจางที่เชฟรอนจัดหาให้เป็นปัญหาใหญ่ ถือเป็นเส้นเลือดใหญ่สำหรับการผลิตของพวกเขา” ชไรเนอร์ ปาร์กเกอร์ นักวิเคราะห์จาก Rystad Energy ซึ่งเป็นบริษัทที่ปรึกษา กล่าว สารเจือจางเป็นสารที่ผู้ผลิตน้ำมันใช้ในการเจือจางน้ำมันดิบหนักประเภทหนึ่งที่ผลิตในเวเนซุเอลา และมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการสกัดและขนส่ง นายพาร์คเกอร์กล่าวว่า การสูญเสียสารเจือจางอาจทำให้การผลิตน้ำมันของเวเนซุเอลาลดลงต่ำกว่า 500,000 บาร์เรลต่อวัน จากเดิมที่อยู่ที่ 900,000 บาร์เรลต่อวันเมื่อปีที่แล้ว แม้จะมีปริมาณสำรองน้ำมันที่พิสูจน์แล้วมากที่สุดในโลกและเป็นสมาชิกผู้ก่อตั้งโอเปก แต่การทุจริต การบริหารจัดการที่ผิดพลาด และการคว่ำบาตรที่นำโดยสหรัฐฯ ทำให้การผลิตน้ำมันดิบของประเทศลดลงจากประมาณ 2.5 ล้านบาร์เรลต่อวันในปี 2016 เหลือ 400,000 บาร์เรลต่อวันในปี 2020 ซึ่งฟื้นตัวเมื่อปีที่แล้ว โดยส่วนหนึ่งเป็นเพราะการร่วมทุนของเชฟรอน อัสดรูบัล โอลิเวโรส กรรมการบริษัทที่ปรึกษา Ecoanalitica ซึ่งตั้งอยู่ในเมืองการากัส คาดการณ์ว่าการยกเลิกใบอนุญาตของเชฟรอนอาจทำให้การเติบโตของ GDP หดตัวลงจาก 3.2% เหลือ 2% ในปีนี้ “เห็นได้ชัดว่าการยกเลิกใบอนุญาตมีผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญ ไม่เพียงแต่ต่อการเติบโตเท่านั้น แต่ยังรวมถึงแนวโน้มของกระแสเงินตราต่างประเทศ อัตราเงินเฟ้อ และการลดค่าเงินด้วย” โอลิเวโรสกล่าว มาดูโรเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีเป็นสมัยที่สามในเดือนมกราคม แม้จะมีหลักฐานมากมายเกี่ยวกับการทุจริตในการเลือกตั้งเมื่อเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา คู่แข่งหลักของเขาในการลงคะแนนเสียงครั้งนั้น คือ เอ็ดมันโด กอนซาเลซ ซึ่งตอนนี้ลี้ภัยอยู่ต่างประเทศ ในขณะที่ มาเรีย คอรินา มาชาโด ผู้นำฝ่ายค้านที่เป็นที่นิยมมากที่สุด ซึ่งถูกห้ามไม่ให้ลงสมัคร กำลังหลบซ่อนตัวอยู่ เดลซี โรดริเกซ รองประธานาธิบดีเวเนซุเอลา กล่าวว่าการตัดสินใจยกเลิกใบอนุญาตของเชฟรอนนั้น “สร้างความเสียหายและอธิบายไม่ได้” เชฟรอนได้ล็อบบี้อย่างหนักเพื่อปกป้องสัมปทานของสหรัฐฯ “โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเวเนซุเอลา สิ่งที่คุณเห็นเมื่อประเทศต่างๆ จากตะวันตกออกจากประเทศ คุณจะเห็นบริษัทจากจีนและรัสเซียเพิ่มการมีอยู่ของตนเองเป็นผล” ไมค์ เวิร์ธ ซีอีโอ กล่าวกับไฟแนนเชียล ไทมส์ในการสัมภาษณ์เมื่อเดือนที่แล้ว ในช่วงปลายเดือนมกราคม ริชาร์ด เกรเนลล์ ผู้แทนพิเศษของทรัมป์ที่ดูแลวิกฤตการณ์ ได้เดินทางไปยังกรุงการากัส ซึ่งเขาได้พบกับมาดูโร และประกาศข้อตกลงให้เวเนซุเอลารับผู้ถูกเนรเทศออกจากประเทศ ชาวเวเนซุเอลามากกว่า 7 ล้านคนหลบหนีความยากลำบากทางเศรษฐกิจและการปราบปรามในประเทศในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ขณะที่กลุ่มอาชญากร Tren de Aragua ก็ได้ขยายตัวไปทั่วโลก รวมถึงในสหรัฐอเมริกาด้วย
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 546 มุมมอง 0 รีวิว
  • ถ้านายกชื่อ "ประยุทธ" เศรษฐาจะพูดแบบนี้มั้ย

    นายเศรษฐา ทวีสิน อดีตนายกรัฐมนตรี ให้สัมภาษณ์ในรายการกรรมกรข่าวคุยนอกจอ บอกขออนุญาตให้คำว่า “รัฐบาลเพื่อไทยสร้างหนี้อีกแล้ว” เป็นวาทกรรม เพราะหลายประเทศที่พัฒนาแล้ว เช่นอังกฤษ ญี่ปุ่น แคนาดา สหรัฐฯ ซึ่งหนี้สาธารณะต่อจีดีพี เกิน 100 % ก็ไม่เห็นเป็นปัญหาเลย ขณะที่ไทยไม่เกิน 70 % เมื่อ

    เมื่อถูกถามว่า เดี๋ยวก็ยังมีคนมาบอกว่าลูกหลานต้องมาใช้หนี้ นายเศรษฐา เผยว่า ทุกคนก็ต้องใช้หนี้อยู่ดี แต่มันสำคัญว่าเอาหนี้ไปทำอะไรมากกว่า มันเป็นหน้าที่ของรัฐบาลที่ต้องกู้มาเพื่อให้ประชาชนมีชีวิตที่ดีขึ้น ในฐานะที่เป็นนักการเมืองการดูแลพี่น้องประชาชนเป็นเรื่องสำคัญ การกู้เงิน เป็นหน้าที่ของรัฐบาลที่ต้องกู้ เพื่อให้ชีวิตประชาชนดีขึ้น แต่หากมีการกู้มากกว่า 70-80 % เป็นหน้าที่ที่ต้องอธิบายว่าเอาไปทำอะไร ส่งผลต่อ GDP อย่างไร และจะทำให้หนี้สาธารณะต่อ GDP ลดลงมาเมื่อไหร่ ต้องมีรายละเอียดชัด
    ถ้านายกชื่อ "ประยุทธ" เศรษฐาจะพูดแบบนี้มั้ย นายเศรษฐา ทวีสิน อดีตนายกรัฐมนตรี ให้สัมภาษณ์ในรายการกรรมกรข่าวคุยนอกจอ บอกขออนุญาตให้คำว่า “รัฐบาลเพื่อไทยสร้างหนี้อีกแล้ว” เป็นวาทกรรม เพราะหลายประเทศที่พัฒนาแล้ว เช่นอังกฤษ ญี่ปุ่น แคนาดา สหรัฐฯ ซึ่งหนี้สาธารณะต่อจีดีพี เกิน 100 % ก็ไม่เห็นเป็นปัญหาเลย ขณะที่ไทยไม่เกิน 70 % เมื่อ เมื่อถูกถามว่า เดี๋ยวก็ยังมีคนมาบอกว่าลูกหลานต้องมาใช้หนี้ นายเศรษฐา เผยว่า ทุกคนก็ต้องใช้หนี้อยู่ดี แต่มันสำคัญว่าเอาหนี้ไปทำอะไรมากกว่า มันเป็นหน้าที่ของรัฐบาลที่ต้องกู้มาเพื่อให้ประชาชนมีชีวิตที่ดีขึ้น ในฐานะที่เป็นนักการเมืองการดูแลพี่น้องประชาชนเป็นเรื่องสำคัญ การกู้เงิน เป็นหน้าที่ของรัฐบาลที่ต้องกู้ เพื่อให้ชีวิตประชาชนดีขึ้น แต่หากมีการกู้มากกว่า 70-80 % เป็นหน้าที่ที่ต้องอธิบายว่าเอาไปทำอะไร ส่งผลต่อ GDP อย่างไร และจะทำให้หนี้สาธารณะต่อ GDP ลดลงมาเมื่อไหร่ ต้องมีรายละเอียดชัด
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 647 มุมมอง 0 รีวิว
  • ไม่ใช่เรื่องใหม่ที่สหรัฐใช้คำพูดสวยหรู เกี่ยวกับความต้องการกลับมาติดต่อทางการทูตกับรัสเซียอีกครั้ง นี่อาจจะเป็นเพียงแผนการซื้อเวลาเท่านั้น!

    ฮิลลารี คลินตัน อดีตรัฐมนตรีต่างประเทศของสหรัฐฯ ในรัฐบาลประธานาธิบดีบารัก โอบามา ก็เคยใช้คำพูดสวยหรูเช่นเดียวกับที่ มาร์โก รูบิโอ รัฐมนตรีต่างประเทศ คนปัจจุบันของสหรัฐเพิ่งใช้ไปเมื่อวานนี้กับ ลาฟรอฟ รัฐมนตรีต่างประเทศรัสเซียคนเดิม

    เป็นที่ทราบกันดีว่า สหรัฐไม่มีอาวุธ หรือกระสุนจะส่งให้ยูเครน เห็นได้จากอาวุธที่รัสเซียยึดได้ จะเป็นอาวุธที่ผลิตใหม่ทั้งสิ้นในช่วงหลัง ไม่ได้ใช้จากคลังอาวุธเหมือนช่วงต้นสงคราม

    นอกจากนั้นยังมีการกดดันให้ยุโรปขยายเงินทุนเกี่ยวการด้านการป้องกันประเทศเพิ่มขึ้นเป็น 5% ของ GDP จากเดิม 2% บ่งบอกว่าสหรัฐเข้าตาจนแล้วจริงๆ

    เบื้องหลัง สหรัฐอาจกำลังพยายามเร่งอย่างสุดความสามารถที่จะผลิตอาวุธใหม่อีกครั้ง เนื่องจากต้องการเปิดฉากสงครามตัวแทนกับศัตรู เช่น จีน และอิหร่าน หรือแม้แต่รัสเซียเองก็ตาม
    ไม่ใช่เรื่องใหม่ที่สหรัฐใช้คำพูดสวยหรู เกี่ยวกับความต้องการกลับมาติดต่อทางการทูตกับรัสเซียอีกครั้ง นี่อาจจะเป็นเพียงแผนการซื้อเวลาเท่านั้น! ฮิลลารี คลินตัน อดีตรัฐมนตรีต่างประเทศของสหรัฐฯ ในรัฐบาลประธานาธิบดีบารัก โอบามา ก็เคยใช้คำพูดสวยหรูเช่นเดียวกับที่ มาร์โก รูบิโอ รัฐมนตรีต่างประเทศ คนปัจจุบันของสหรัฐเพิ่งใช้ไปเมื่อวานนี้กับ ลาฟรอฟ รัฐมนตรีต่างประเทศรัสเซียคนเดิม เป็นที่ทราบกันดีว่า สหรัฐไม่มีอาวุธ หรือกระสุนจะส่งให้ยูเครน เห็นได้จากอาวุธที่รัสเซียยึดได้ จะเป็นอาวุธที่ผลิตใหม่ทั้งสิ้นในช่วงหลัง ไม่ได้ใช้จากคลังอาวุธเหมือนช่วงต้นสงคราม นอกจากนั้นยังมีการกดดันให้ยุโรปขยายเงินทุนเกี่ยวการด้านการป้องกันประเทศเพิ่มขึ้นเป็น 5% ของ GDP จากเดิม 2% บ่งบอกว่าสหรัฐเข้าตาจนแล้วจริงๆ เบื้องหลัง สหรัฐอาจกำลังพยายามเร่งอย่างสุดความสามารถที่จะผลิตอาวุธใหม่อีกครั้ง เนื่องจากต้องการเปิดฉากสงครามตัวแทนกับศัตรู เช่น จีน และอิหร่าน หรือแม้แต่รัสเซียเองก็ตาม
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 373 มุมมอง 0 รีวิว
  • ไทยมี ‘เศรษฐกิจนอกระบบ’ ใหญ่เป็นอันดับ 8 ของโลก คิดเป็นราว 45% ของ GDP ไทย: รู้หรือไม่ว่า ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่มี ‘เศรษฐกิจนอกระบบ’ ใหญ่เป็นอันดับต้นๆ ของโลก เมื่อเปรียบเทียบสัดส่วนเศรษฐกิจกับ GDP ประเทศ ข้อมูลจาก KKP Research บอกว่า ‘เศรษฐกิจนอกระบบ’ ของไทยมีขนาดใหญ่ประมาณ 45% ของ GDP ประเทศ ใหญ่เป็นอันดับ 8 ของโลก

    ‘เศรษฐกิจนอกระบบ’ คือ กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ไม่ได้รับการจดทะเบียนอย่างถูกต้องตามกฎหมาย รวมไปถึงกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ผิดกฎหมายด้วย ส่วนใหญ่มักไม่ได้มีการเสียภาษี ไม่ต้องมีการบันทึกบัญชี ไม่จำเป็นต้องปฏิบัติตามกฎหมายแรงงาน ทำให้แรงงานมักไม่ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายและไม่สามารถเข้าถึงสวัสดิการต่างๆ ได้ด้วย

    จริงๆ แล้ว ‘เศรษฐกิจนอกระบบ’ เป็นส่วนหนึ่งของระบบเศรษฐกิจ และมีความสำคัญกับประเทศกำลังพัฒนา เพราะสามารถช่วยสร้างงาน-สร้างรายได้ ช่วยให้การเริ่มธุรกิจง่ายและยืดหยุ่นกว่า ถ้าพูดถึงเศรษฐกิจนอกระบบใกล้ตัวก็อย่างเช่นการทำเกษตร หาบเร่ แผงลอย ไปจนถึงการทำธุรกิจขนาดเล็กๆ ในครอบครัวหรือมีจำนวนลูกจ้างไม่กี่คน

    แต่ปัญหาที่เกิดจาก ‘เศรษฐกิจนอกระบบ’ ก็มีมากมาย ทั้งเพิ่มโอกาสให้แรงงานถูกเอารัดเอาเปรียบ ธุรกิจเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้ยาก ธุรกิจที่อยู่ในระบบถูกเอาเปรียบ รัฐบาลเก็บภาษีได้ไม่เต็มเม็ดเต็มหน่วย หรือหนักๆ อาจกลายเป็นต้นตอของการทุจริตคอร์รัปชัน และในบางกรณีที่เป็นธุรกิจผิดกฎหมายก็อาจจะนำไปสู่การฟอกเงินหรืออาชญากรรมอื่นๆ ขึ้นมาอีก

    ดังนั้น จึงขึ้นอยู่กับขนาดของ ‘เศรษฐกิจนอกระบบ’ ในแต่ละประเทศด้วยว่าเหมาะสมไหม

    ถ้าดูจากสถิติจะเห็นว่าประเทศที่พัฒนาแล้วจะมีเศรษฐกิจนอกระบบในสัดส่วนที่ต่ำมาก เพราะสามารถเคลื่อนย้ายเศรษฐกิจนอกระบบเข้ามาไว้ในระบบได้สำเร็จ ส่งผลดีต่อการพัฒนาประเทศและคุณภาพชีวิตของคนในชาติโดยรวม

    แต่อย่างประเทศไทยที่มีเศรษฐกิจนอกระบบมากราวๆ 45% ของ GDP เป็นอันดับ 8 ของโลกนั้น ถือว่ามีเศรษฐกิจนอกระบบใหญ่มาก สูงกว่าค่าเฉลี่ยโลก และสูงกว่าเกือบทุกประเทศในเอเชีย

    โดยเมื่อคำนวณจาก GDP ไทยที่มีมูลค่าราวๆ 18 ล้านล้านบาทแล้ว จะพบว่าเศรษฐกิจนอกระบบไทยน่าจะมีมูลค่ามากถึง 8.1 ล้านล้านบาทเลยทีเดียว

    ขนาดของเศรษฐกิจนอกระบบที่ใหญ่เกินไป นำมาสู่ปัญหาทางเศรษฐกิจในไทย ไม่ว่าจะเป็นปัญหาหนี้ครัวเรือนที่เกิดจากแรงงานนอกระบบที่มีมากถึง 50% ของแรงงานทั้งหมดไม่สามารถเข้าถึงแหล่งทุนในระบบได้จน นำไปสู่การกู้นอกระบบสร้างวรจรหนี้ไม่รู้จบ ขยายช่องว่างความเหลื่อมล้ำ

    หรือปัญหาหลีกเลี่ยงภาษีของธุรกิจมากกว่า 2.4 ล้านรายในไทย ที่ทำให้รัฐเสียรายได้ภาษีจำนวนมหาศาล ขณะที่ธุรกิจเองก็เข้าถึงแหล่งเงินทุนไม่ได้เช่นกัน ข้อเสนอของภาคธุรกิจในระยะหลังจึงอยากให้รัฐบาลไทยนำเศรษฐกิจนอกระบบเข้ามาในระบบด้วยนโยบายที่เหมาะสมโดยเร็ว

    โดย Sirarom Techasriamornrat

    Source: Brandinside
    https://brandinside.asia/thailand-informal-economy-rank-8-in-the-world/
    ไทยมี ‘เศรษฐกิจนอกระบบ’ ใหญ่เป็นอันดับ 8 ของโลก คิดเป็นราว 45% ของ GDP ไทย: รู้หรือไม่ว่า ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่มี ‘เศรษฐกิจนอกระบบ’ ใหญ่เป็นอันดับต้นๆ ของโลก เมื่อเปรียบเทียบสัดส่วนเศรษฐกิจกับ GDP ประเทศ ข้อมูลจาก KKP Research บอกว่า ‘เศรษฐกิจนอกระบบ’ ของไทยมีขนาดใหญ่ประมาณ 45% ของ GDP ประเทศ ใหญ่เป็นอันดับ 8 ของโลก ‘เศรษฐกิจนอกระบบ’ คือ กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ไม่ได้รับการจดทะเบียนอย่างถูกต้องตามกฎหมาย รวมไปถึงกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ผิดกฎหมายด้วย ส่วนใหญ่มักไม่ได้มีการเสียภาษี ไม่ต้องมีการบันทึกบัญชี ไม่จำเป็นต้องปฏิบัติตามกฎหมายแรงงาน ทำให้แรงงานมักไม่ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายและไม่สามารถเข้าถึงสวัสดิการต่างๆ ได้ด้วย จริงๆ แล้ว ‘เศรษฐกิจนอกระบบ’ เป็นส่วนหนึ่งของระบบเศรษฐกิจ และมีความสำคัญกับประเทศกำลังพัฒนา เพราะสามารถช่วยสร้างงาน-สร้างรายได้ ช่วยให้การเริ่มธุรกิจง่ายและยืดหยุ่นกว่า ถ้าพูดถึงเศรษฐกิจนอกระบบใกล้ตัวก็อย่างเช่นการทำเกษตร หาบเร่ แผงลอย ไปจนถึงการทำธุรกิจขนาดเล็กๆ ในครอบครัวหรือมีจำนวนลูกจ้างไม่กี่คน แต่ปัญหาที่เกิดจาก ‘เศรษฐกิจนอกระบบ’ ก็มีมากมาย ทั้งเพิ่มโอกาสให้แรงงานถูกเอารัดเอาเปรียบ ธุรกิจเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้ยาก ธุรกิจที่อยู่ในระบบถูกเอาเปรียบ รัฐบาลเก็บภาษีได้ไม่เต็มเม็ดเต็มหน่วย หรือหนักๆ อาจกลายเป็นต้นตอของการทุจริตคอร์รัปชัน และในบางกรณีที่เป็นธุรกิจผิดกฎหมายก็อาจจะนำไปสู่การฟอกเงินหรืออาชญากรรมอื่นๆ ขึ้นมาอีก ดังนั้น จึงขึ้นอยู่กับขนาดของ ‘เศรษฐกิจนอกระบบ’ ในแต่ละประเทศด้วยว่าเหมาะสมไหม ถ้าดูจากสถิติจะเห็นว่าประเทศที่พัฒนาแล้วจะมีเศรษฐกิจนอกระบบในสัดส่วนที่ต่ำมาก เพราะสามารถเคลื่อนย้ายเศรษฐกิจนอกระบบเข้ามาไว้ในระบบได้สำเร็จ ส่งผลดีต่อการพัฒนาประเทศและคุณภาพชีวิตของคนในชาติโดยรวม แต่อย่างประเทศไทยที่มีเศรษฐกิจนอกระบบมากราวๆ 45% ของ GDP เป็นอันดับ 8 ของโลกนั้น ถือว่ามีเศรษฐกิจนอกระบบใหญ่มาก สูงกว่าค่าเฉลี่ยโลก และสูงกว่าเกือบทุกประเทศในเอเชีย โดยเมื่อคำนวณจาก GDP ไทยที่มีมูลค่าราวๆ 18 ล้านล้านบาทแล้ว จะพบว่าเศรษฐกิจนอกระบบไทยน่าจะมีมูลค่ามากถึง 8.1 ล้านล้านบาทเลยทีเดียว ขนาดของเศรษฐกิจนอกระบบที่ใหญ่เกินไป นำมาสู่ปัญหาทางเศรษฐกิจในไทย ไม่ว่าจะเป็นปัญหาหนี้ครัวเรือนที่เกิดจากแรงงานนอกระบบที่มีมากถึง 50% ของแรงงานทั้งหมดไม่สามารถเข้าถึงแหล่งทุนในระบบได้จน นำไปสู่การกู้นอกระบบสร้างวรจรหนี้ไม่รู้จบ ขยายช่องว่างความเหลื่อมล้ำ หรือปัญหาหลีกเลี่ยงภาษีของธุรกิจมากกว่า 2.4 ล้านรายในไทย ที่ทำให้รัฐเสียรายได้ภาษีจำนวนมหาศาล ขณะที่ธุรกิจเองก็เข้าถึงแหล่งเงินทุนไม่ได้เช่นกัน ข้อเสนอของภาคธุรกิจในระยะหลังจึงอยากให้รัฐบาลไทยนำเศรษฐกิจนอกระบบเข้ามาในระบบด้วยนโยบายที่เหมาะสมโดยเร็ว โดย Sirarom Techasriamornrat Source: Brandinside https://brandinside.asia/thailand-informal-economy-rank-8-in-the-world/
    BRANDINSIDE.ASIA
    ไทยมี 'เศรษฐกิจนอกระบบ' ใหญ่เป็นอันดับ 8 ของโลก
    รู้หรือไม่ว่า ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่มี 'เศรษฐกิจนอกระบบ' ใหญ่เป็นอันดับต้นๆ ของโลก เมื่อเปรียบเทียบสัดส่วนเศรษฐกิจกับ GDP ประเทศ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 555 มุมมอง 0 รีวิว
  • รองประธานาธิบดี JD Vance ของสหรัฐฯ ได้ขึ้นกล่าวในงาน Paris AI Action Summit โดยมีการประกาศย้ำถึงความมุ่งมั่นของรัฐบาลทรัมป์ในการพัฒนาและสนับสนุนเทคโนโลยี AI โดยเฉพาะการเน้นย้ำว่าชิพที่ใช้ในการพัฒนาระบบ AI ที่ทรงพลังที่สุดจะถูกสร้างขึ้นในอเมริกาและจะต้องออกแบบและผลิตในประเทศสหรัฐฯ

    รองประธานาธิบดี Vance กล่าวว่า "สหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำในด้าน AI และรัฐบาลของเราวางแผนที่จะรักษาสถานะนี้ไว้" โดยมีการเน้นว่าความสามารถในการออกแบบชิปและการพัฒนาเทคโนโลยี AI ทุกด้านอยู่ในมือของสหรัฐอเมริกา เพื่อปกป้องความได้เปรียบในการพัฒนา AI รัฐบาลทรัมป์จะสนับสนุนให้ชิปที่ใช้ในการพัฒนา AI ถูกสร้างขึ้นในประเทศ

    การประกาศนี้เป็นข่าวดีสำหรับอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์ เนื่องจากทรัมป์เคยแสดงความเห็นคัดค้าน CHIPS and Science Act ในระหว่างการรณรงค์ แต่การประกาศนี้กลับมาสนับสนุนให้อุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์พัฒนาและนวัตกรรมภายในประเทศ โดยการให้เครดิตภาษีแก่ผู้ผลิตชิป

    นอกจากนั้น Vance ยังวิพากษ์วิจารณ์กฎระเบียบของสหภาพยุโรป เช่น Digital Services Act และ GDPR ว่ามีข้อบังคับที่เข้มงวดเกินไปและสร้างค่าใช้จ่ายทางกฎหมายที่สูงสำหรับบริษัทขนาดเล็ก ทั้งนี้ยังเตือนเกี่ยวกับการร่วมมือกับระบอบเผด็จการที่ไม่เป็นมิตร เพราะอาจทำให้ข้อมูลและโครงสร้างพื้นฐานของประเทศถูกเข้าถึงและยึดครองได้

    https://www.tomshardware.com/tech-industry/artificial-intelligence/trump-administration-declares-most-powerful-ai-chips-will-be-built-in-america
    รองประธานาธิบดี JD Vance ของสหรัฐฯ ได้ขึ้นกล่าวในงาน Paris AI Action Summit โดยมีการประกาศย้ำถึงความมุ่งมั่นของรัฐบาลทรัมป์ในการพัฒนาและสนับสนุนเทคโนโลยี AI โดยเฉพาะการเน้นย้ำว่าชิพที่ใช้ในการพัฒนาระบบ AI ที่ทรงพลังที่สุดจะถูกสร้างขึ้นในอเมริกาและจะต้องออกแบบและผลิตในประเทศสหรัฐฯ รองประธานาธิบดี Vance กล่าวว่า "สหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำในด้าน AI และรัฐบาลของเราวางแผนที่จะรักษาสถานะนี้ไว้" โดยมีการเน้นว่าความสามารถในการออกแบบชิปและการพัฒนาเทคโนโลยี AI ทุกด้านอยู่ในมือของสหรัฐอเมริกา เพื่อปกป้องความได้เปรียบในการพัฒนา AI รัฐบาลทรัมป์จะสนับสนุนให้ชิปที่ใช้ในการพัฒนา AI ถูกสร้างขึ้นในประเทศ การประกาศนี้เป็นข่าวดีสำหรับอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์ เนื่องจากทรัมป์เคยแสดงความเห็นคัดค้าน CHIPS and Science Act ในระหว่างการรณรงค์ แต่การประกาศนี้กลับมาสนับสนุนให้อุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์พัฒนาและนวัตกรรมภายในประเทศ โดยการให้เครดิตภาษีแก่ผู้ผลิตชิป นอกจากนั้น Vance ยังวิพากษ์วิจารณ์กฎระเบียบของสหภาพยุโรป เช่น Digital Services Act และ GDPR ว่ามีข้อบังคับที่เข้มงวดเกินไปและสร้างค่าใช้จ่ายทางกฎหมายที่สูงสำหรับบริษัทขนาดเล็ก ทั้งนี้ยังเตือนเกี่ยวกับการร่วมมือกับระบอบเผด็จการที่ไม่เป็นมิตร เพราะอาจทำให้ข้อมูลและโครงสร้างพื้นฐานของประเทศถูกเข้าถึงและยึดครองได้ https://www.tomshardware.com/tech-industry/artificial-intelligence/trump-administration-declares-most-powerful-ai-chips-will-be-built-in-america
    WWW.TOMSHARDWARE.COM
    Trump administration declares 'most powerful' AI chips will be built in America
    "The most powerful AI systems are built in the US with American-designed and manufactured chips.”
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 285 มุมมอง 0 รีวิว
  • ประเด็นบางส่วนที่รัฐมนตรีกลาโหมสหรัฐฯ พีต เฮกเซธ กล่าวในการประชุมกลาโหมที่สำนักงานใหญ่นาโต้ กรุงบรัสเซลส์ เมืองหลวงของประเทศเบลเยียม:

    - การสูญเสียเลือดเนื้อควรต้องยุติลง
    - การกลับใช้พรมแดนของยูเครนก่อนปี 2014 คงเป็นเป้าหมายที่ไม่สมจริง และจะยิ่งเพิ่มปัญหาเข้าไปอีก
    - สหรัฐไม่เชื่อว่าการเป็นสมาชิกนาโตของยูเครนจะเป็นไปได้จากการเจรจาที่กำลังจะมีขึ้น
    - ในอนาคตหากมีกองกำลังรักษาสันติภาพของนาโต้อยู่ในยูเครน แต่นั่นไม่ได้หมายความว่ายูเครนจะอยู่ภายใต้มาตรา 5 ของกฎบัตรนาโต้
    - สหรัฐจะไม่ส่งกองกำลังเข้ามาในยูเครน การมีทหารสหรัฐไม่ได้หมายความว่าจะรับประกันความปลอดภัยให้ยูเครนได้
    - สหรัฐกำลังเผชิญกับภัยคุกคามต่อพรมแดนของตนเอง และจะมุ่งเน้นไปที่การปกป้องพรมแดนเหล่านั้น
    - ยุโรปควรให้ความช่วยเหลือทางทหารแก่ยูเครนมากขึ้นกว่าเดิม
    - การใช้จ่ายทางทหารเพียง 2% ยังไม่เพียงพอ ยุโรปควรเพิ่มการใช้จ่ายทางทหารเป็น 5% ของ GDP
    - จีนคอมมิวนิสต์เป็นภัยคุกคามต่อพรมแดนสหรัฐฯ และสหรัฐจะมุ่งเน้นไปที่ภัยคุกคามดังกล่าว
    - สหรัฐจะไม่ทนต่อนโยบายการป้องกันที่ไม่เท่าเทียมของนาโตอีกต่อไป ซึ่งมีแต่การพึ่งพาสหรัฐ
    ประเด็นบางส่วนที่รัฐมนตรีกลาโหมสหรัฐฯ พีต เฮกเซธ กล่าวในการประชุมกลาโหมที่สำนักงานใหญ่นาโต้ กรุงบรัสเซลส์ เมืองหลวงของประเทศเบลเยียม: - การสูญเสียเลือดเนื้อควรต้องยุติลง - การกลับใช้พรมแดนของยูเครนก่อนปี 2014 คงเป็นเป้าหมายที่ไม่สมจริง และจะยิ่งเพิ่มปัญหาเข้าไปอีก - สหรัฐไม่เชื่อว่าการเป็นสมาชิกนาโตของยูเครนจะเป็นไปได้จากการเจรจาที่กำลังจะมีขึ้น - ในอนาคตหากมีกองกำลังรักษาสันติภาพของนาโต้อยู่ในยูเครน แต่นั่นไม่ได้หมายความว่ายูเครนจะอยู่ภายใต้มาตรา 5 ของกฎบัตรนาโต้ - สหรัฐจะไม่ส่งกองกำลังเข้ามาในยูเครน การมีทหารสหรัฐไม่ได้หมายความว่าจะรับประกันความปลอดภัยให้ยูเครนได้ - สหรัฐกำลังเผชิญกับภัยคุกคามต่อพรมแดนของตนเอง และจะมุ่งเน้นไปที่การปกป้องพรมแดนเหล่านั้น - ยุโรปควรให้ความช่วยเหลือทางทหารแก่ยูเครนมากขึ้นกว่าเดิม - การใช้จ่ายทางทหารเพียง 2% ยังไม่เพียงพอ ยุโรปควรเพิ่มการใช้จ่ายทางทหารเป็น 5% ของ GDP - จีนคอมมิวนิสต์เป็นภัยคุกคามต่อพรมแดนสหรัฐฯ และสหรัฐจะมุ่งเน้นไปที่ภัยคุกคามดังกล่าว - สหรัฐจะไม่ทนต่อนโยบายการป้องกันที่ไม่เท่าเทียมของนาโตอีกต่อไป ซึ่งมีแต่การพึ่งพาสหรัฐ
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 353 มุมมอง 0 รีวิว
  • การวิเคราะห์การเงินโลกเป็นกระบวนการที่ซับซ้อนและครอบคลุมหลายปัจจัย ซึ่งรวมถึงสถานะเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ นโยบายการเงิน การค้าระหว่างประเทศ ตลาดการเงิน และปัจจัยทางภูมิรัฐศาสตร์ ต่อไปนี้เป็นประเด็นสำคัญที่ควรพิจารณาในการวิเคราะห์การเงินโลก:

    ### 1. **เศรษฐกิจโลกและแนวโน้มการเติบโต**
    - **GDP โลก**: การเติบโตของ GDP โลกเป็นตัวชี้วัดสำคัญของสุขภาพเศรษฐกิจโลก การชะลอตัวหรือการเติบโตที่ลดลงอาจส่งสัญญาณถึงปัญหาเศรษฐกิจ เช่น การว่างงานที่เพิ่มขึ้นหรือการบริโภคที่ลดลง
    - **เศรษฐกิจหลัก**: เศรษฐกิจของประเทศใหญ่ ๆ เช่น สหรัฐอเมริกา จีน สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น มีผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจโลก การเปลี่ยนแปลงในเศรษฐกิจเหล่านี้สามารถส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินทั่วโลก

    ### 2. **นโยบายการเงินและการคลัง**
    - **อัตราดอกเบี้ย**: ธนาคารกลางของประเทศต่าง ๆ เช่น Federal Reserve (สหรัฐอเมริกา), European Central Bank (สหภาพยุโรป), และ Bank of Japan (ญี่ปุ่น) มีบทบาทสำคัญในการกำหนดอัตราดอกเบี้ย การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยสามารถส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินและเศรษฐกิจโลก
    - **นโยบายการคลัง**: การใช้จ่ายของรัฐบาลและการเก็บภาษีมีผลต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจและการลงทุน

    ### 3. **ตลาดการเงิน**
    - **ตลาดหุ้น**: ดัชนีตลาดหุ้นหลัก ๆ เช่น S&P 500, Dow Jones, และ Nikkei 225 เป็นตัวชี้วัดสำคัญของสุขภาพเศรษฐกิจและการลงทุน
    - **ตลาดพันธบัตร**: อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลเป็นตัวชี้วัดสำคัญของความเชื่อมั่นในเศรษฐกิจและความเสี่ยง
    - **ตลาดสกุลเงิน**: อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศมีผลกระทบต่อการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ

    ### 4. **การค้าระหว่างประเทศ**
    - **ดุลการค้า**: การเกินดุลหรือขาดดุลการค้าของประเทศต่าง ๆ มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก
    - **ข้อตกลงการค้า**: ข้อตกลงการค้าระหว่างประเทศ เช่น NAFTA, CPTPP, และ RCEP มีผลกระทบต่อการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ

    ### 5. **ปัจจัยทางภูมิรัฐศาสตร์**
    - **ความขัดแย้งระหว่างประเทศ**: ความขัดแย้งทางการเมืองและการทหารสามารถส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกและตลาดการเงิน
    - **ความมั่นคงทางพลังงาน**: ราคาน้ำมันและก๊าซธรรมชาติมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะประเทศที่พึ่งพาการส่งออกพลังงาน

    ### 6. **เทคโนโลยีและนวัตกรรม**
    - **เทคโนโลยีการเงิน (FinTech)**: การพัฒนาของเทคโนโลยีการเงิน เช่น บล็อกเชนและคริปโตเคอร์เรนซี มีผลกระทบต่อระบบการเงินโลก
    - **นวัตกรรมทางอุตสาหกรรม**: การพัฒนาของเทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่น AI, IoT, และรถยนต์ไฟฟ้า มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและการลงทุน

    ### 7. **ความเสี่ยงและความไม่แน่นอน**
    - **การระบาดของโรค**: การระบาดของโรค เช่น COVID-19 มีผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจโลก
    - **การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ**: การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและการลงทุน

    ### สรุป
    การวิเคราะห์การเงินโลกต้องพิจารณาปัจจัยต่าง ๆ ที่ซับซ้อนและเชื่อมโยงกัน การเข้าใจแนวโน้มและความเสี่ยงเหล่านี้สามารถช่วยในการตัดสินใจทางการเงินและการลงทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    การวิเคราะห์การเงินโลกเป็นกระบวนการที่ซับซ้อนและครอบคลุมหลายปัจจัย ซึ่งรวมถึงสถานะเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ นโยบายการเงิน การค้าระหว่างประเทศ ตลาดการเงิน และปัจจัยทางภูมิรัฐศาสตร์ ต่อไปนี้เป็นประเด็นสำคัญที่ควรพิจารณาในการวิเคราะห์การเงินโลก: ### 1. **เศรษฐกิจโลกและแนวโน้มการเติบโต** - **GDP โลก**: การเติบโตของ GDP โลกเป็นตัวชี้วัดสำคัญของสุขภาพเศรษฐกิจโลก การชะลอตัวหรือการเติบโตที่ลดลงอาจส่งสัญญาณถึงปัญหาเศรษฐกิจ เช่น การว่างงานที่เพิ่มขึ้นหรือการบริโภคที่ลดลง - **เศรษฐกิจหลัก**: เศรษฐกิจของประเทศใหญ่ ๆ เช่น สหรัฐอเมริกา จีน สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น มีผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจโลก การเปลี่ยนแปลงในเศรษฐกิจเหล่านี้สามารถส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินทั่วโลก ### 2. **นโยบายการเงินและการคลัง** - **อัตราดอกเบี้ย**: ธนาคารกลางของประเทศต่าง ๆ เช่น Federal Reserve (สหรัฐอเมริกา), European Central Bank (สหภาพยุโรป), และ Bank of Japan (ญี่ปุ่น) มีบทบาทสำคัญในการกำหนดอัตราดอกเบี้ย การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยสามารถส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินและเศรษฐกิจโลก - **นโยบายการคลัง**: การใช้จ่ายของรัฐบาลและการเก็บภาษีมีผลต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจและการลงทุน ### 3. **ตลาดการเงิน** - **ตลาดหุ้น**: ดัชนีตลาดหุ้นหลัก ๆ เช่น S&P 500, Dow Jones, และ Nikkei 225 เป็นตัวชี้วัดสำคัญของสุขภาพเศรษฐกิจและการลงทุน - **ตลาดพันธบัตร**: อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลเป็นตัวชี้วัดสำคัญของความเชื่อมั่นในเศรษฐกิจและความเสี่ยง - **ตลาดสกุลเงิน**: อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศมีผลกระทบต่อการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ### 4. **การค้าระหว่างประเทศ** - **ดุลการค้า**: การเกินดุลหรือขาดดุลการค้าของประเทศต่าง ๆ มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก - **ข้อตกลงการค้า**: ข้อตกลงการค้าระหว่างประเทศ เช่น NAFTA, CPTPP, และ RCEP มีผลกระทบต่อการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ### 5. **ปัจจัยทางภูมิรัฐศาสตร์** - **ความขัดแย้งระหว่างประเทศ**: ความขัดแย้งทางการเมืองและการทหารสามารถส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกและตลาดการเงิน - **ความมั่นคงทางพลังงาน**: ราคาน้ำมันและก๊าซธรรมชาติมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะประเทศที่พึ่งพาการส่งออกพลังงาน ### 6. **เทคโนโลยีและนวัตกรรม** - **เทคโนโลยีการเงิน (FinTech)**: การพัฒนาของเทคโนโลยีการเงิน เช่น บล็อกเชนและคริปโตเคอร์เรนซี มีผลกระทบต่อระบบการเงินโลก - **นวัตกรรมทางอุตสาหกรรม**: การพัฒนาของเทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่น AI, IoT, และรถยนต์ไฟฟ้า มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและการลงทุน ### 7. **ความเสี่ยงและความไม่แน่นอน** - **การระบาดของโรค**: การระบาดของโรค เช่น COVID-19 มีผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจโลก - **การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ**: การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและการลงทุน ### สรุป การวิเคราะห์การเงินโลกต้องพิจารณาปัจจัยต่าง ๆ ที่ซับซ้อนและเชื่อมโยงกัน การเข้าใจแนวโน้มและความเสี่ยงเหล่านี้สามารถช่วยในการตัดสินใจทางการเงินและการลงทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 990 มุมมอง 0 รีวิว
  • # 1. **เศรษฐกิจมหภาค**
    - **อัตราการเติบโตของ GDP**: การเติบโตของ GDP ในประเทศสำคัญๆ เช่น สหรัฐอเมริกา จีน สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกโดยรวม
    - **อัตราเงินเฟ้อ**: อัตราเงินเฟ้อที่สูงหรือต่ำเกินไปอาจส่งผลต่อกำลังซื้อและนโยบายการเงินของประเทศต่างๆ
    - **อัตราการว่างงาน**: อัตราการว่างงานที่สูงอาจบ่งชี้ถึงปัญหาทางเศรษฐกิจและส่งผลต่อการบริโภค
    # 1. **เศรษฐกิจมหภาค** - **อัตราการเติบโตของ GDP**: การเติบโตของ GDP ในประเทศสำคัญๆ เช่น สหรัฐอเมริกา จีน สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกโดยรวม - **อัตราเงินเฟ้อ**: อัตราเงินเฟ้อที่สูงหรือต่ำเกินไปอาจส่งผลต่อกำลังซื้อและนโยบายการเงินของประเทศต่างๆ - **อัตราการว่างงาน**: อัตราการว่างงานที่สูงอาจบ่งชี้ถึงปัญหาทางเศรษฐกิจและส่งผลต่อการบริโภค
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 323 มุมมอง 0 รีวิว
  • การวิเคราะห์การเงินโลกเป็นกระบวนการที่ซับซ้อนและครอบคลุมหลายปัจจัย ซึ่งรวมถึงสถานะเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ นโยบายการเงิน การค้าระหว่างประเทศ ตลาดการเงิน และปัจจัยทางภูมิรัฐศาสตร์ ต่อไปนี้เป็นประเด็นสำคัญที่ควรพิจารณาในการวิเคราะห์การเงินโลก:

    ### 1. **เศรษฐกิจโลกและแนวโน้มการเติบโต**
    - **GDP โลก**: การเติบโตของ GDP โลกเป็นตัวชี้วัดสำคัญของสุขภาพเศรษฐกิจโลก การชะลอตัวหรือการเติบโตที่ลดลงอาจส่งสัญญาณถึงปัญหาเศรษฐกิจ เช่น การว่างงานที่เพิ่มขึ้นหรือการบริโภคที่ลดลง
    - **เศรษฐกิจหลัก**: เศรษฐกิจของประเทศใหญ่ ๆ เช่น สหรัฐอเมริกา จีน สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น มีผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจโลก การเปลี่ยนแปลงในเศรษฐกิจเหล่านี้สามารถส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินทั่วโลก

    ### 2. **นโยบายการเงินและการคลัง**
    - **อัตราดอกเบี้ย**: ธนาคารกลางของประเทศต่าง ๆ เช่น Federal Reserve (สหรัฐอเมริกา), European Central Bank (สหภาพยุโรป), และ Bank of Japan (ญี่ปุ่น) มีบทบาทสำคัญในการกำหนดอัตราดอกเบี้ย การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยสามารถส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินและเศรษฐกิจโลก
    - **นโยบายการคลัง**: การใช้จ่ายของรัฐบาลและการเก็บภาษีมีผลต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจและการลงทุน

    ### 3. **ตลาดการเงิน**
    - **ตลาดหุ้น**: ดัชนีตลาดหุ้นหลัก ๆ เช่น S&P 500, Dow Jones, และ Nikkei 225 เป็นตัวชี้วัดสำคัญของสุขภาพเศรษฐกิจและการลงทุน
    - **ตลาดพันธบัตร**: อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลเป็นตัวชี้วัดสำคัญของความเชื่อมั่นในเศรษฐกิจและความเสี่ยง
    - **ตลาดสกุลเงิน**: อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศมีผลกระทบต่อการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ

    ### 4. **การค้าระหว่างประเทศ**
    - **ดุลการค้า**: การเกินดุลหรือขาดดุลการค้าของประเทศต่าง ๆ มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก
    - **ข้อตกลงการค้า**: ข้อตกลงการค้าระหว่างประเทศ เช่น NAFTA, CPTPP, และ RCEP มีผลกระทบต่อการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ

    ### 5. **ปัจจัยทางภูมิรัฐศาสตร์**
    - **ความขัดแย้งระหว่างประเทศ**: ความขัดแย้งทางการเมืองและการทหารสามารถส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกและตลาดการเงิน
    - **ความมั่นคงทางพลังงาน**: ราคาน้ำมันและก๊าซธรรมชาติมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะประเทศที่พึ่งพาการส่งออกพลังงาน

    ### 6. **เทคโนโลยีและนวัตกรรม**
    - **เทคโนโลยีการเงิน (FinTech)**: การพัฒนาของเทคโนโลยีการเงิน เช่น บล็อกเชนและคริปโตเคอร์เรนซี มีผลกระทบต่อระบบการเงินโลก
    - **นวัตกรรมทางอุตสาหกรรม**: การพัฒนาของเทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่น AI, IoT, และรถยนต์ไฟฟ้า มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและการลงทุน

    ### 7. **ความเสี่ยงและความไม่แน่นอน**
    - **การระบาดของโรค**: การระบาดของโรค เช่น COVID-19 มีผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจโลก
    - **การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ**: การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและการลงทุน

    ### สรุป
    การวิเคราะห์การเงินโลกต้องพิจารณาปัจจัยต่าง ๆ ที่ซับซ้อนและเชื่อมโยงกัน การเข้าใจแนวโน้มและความเสี่ยงเหล่านี้สามารถช่วยในการตัดสินใจทางการเงินและการลงทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    การวิเคราะห์การเงินโลกเป็นกระบวนการที่ซับซ้อนและครอบคลุมหลายปัจจัย ซึ่งรวมถึงสถานะเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ นโยบายการเงิน การค้าระหว่างประเทศ ตลาดการเงิน และปัจจัยทางภูมิรัฐศาสตร์ ต่อไปนี้เป็นประเด็นสำคัญที่ควรพิจารณาในการวิเคราะห์การเงินโลก: ### 1. **เศรษฐกิจโลกและแนวโน้มการเติบโต** - **GDP โลก**: การเติบโตของ GDP โลกเป็นตัวชี้วัดสำคัญของสุขภาพเศรษฐกิจโลก การชะลอตัวหรือการเติบโตที่ลดลงอาจส่งสัญญาณถึงปัญหาเศรษฐกิจ เช่น การว่างงานที่เพิ่มขึ้นหรือการบริโภคที่ลดลง - **เศรษฐกิจหลัก**: เศรษฐกิจของประเทศใหญ่ ๆ เช่น สหรัฐอเมริกา จีน สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น มีผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจโลก การเปลี่ยนแปลงในเศรษฐกิจเหล่านี้สามารถส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินทั่วโลก ### 2. **นโยบายการเงินและการคลัง** - **อัตราดอกเบี้ย**: ธนาคารกลางของประเทศต่าง ๆ เช่น Federal Reserve (สหรัฐอเมริกา), European Central Bank (สหภาพยุโรป), และ Bank of Japan (ญี่ปุ่น) มีบทบาทสำคัญในการกำหนดอัตราดอกเบี้ย การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยสามารถส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินและเศรษฐกิจโลก - **นโยบายการคลัง**: การใช้จ่ายของรัฐบาลและการเก็บภาษีมีผลต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจและการลงทุน ### 3. **ตลาดการเงิน** - **ตลาดหุ้น**: ดัชนีตลาดหุ้นหลัก ๆ เช่น S&P 500, Dow Jones, และ Nikkei 225 เป็นตัวชี้วัดสำคัญของสุขภาพเศรษฐกิจและการลงทุน - **ตลาดพันธบัตร**: อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลเป็นตัวชี้วัดสำคัญของความเชื่อมั่นในเศรษฐกิจและความเสี่ยง - **ตลาดสกุลเงิน**: อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศมีผลกระทบต่อการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ### 4. **การค้าระหว่างประเทศ** - **ดุลการค้า**: การเกินดุลหรือขาดดุลการค้าของประเทศต่าง ๆ มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก - **ข้อตกลงการค้า**: ข้อตกลงการค้าระหว่างประเทศ เช่น NAFTA, CPTPP, และ RCEP มีผลกระทบต่อการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ### 5. **ปัจจัยทางภูมิรัฐศาสตร์** - **ความขัดแย้งระหว่างประเทศ**: ความขัดแย้งทางการเมืองและการทหารสามารถส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกและตลาดการเงิน - **ความมั่นคงทางพลังงาน**: ราคาน้ำมันและก๊าซธรรมชาติมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะประเทศที่พึ่งพาการส่งออกพลังงาน ### 6. **เทคโนโลยีและนวัตกรรม** - **เทคโนโลยีการเงิน (FinTech)**: การพัฒนาของเทคโนโลยีการเงิน เช่น บล็อกเชนและคริปโตเคอร์เรนซี มีผลกระทบต่อระบบการเงินโลก - **นวัตกรรมทางอุตสาหกรรม**: การพัฒนาของเทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่น AI, IoT, และรถยนต์ไฟฟ้า มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและการลงทุน ### 7. **ความเสี่ยงและความไม่แน่นอน** - **การระบาดของโรค**: การระบาดของโรค เช่น COVID-19 มีผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจโลก - **การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ**: การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและการลงทุน ### สรุป การวิเคราะห์การเงินโลกต้องพิจารณาปัจจัยต่าง ๆ ที่ซับซ้อนและเชื่อมโยงกัน การเข้าใจแนวโน้มและความเสี่ยงเหล่านี้สามารถช่วยในการตัดสินใจทางการเงินและการลงทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 931 มุมมอง 0 รีวิว
  • หน่วยงานคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของฝรั่งเศส (CNIL) ได้ประกาศว่าจะสอบถามบริษัท DeepSeek เกี่ยวกับระบบ AI ของพวกเขาและความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นต่อความเป็นส่วนตัวของผู้ใช้ DeepSeek เป็นบริษัทสตาร์ทอัพจากจีนที่ได้รับความสนใจจากทั่วโลกหลังจากเผยแพร่เอกสารที่ระบุว่าการฝึกอบรม DeepSeek-V3 ใช้พลังการประมวลผลมูลค่าน้อยกว่า 6 ล้านดอลลาร์จากชิป Nvidia H800

    CNIL เป็นหนึ่งในหน่วยงานคุ้มครองข้อมูลที่มีความเคลื่อนไหวมากที่สุดในยุโรป และได้ปรับเงินบริษัทใหญ่ๆ เช่น Google และ Meta Platforms มาแล้ว นอกจากนี้ หน่วยงานคุ้มครองข้อมูลของอิตาลีและไอร์แลนด์ก็ได้ขอข้อมูลจาก DeepSeek เกี่ยวกับการใช้ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้ในประเทศของตนเช่นกัน

    ยุโรปมีการคุ้มครองสิทธิความเป็นส่วนตัวอย่างเข้มงวด และกฎหมายคุ้มครองข้อมูลทั่วไป (GDPR) ของยุโรปถือเป็นหนึ่งในกฎหมายคุ้มครองข้อมูลที่ครอบคลุมและเข้มงวดที่สุดในโลก การละเมิด GDPR อาจนำไปสู่การปรับเงินสูงสุดถึง 4% ของรายได้รวมทั่วโลกของบริษัท

    นอกจากนี้ สหภาพยุโรปยังได้ตกลงกฎระเบียบที่กำหนดให้ระบบ AI ที่มีความเสี่ยงสูงต้องมีความโปร่งใสอย่างเข้มงวด และมีข้อกำหนดที่เบากว่าสำหรับโมเดล AI ที่ใช้ทั่วไป การละเมิดกฎระเบียบเหล่านี้อาจนำไปสู่การปรับเงินตั้งแต่ 7.5 ล้านยูโร หรือ 1.5% ของรายได้ ไปจนถึง 35 ล้านยูโร หรือ 7% ของรายได้รวมทั่วโลก ขึ้นอยู่กับประเภทของการละเมิด

    https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/01/31/french-privacy-watchdog-to-quiz-deepseek-on-ai-data-protection
    หน่วยงานคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของฝรั่งเศส (CNIL) ได้ประกาศว่าจะสอบถามบริษัท DeepSeek เกี่ยวกับระบบ AI ของพวกเขาและความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นต่อความเป็นส่วนตัวของผู้ใช้ DeepSeek เป็นบริษัทสตาร์ทอัพจากจีนที่ได้รับความสนใจจากทั่วโลกหลังจากเผยแพร่เอกสารที่ระบุว่าการฝึกอบรม DeepSeek-V3 ใช้พลังการประมวลผลมูลค่าน้อยกว่า 6 ล้านดอลลาร์จากชิป Nvidia H800 CNIL เป็นหนึ่งในหน่วยงานคุ้มครองข้อมูลที่มีความเคลื่อนไหวมากที่สุดในยุโรป และได้ปรับเงินบริษัทใหญ่ๆ เช่น Google และ Meta Platforms มาแล้ว นอกจากนี้ หน่วยงานคุ้มครองข้อมูลของอิตาลีและไอร์แลนด์ก็ได้ขอข้อมูลจาก DeepSeek เกี่ยวกับการใช้ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้ในประเทศของตนเช่นกัน ยุโรปมีการคุ้มครองสิทธิความเป็นส่วนตัวอย่างเข้มงวด และกฎหมายคุ้มครองข้อมูลทั่วไป (GDPR) ของยุโรปถือเป็นหนึ่งในกฎหมายคุ้มครองข้อมูลที่ครอบคลุมและเข้มงวดที่สุดในโลก การละเมิด GDPR อาจนำไปสู่การปรับเงินสูงสุดถึง 4% ของรายได้รวมทั่วโลกของบริษัท นอกจากนี้ สหภาพยุโรปยังได้ตกลงกฎระเบียบที่กำหนดให้ระบบ AI ที่มีความเสี่ยงสูงต้องมีความโปร่งใสอย่างเข้มงวด และมีข้อกำหนดที่เบากว่าสำหรับโมเดล AI ที่ใช้ทั่วไป การละเมิดกฎระเบียบเหล่านี้อาจนำไปสู่การปรับเงินตั้งแต่ 7.5 ล้านยูโร หรือ 1.5% ของรายได้ ไปจนถึง 35 ล้านยูโร หรือ 7% ของรายได้รวมทั่วโลก ขึ้นอยู่กับประเภทของการละเมิด https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/01/31/french-privacy-watchdog-to-quiz-deepseek-on-ai-data-protection
    WWW.THESTAR.COM.MY
    French privacy watchdog to quiz DeepSeek on AI, data protection
    BRUSSELS (Reuters) - France's privacy watchdog said on Thursday it will question DeepSeek to gain a better idea of how the Chinese startup's AI system works and any possible privacy risks for users.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 367 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts