• Delta และ Cal-Comp จับมือยกระดับโรงงานอัจฉริยะ ขับเคลื่อนอนาคตอุตสาหกรรมไทย
    Delta Electronics (Thailand) (DELTA) และ Cal-Comp Electronics (Thailand) (CCET) สองยักษ์ใหญ่ในอุตสาหกรรมเทคโนโลยี ประกาศความร่วมมือครั้งสำคัญผ่านการลงนาม MOU เพื่อผลักดันนวัตกรรมในระบบอัตโนมัติสำหรับโรงงาน โดยมุ่งสร้างกระบวนการผลิตที่ชาญฉลาดและยั่งยืน พร้อมตั้งเป้ายกระดับวงการบริการผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ (EMS - Electronics Manufacturing Services) ของไทยให้ก้าวสู่อนาคตอย่างมั่นคง
    สองยักษ์ใหญ่ในวงการเทคโนโลยี จับมือพัฒนานวัตกรรมการผลิต
    นายคงสิทธิ์ โชคกิจเจริญ ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการของ Cal-Comp Electronics เปิดเผยว่า Delta และ Cal-Comp ดำเนินธุรกิจในประเทศไทยมานานกว่า 35 ปี โดยทั้งสองบริษัทมีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน การร่วมมือครั้งนี้ตั้งเป้าพัฒนาเทคโนโลยีอัตโนมัติในกระบวนการผลิตและการจัดการดิจิทัล เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน และผลักดันอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ของไทยให้ก้าวล้ำไปอีกขั้น

    นายวิกเตอร์ เฉิง ซีอีโอของ Delta Thailand กล่าวถึงความร่วมมือว่า Delta จะผสานโซลูชันระบบอัตโนมัติและ AI เข้ากับกระบวนการผลิตของ Cal-Comp เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปรับปรุงคุณภาพสินค้า และลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

    โครงการที่ผ่านมา เช่น การใช้หุ่นยนต์ SCARA, เทคโนโลยี DIATwin และโครงการประหยัดพลังงาน ได้พิสูจน์ให้เห็นถึงประสิทธิภาพและความคุ้มค่า ความร่วมมือนี้ยังมุ่งพัฒนาแพลตฟอร์ม CCET 4.0+ ของ Cal-Comp ควบคู่กับโซลูชัน DIAEAP-IMM ของ Delta ซึ่งออกแบบมาเพื่อเพิ่มความแม่นยำ ลดข้อผิดพลาด และยกระดับคุณภาพการผลิต

    ความร่วมมือนี้ไม่เพียงส่งผลดีต่ออุตสาหกรรมไทย แต่ยังสะท้อนถึงแนวโน้มระดับโลกในการผลิตที่ชาญฉลาดและยั่งยืน พร้อมวางรากฐานให้อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ของไทยแข็งแกร่งในตลาดโลก


    อ้างอิง
    https://www.thailand4.com/en/MojR
    Delta และ Cal-Comp จับมือยกระดับโรงงานอัจฉริยะ ขับเคลื่อนอนาคตอุตสาหกรรมไทย Delta Electronics (Thailand) (DELTA) และ Cal-Comp Electronics (Thailand) (CCET) สองยักษ์ใหญ่ในอุตสาหกรรมเทคโนโลยี ประกาศความร่วมมือครั้งสำคัญผ่านการลงนาม MOU เพื่อผลักดันนวัตกรรมในระบบอัตโนมัติสำหรับโรงงาน โดยมุ่งสร้างกระบวนการผลิตที่ชาญฉลาดและยั่งยืน พร้อมตั้งเป้ายกระดับวงการบริการผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ (EMS - Electronics Manufacturing Services) ของไทยให้ก้าวสู่อนาคตอย่างมั่นคง สองยักษ์ใหญ่ในวงการเทคโนโลยี จับมือพัฒนานวัตกรรมการผลิต นายคงสิทธิ์ โชคกิจเจริญ ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการของ Cal-Comp Electronics เปิดเผยว่า Delta และ Cal-Comp ดำเนินธุรกิจในประเทศไทยมานานกว่า 35 ปี โดยทั้งสองบริษัทมีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน การร่วมมือครั้งนี้ตั้งเป้าพัฒนาเทคโนโลยีอัตโนมัติในกระบวนการผลิตและการจัดการดิจิทัล เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน และผลักดันอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ของไทยให้ก้าวล้ำไปอีกขั้น นายวิกเตอร์ เฉิง ซีอีโอของ Delta Thailand กล่าวถึงความร่วมมือว่า Delta จะผสานโซลูชันระบบอัตโนมัติและ AI เข้ากับกระบวนการผลิตของ Cal-Comp เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปรับปรุงคุณภาพสินค้า และลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โครงการที่ผ่านมา เช่น การใช้หุ่นยนต์ SCARA, เทคโนโลยี DIATwin และโครงการประหยัดพลังงาน ได้พิสูจน์ให้เห็นถึงประสิทธิภาพและความคุ้มค่า ความร่วมมือนี้ยังมุ่งพัฒนาแพลตฟอร์ม CCET 4.0+ ของ Cal-Comp ควบคู่กับโซลูชัน DIAEAP-IMM ของ Delta ซึ่งออกแบบมาเพื่อเพิ่มความแม่นยำ ลดข้อผิดพลาด และยกระดับคุณภาพการผลิต ความร่วมมือนี้ไม่เพียงส่งผลดีต่ออุตสาหกรรมไทย แต่ยังสะท้อนถึงแนวโน้มระดับโลกในการผลิตที่ชาญฉลาดและยั่งยืน พร้อมวางรากฐานให้อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ของไทยแข็งแกร่งในตลาดโลก อ้างอิง https://www.thailand4.com/en/MojR
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 111 มุมมอง 0 รีวิว
  • Lisa Su แห่ง AMD "ซีอีโอแห่งปี "หญิงแกร่งที่มีมีความเก่ง!12 ธันวาคม 2567 นิตยสาร Time ยกย่อง Dr. Lisa Su #CEO ของ #AMD ให้เป็น "CEO แห่งปี 2024" ว่าเธอเป็นผู้นำที่ประสบความสำเร็จสูงสุดใน #อุตสาหกรรมเทคโนโลยี ยุคปัจจุบัน ด้วยความสามารถในการพลิกฟื้นบริษัท AMD ให้กลับมาเป็นผู้นำ #ตลาดชิปประมวลผล และ #เซมิคอนดักเตอร์ ระดับโลก. การเปลี่ยนแปลง AMD ภายใต้การนำของ Dr. Su ตั้งแต่ปี 2014 AMD ได้เปลี่ยนจาก #บริษัทที่ประสบปัญหา ในการทำกำไรมาเป็นผู้นำตลาดที่ท้าทายคู่แข่งอย่าง #Intel และ #NVIDIA โดยมูลค่าหุ้นของบริษัทเพิ่มขึ้นกว่า 3700% และ AMD มีมูลค่าตลาดแซง Intel ได้สำเร็จ.เธอเป็นผู้ผลักดันเทคโนโลยีตระกูล Zen processors และขยายตลาดไปสู่ธุรกิจศูนย์ข้อมูลและคลาวด์คอมพิวติ้ง รวมถึงการซื้อกิจการ Xilinx ซึ่งช่วยเพิ่มศักยภาพของ AMD ในตลาดชิป FPGA และ #AI.เธอถูกยกย่องในด้านการบริหารที่ครอบคลุมทั้งเชิงกลยุทธ์และเทคนิค โดยเธอลงมือทำงานในทุกระดับ ตั้งแต่การบริหารจัดการไปจนถึงการพัฒนาชิปในห้องแล็บ.รางวัลนี้ตอกย้ำบทบาทสำคัญของ Lisa Su ในการพัฒนาเทคโนโลยีและการสร้างแรงบันดาลใจให้แก่ผู้นำในวงการทั่วโลกในอนาคต.ลิซ่า ซู ซีอีโอ AMD ได้รับเลือกให้เป็นซีอีโอแห่งปี 2024 จากนิตยสาร TIME โดยได้รับการยกย่องในวิสัยทัศน์และความเป็นผู้นำที่สามารถพลิกฟื้น AMD จากการเกือบล้มละลายเมื่อ 10 ปีก่อน กลายเป็นหนึ่งในผู้เล่นหลักในวงการเซมิคอนดักเตอร์ระดับโลก
    Lisa Su แห่ง AMD "ซีอีโอแห่งปี "หญิงแกร่งที่มีมีความเก่ง!12 ธันวาคม 2567 นิตยสาร Time ยกย่อง Dr. Lisa Su #CEO ของ #AMD ให้เป็น "CEO แห่งปี 2024" ว่าเธอเป็นผู้นำที่ประสบความสำเร็จสูงสุดใน #อุตสาหกรรมเทคโนโลยี ยุคปัจจุบัน ด้วยความสามารถในการพลิกฟื้นบริษัท AMD ให้กลับมาเป็นผู้นำ #ตลาดชิปประมวลผล และ #เซมิคอนดักเตอร์ ระดับโลก. การเปลี่ยนแปลง AMD ภายใต้การนำของ Dr. Su ตั้งแต่ปี 2014 AMD ได้เปลี่ยนจาก #บริษัทที่ประสบปัญหา ในการทำกำไรมาเป็นผู้นำตลาดที่ท้าทายคู่แข่งอย่าง #Intel และ #NVIDIA โดยมูลค่าหุ้นของบริษัทเพิ่มขึ้นกว่า 3700% และ AMD มีมูลค่าตลาดแซง Intel ได้สำเร็จ.เธอเป็นผู้ผลักดันเทคโนโลยีตระกูล Zen processors และขยายตลาดไปสู่ธุรกิจศูนย์ข้อมูลและคลาวด์คอมพิวติ้ง รวมถึงการซื้อกิจการ Xilinx ซึ่งช่วยเพิ่มศักยภาพของ AMD ในตลาดชิป FPGA และ #AI.เธอถูกยกย่องในด้านการบริหารที่ครอบคลุมทั้งเชิงกลยุทธ์และเทคนิค โดยเธอลงมือทำงานในทุกระดับ ตั้งแต่การบริหารจัดการไปจนถึงการพัฒนาชิปในห้องแล็บ.รางวัลนี้ตอกย้ำบทบาทสำคัญของ Lisa Su ในการพัฒนาเทคโนโลยีและการสร้างแรงบันดาลใจให้แก่ผู้นำในวงการทั่วโลกในอนาคต.ลิซ่า ซู ซีอีโอ AMD ได้รับเลือกให้เป็นซีอีโอแห่งปี 2024 จากนิตยสาร TIME โดยได้รับการยกย่องในวิสัยทัศน์และความเป็นผู้นำที่สามารถพลิกฟื้น AMD จากการเกือบล้มละลายเมื่อ 10 ปีก่อน กลายเป็นหนึ่งในผู้เล่นหลักในวงการเซมิคอนดักเตอร์ระดับโลก
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 223 มุมมอง 0 รีวิว
  • "อุตสาหกรรมที่ชี้เป็นชี้ตาย" หมายถึงกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญมากต่อเศรษฐกิจของประเทศหรือโลก และหากเกิดปัญหาในอุตสาหกรรมเหล่านี้จะส่งผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจโดยรวม โดยปกติจะหมายถึงอุตสาหกรรมหลัก เช่น:1. อุตสาหกรรมน้ำมันและก๊าซ2. อุตสาหกรรมพลังงาน3. อุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ4. อุตสาหกรรมการเกษตรและอาหาร5. อุตสาหกรรมยาและเวชภัณฑ์6. อุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์7. อุตสาหกรรมการขนส่งและโลจิสติกส์8. อุตสาหกรรมการก่อสร้าง9. อุตสาหกรรมโทรคมนาคม10. อุตสาหกรรมการธนาคารและการเงิน11. อุตสาหกรรมเหมืองแร่12. อุตสาหกรรมเหล็กและโลหะ13. อุตสาหกรรมปิโตรเคมี14. อุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร15. อุตสาหกรรมป้องกันประเทศและอาวุธ16. อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์17. อุตสาหกรรมการผลิตหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ18. อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ19. อุตสาหกรรมแฟชั่นและสิ่งทอ20. อุตสาหกรรมบันเทิงและสื่อ21. อุตสาหกรรมการศึกษาและการฝึกอบรม22. อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน (พลังงานแสงอาทิตย์, พลังงานลม)23. อุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ24. อุตสาหกรรมสุขภาพและการแพทย์25. อุตสาหกรรมสื่อดิจิทัลและแพลตฟอร์มออนไลน์26. อุตสาหกรรมเกมและการพัฒนาแอปพลิเคชัน27. อุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์พิเศษ28. อุตสาหกรรมการขนส่งสาธารณะและโครงสร้างพื้นฐานนี่คืออุตสาหกรรมเพิ่มเติมที่มีความสำคัญ:29. อุตสาหกรรมการรีไซเคิลและการจัดการของเสีย30. อุตสาหกรรมการบินและอวกาศ31. อุตสาหกรรมการประมงและผลิตภัณฑ์จากทะเล32. อุตสาหกรรมการผลิตวัสดุก่อสร้าง33. อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์34. อุตสาหกรรมอุปกรณ์กีฬา35. อุตสาหกรรมเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์บำรุงผิว36. อุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์และการออกแบบตกแต่งภายใน37. อุตสาหกรรมการศึกษาออนไลน์และการเรียนรู้ดิจิทัล38. อุตสาหกรรมการค้าปลีก (ทั้งแบบดั้งเดิมและออนไลน์)39. อุตสาหกรรมการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ (เช่น ข้าวสาลี, ข้าวโพด, อ้อย)40. อุตสาหกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ41. อุตสาหกรรมการพัฒนาและขายซอฟต์แวร์42. อุตสาหกรรมดิจิทัลมาร์เก็ตติ้ง43. อุตสาหกรรมบริการด้านการเงิน (เช่น บริษัทประกันภัย)44. อุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์45. อุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า (EV) และการผลิตแบตเตอรี่46. อุตสาหกรรมพลังงานนิวเคลียร์47. อุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร (เช่น พืชดัดแปลงพันธุกรรม)48. อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ49. อุตสาหกรรมการพิมพ์สามมิติ (3D Printing)50. อุตสาหกรรมโครงสร้างพื้นฐานด้านไอที (Data Centers)51. อุตสาหกรรมการออกแบบสถาปัตยกรรมและการวางผังเมือง52. อุตสาหกรรมการบริหารจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data)53. อุตสาหกรรมการวิเคราะห์และวิจัยตลาด54. อุตสาหกรรมการทดสอบและควบคุมคุณภาพ55. อุตสาหกรรมความปลอดภัยทางไซเบอร์56. อุตสาหกรรมอุปกรณ์การแพทย์57. อุตสาหกรรมการแพทย์ทางเลือกและการรักษาสุขภาพแบบองค์รวม58. อุตสาหกรรมเทคโนโลยีและแพลตฟอร์มการจัดการโครงข่ายพลังงาน (Smart Grid)59. อุตสาหกรรมการพัฒนาเทคโนโลยีรถไร้คนขับ60. อุตสาหกรรมโลจิสติกส์อัจฉริยะและห่วงโซ่อุปทาน61. อุตสาหกรรมการออกแบบและการพัฒนาผลิตภัณฑ์หรูหรา62. อุตสาหกรรมการผลิตวัคซีนและยาชีววัตถุ63. อุตสาหกรรมการส่งเสริมและสนับสนุนเทคโนโลยีสีเขียว64. อุตสาหกรรมระบบการเกษตรแบบยั่งยืนและเทคโนโลยีเกษตร (AgriTech)65. อุตสาหกรรมที่พักอาศัยและการบริการ (Hospitality)66. อุตสาหกรรมสถาบันทางการเงินระหว่างประเทศ67. อุตสาหกรรมการจัดการและบำบัดน้ำ
    "อุตสาหกรรมที่ชี้เป็นชี้ตาย" หมายถึงกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญมากต่อเศรษฐกิจของประเทศหรือโลก และหากเกิดปัญหาในอุตสาหกรรมเหล่านี้จะส่งผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจโดยรวม โดยปกติจะหมายถึงอุตสาหกรรมหลัก เช่น:1. อุตสาหกรรมน้ำมันและก๊าซ2. อุตสาหกรรมพลังงาน3. อุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ4. อุตสาหกรรมการเกษตรและอาหาร5. อุตสาหกรรมยาและเวชภัณฑ์6. อุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์7. อุตสาหกรรมการขนส่งและโลจิสติกส์8. อุตสาหกรรมการก่อสร้าง9. อุตสาหกรรมโทรคมนาคม10. อุตสาหกรรมการธนาคารและการเงิน11. อุตสาหกรรมเหมืองแร่12. อุตสาหกรรมเหล็กและโลหะ13. อุตสาหกรรมปิโตรเคมี14. อุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร15. อุตสาหกรรมป้องกันประเทศและอาวุธ16. อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์17. อุตสาหกรรมการผลิตหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ18. อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ19. อุตสาหกรรมแฟชั่นและสิ่งทอ20. อุตสาหกรรมบันเทิงและสื่อ21. อุตสาหกรรมการศึกษาและการฝึกอบรม22. อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน (พลังงานแสงอาทิตย์, พลังงานลม)23. อุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ24. อุตสาหกรรมสุขภาพและการแพทย์25. อุตสาหกรรมสื่อดิจิทัลและแพลตฟอร์มออนไลน์26. อุตสาหกรรมเกมและการพัฒนาแอปพลิเคชัน27. อุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์พิเศษ28. อุตสาหกรรมการขนส่งสาธารณะและโครงสร้างพื้นฐานนี่คืออุตสาหกรรมเพิ่มเติมที่มีความสำคัญ:29. อุตสาหกรรมการรีไซเคิลและการจัดการของเสีย30. อุตสาหกรรมการบินและอวกาศ31. อุตสาหกรรมการประมงและผลิตภัณฑ์จากทะเล32. อุตสาหกรรมการผลิตวัสดุก่อสร้าง33. อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์34. อุตสาหกรรมอุปกรณ์กีฬา35. อุตสาหกรรมเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์บำรุงผิว36. อุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์และการออกแบบตกแต่งภายใน37. อุตสาหกรรมการศึกษาออนไลน์และการเรียนรู้ดิจิทัล38. อุตสาหกรรมการค้าปลีก (ทั้งแบบดั้งเดิมและออนไลน์)39. อุตสาหกรรมการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ (เช่น ข้าวสาลี, ข้าวโพด, อ้อย)40. อุตสาหกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ41. อุตสาหกรรมการพัฒนาและขายซอฟต์แวร์42. อุตสาหกรรมดิจิทัลมาร์เก็ตติ้ง43. อุตสาหกรรมบริการด้านการเงิน (เช่น บริษัทประกันภัย)44. อุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์45. อุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า (EV) และการผลิตแบตเตอรี่46. อุตสาหกรรมพลังงานนิวเคลียร์47. อุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร (เช่น พืชดัดแปลงพันธุกรรม)48. อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ49. อุตสาหกรรมการพิมพ์สามมิติ (3D Printing)50. อุตสาหกรรมโครงสร้างพื้นฐานด้านไอที (Data Centers)51. อุตสาหกรรมการออกแบบสถาปัตยกรรมและการวางผังเมือง52. อุตสาหกรรมการบริหารจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data)53. อุตสาหกรรมการวิเคราะห์และวิจัยตลาด54. อุตสาหกรรมการทดสอบและควบคุมคุณภาพ55. อุตสาหกรรมความปลอดภัยทางไซเบอร์56. อุตสาหกรรมอุปกรณ์การแพทย์57. อุตสาหกรรมการแพทย์ทางเลือกและการรักษาสุขภาพแบบองค์รวม58. อุตสาหกรรมเทคโนโลยีและแพลตฟอร์มการจัดการโครงข่ายพลังงาน (Smart Grid)59. อุตสาหกรรมการพัฒนาเทคโนโลยีรถไร้คนขับ60. อุตสาหกรรมโลจิสติกส์อัจฉริยะและห่วงโซ่อุปทาน61. อุตสาหกรรมการออกแบบและการพัฒนาผลิตภัณฑ์หรูหรา62. อุตสาหกรรมการผลิตวัคซีนและยาชีววัตถุ63. อุตสาหกรรมการส่งเสริมและสนับสนุนเทคโนโลยีสีเขียว64. อุตสาหกรรมระบบการเกษตรแบบยั่งยืนและเทคโนโลยีเกษตร (AgriTech)65. อุตสาหกรรมที่พักอาศัยและการบริการ (Hospitality)66. อุตสาหกรรมสถาบันทางการเงินระหว่างประเทศ67. อุตสาหกรรมการจัดการและบำบัดน้ำ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 715 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทุกวันนี้เทคโนโลยีเป็นตัวขับเคลื่อนสำคัญของเศรษฐกิจโลก Printed Circuit Board (PCB) หรือแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ กลายเป็นหัวใจหลักที่ช่วยให้การพัฒนาเทคโนโลยีเกิดขึ้นได้ ตั้งแต่อุปกรณ์สมาร์ทโฟน ยานยนต์ไฟฟ้า อุปกรณ์การแพทย์ ไปจนถึงระบบ AI และ Data Centers

    ล่าสุด ประเทศไทยได้กลายเป็นหนึ่งในผู้นำที่มีศักยภาพสูงสุดในการผลิต PCB ของอาเซียน และกำลังมุ่งหน้าสู่การเป็นหนึ่งในผู้นำระดับโลก ด้วยการสนับสนุนจากบีโอไอ ที่มุ่งเน้นการดึงดูดการลงทุนและการสร้างรากฐานสำหรับอุตสาหกรรมที่แข็งแกร่ง โดยตั้งเป้าหมายที่จะเป็นหนึ่งใน 5 ประเทศผู้ผลิต PCB ชั้นนำของโลกภายใน 5 ปีข้างหน้า

    🔶PCB คืออะไร และทำไมถึงสำคัญ

    PCB (Printed Circuit Board) คือ ส่วนประกอบสำคัญในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำหน้าที่ในการเชื่อมต่อและควบคุมการทำงานของชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เช่น ชิปหรือเซนเซอร์ ที่พบได้ในอุปกรณ์หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น สมาร์ทโฟน ยานยนต์ไฟฟ้า คอมพิวเตอร์ หรือ อุปกรณ์การแพทย์ แผงวงจรเหล่านี้ทำหน้าที่เป็นตัวส่งสัญญาณไฟฟ้าระหว่างชิ้นส่วนต่างๆ ทำให้ระบบทั้งหมดสามารถทำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

    การทำงานของ PCB สามารถอธิบายได้เหมือนกับ "ทางเดิน" ที่เชื่อมต่อพลังงานไฟฟ้าให้ไหลไปยังส่วนต่างๆ ของวงจร ซึ่งลายวงจรไฟฟ้านี้จะถูกสลักลงบนแผ่นทองแดงที่ยึดอยู่บนวัสดุแข็ง เช่น ไฟเบอร์กลาส วัสดุนี้เป็นตัวรองรับแผงวงจรและทำให้ชิ้นส่วนต่างๆ สามารถติดตั้งและทำงานได้อย่างมีเสถียรภาพ และเป็นรากฐานที่ทำให้การพัฒนานวัตกรรมทางเทคโนโลยีเป็นไปได้

    1. หัวใจของนวัตกรรมในทุกภาคส่วน : PCB มีบทบาทสำคัญในทุกอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยี ตั้งแต่อุปกรณ์ส่วนบุคคลไปจนถึงอุตสาหกรรมยานยนต์ อุปกรณ์การแพทย์ และการบิน การที่อุตสาหกรรม PCB เติบโต หมายถึงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่สูงขึ้น

    2. ตอบโจทย์การออกแบบขนาดเล็กและประสิทธิภาพสูง : เทคโนโลยี PCB รุ่นใหม่ เช่น High-Density Interconnect (HDI) และ Flexible PCB ช่วยให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มีขนาดเล็กลงและเบาขึ้น ขณะเดียวกันยังคงความสามารถในการประมวลผลและการใช้งานที่ซับซ้อน เช่น ในสมาร์ทโฟน รวมทั้งตอบโจทย์การใช้งานในอุปกรณ์สวมใส่และอุปกรณ์ทางการแพทย์

    3. ความยืดหยุ่นและความทนทานที่เพิ่มขึ้น : PCB แบบ Rigid-Flex เป็นอีกนวัตกรรมหนึ่งที่ผสมผสานความแข็งแรงและความยืดหยุ่นในแผ่นเดียวกัน ซึ่งเหมาะสำหรับอุตสาหกรรมที่ต้องการความทนทานและความสามารถในการรับแรงกระแทก เช่น อุตสาหกรรมการบินและยานยนต์

    🔶ทำไมประเทศไทยถึงกลายเป็นจุดหมายปลายทางสำคัญของการลงทุนใน PCB

    ข้อมูลจากบีโอไอ สะท้อนว่าการลงทุนในอุตสาหกรรม PCB ของประเทศไทยมีการเติบโตอย่างน่าสนใจ จากปี 2561 ถึงกลางปี 2567 มีการลงทุนรวมเกือบ 200,000 ล้านบาท โดยเฉพาะในปี 2566 ที่มีการลงทุนสูงกว่า 100,000 ล้านบาท และในครึ่งปีแรกของปี 2567 การลงทุนเพิ่มอีก 39,732 ล้านบาท ซึ่งแสดงให้เห็นถึงศักยภาพของอุตสาหกรรมและทิศทางของไทยที่กำลังก้าวสู่การเป็นศูนย์กลางการผลิต PCB ในระดับโลก

    1. การเติบโตอย่างรวดเร็วของการลงทุนจากต่างประเทศ : นักลงทุนจาก จีน ไต้หวัน ญี่ปุ่น เข้ามาลงทุนในประเทศไทยมากขึ้น เนื่องจากความไม่แน่นอนทางภูมิรัฐศาสตร์ในภูมิภาคอื่นๆ และการมองเห็นศักยภาพในความเสถียรทางเศรษฐกิจและโครงสร้างพื้นฐานของประเทศไทย

    2. ข้อได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ : ไทยมี แรงงานที่พร้อมพัฒนาทักษะ โครงสร้างพื้นฐานที่แข็งแกร่ง และ ห่วงโซ่อุปทานที่ครบวงจร ไม่ว่าจะเป็นการผลิตชิ้นส่วน การเคลือบ การเจาะ การทดสอบทางไฟฟ้า รวมถึงการประกอบชิ้นส่วนขั้นสูง ทำให้สามารถรองรับการผลิตที่ต้องการความแม่นยำและเทคโนโลยีสูงได้อย่างเต็มที่

    3. การสนับสนุนจากบีโอไอ : ที่มีบทบาทสำคัญในการดึงดูดการลงทุนผ่านการมอบสิทธิประโยชน์ต่างๆ ทั้งการยกเว้นภาษี การยกเว้นภาษีนำเข้าวัตถุดิบ และการสนับสนุนด้านโครงสร้างพื้นฐาน พร้อมทั้งยังเน้นการพัฒนาบุคลากรที่มีทักษะสูง ผ่านการจัดโครงการ Job matching และการฝึกอบรมบุคลากรเพื่อรองรับอุตสาหกรรม PCB โดยเฉพาะ

    🔶การเติบโตสู่ระดับโลก : เป้าหมายของไทยใน 5 ปีข้างหน้า

    ประเทศไทยตั้งเป้าที่จะก้าวขึ้นเป็นหนึ่งใน 5 ประเทศผู้ผลิต PCB ชั้นนำของโลก ภายใน 5 ปีข้างหน้า การเป็นศูนย์กลางการผลิตในภูมิภาคและการเชื่อมโยงกับห่วงโซ่อุปทานระดับโลก ทำให้ไทยเป็นจุดหมายปลายทางสำคัญสำหรับนักลงทุนที่ต้องการขยายธุรกิจในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีขั้นสูง

    ประเทศไทยกำลังมุ่งหน้าไปสู่การเป็นผู้นำด้านอุตสาหกรรม PCB ระดับโลกภายใน 5 ปี ด้วยการสนับสนุนจากบีโอไอ ที่เน้น 3 ด้านหลัก คือ การพัฒนาบุคลากร การเสริมสร้างห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) และ สนับสนุนการใช้พลังงานสะอาด เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน

    1. การพัฒนาบุคลากร : บีโอไอ ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยและภาคเอกชนในการฝึกอบรมบุคลากรและจับคู่ธุรกิจ เพื่อสร้างแรงงานที่มีทักษะสูงสำหรับอุตสาหกรรม PCB

    2. การเสริมสร้างห่วงโซ่อุปทาน : นอกจากการผลิต PCB แล้ว ไทยยังสนับสนุนกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง เช่น การเคลือบ การเจาะ การเชื่อมวงจร และการผลิตชิ้นส่วนที่สนับสนุนการเติบโตของห่วงโซ่อุปทานภายในประเทศ ผ่านงานจับคู่ธุรกิจอย่าง Subcon Thailand และ Thailand Electronics Circuit Asia (THECA)

    3. การใช้พลังงานสะอาด : การผลิต PCB ใช้พลังงานและน้ำจำนวนมาก จึงมีการสนับสนุนการใช้พลังงานสะอาดผ่านโครงการ Utility Green Tariff (UGT) และการจัดการน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้การผลิตมีความยั่งยืนและไม่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม

    การใช้พลังงานสะอาด : การผลิต PCB ต้องการพลังงานและน้ำในปริมาณมาก ปัจจุบันกระทรวงพลังงานกำลังดำเนินโครงการ Utility Green Tariff (UGT) ซึ่งเป็นอัตราค่าไฟฟ้าที่ใช้พลังงานสะอาดจากแหล่งพลังงานหมุนเวียน เช่น พลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานลม เพื่อสนับสนุนการใช้พลังงานสีเขียวในภาคอุตสาหกรรม ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ลงทุนมั่นใจว่ามีแหล่งพลังงานสะอาดเพียงพอ รวมถึงการจัดการน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้กระบวนการผลิตยั่งยืนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

    ✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨
    #บีโอไอส่งเสริมการลงทุนทั้งคนไทยและต่างชาติทุกขนาดการลงทุน
    📱 0 2553 8111
    📧 head@boi.go.th
    🌐 www.boi.go.th
    🔰ไม่มีค่าใช้จ่ายในการติดต่อ

    #PCB #SupplyChain #ThailandTechHub #PCBInnovation #TopPCBThailand
    ทุกวันนี้เทคโนโลยีเป็นตัวขับเคลื่อนสำคัญของเศรษฐกิจโลก Printed Circuit Board (PCB) หรือแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ กลายเป็นหัวใจหลักที่ช่วยให้การพัฒนาเทคโนโลยีเกิดขึ้นได้ ตั้งแต่อุปกรณ์สมาร์ทโฟน ยานยนต์ไฟฟ้า อุปกรณ์การแพทย์ ไปจนถึงระบบ AI และ Data Centers ล่าสุด ประเทศไทยได้กลายเป็นหนึ่งในผู้นำที่มีศักยภาพสูงสุดในการผลิต PCB ของอาเซียน และกำลังมุ่งหน้าสู่การเป็นหนึ่งในผู้นำระดับโลก ด้วยการสนับสนุนจากบีโอไอ ที่มุ่งเน้นการดึงดูดการลงทุนและการสร้างรากฐานสำหรับอุตสาหกรรมที่แข็งแกร่ง โดยตั้งเป้าหมายที่จะเป็นหนึ่งใน 5 ประเทศผู้ผลิต PCB ชั้นนำของโลกภายใน 5 ปีข้างหน้า 🔶PCB คืออะไร และทำไมถึงสำคัญ PCB (Printed Circuit Board) คือ ส่วนประกอบสำคัญในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำหน้าที่ในการเชื่อมต่อและควบคุมการทำงานของชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เช่น ชิปหรือเซนเซอร์ ที่พบได้ในอุปกรณ์หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น สมาร์ทโฟน ยานยนต์ไฟฟ้า คอมพิวเตอร์ หรือ อุปกรณ์การแพทย์ แผงวงจรเหล่านี้ทำหน้าที่เป็นตัวส่งสัญญาณไฟฟ้าระหว่างชิ้นส่วนต่างๆ ทำให้ระบบทั้งหมดสามารถทำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ การทำงานของ PCB สามารถอธิบายได้เหมือนกับ "ทางเดิน" ที่เชื่อมต่อพลังงานไฟฟ้าให้ไหลไปยังส่วนต่างๆ ของวงจร ซึ่งลายวงจรไฟฟ้านี้จะถูกสลักลงบนแผ่นทองแดงที่ยึดอยู่บนวัสดุแข็ง เช่น ไฟเบอร์กลาส วัสดุนี้เป็นตัวรองรับแผงวงจรและทำให้ชิ้นส่วนต่างๆ สามารถติดตั้งและทำงานได้อย่างมีเสถียรภาพ และเป็นรากฐานที่ทำให้การพัฒนานวัตกรรมทางเทคโนโลยีเป็นไปได้ 1. หัวใจของนวัตกรรมในทุกภาคส่วน : PCB มีบทบาทสำคัญในทุกอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยี ตั้งแต่อุปกรณ์ส่วนบุคคลไปจนถึงอุตสาหกรรมยานยนต์ อุปกรณ์การแพทย์ และการบิน การที่อุตสาหกรรม PCB เติบโต หมายถึงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่สูงขึ้น 2. ตอบโจทย์การออกแบบขนาดเล็กและประสิทธิภาพสูง : เทคโนโลยี PCB รุ่นใหม่ เช่น High-Density Interconnect (HDI) และ Flexible PCB ช่วยให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มีขนาดเล็กลงและเบาขึ้น ขณะเดียวกันยังคงความสามารถในการประมวลผลและการใช้งานที่ซับซ้อน เช่น ในสมาร์ทโฟน รวมทั้งตอบโจทย์การใช้งานในอุปกรณ์สวมใส่และอุปกรณ์ทางการแพทย์ 3. ความยืดหยุ่นและความทนทานที่เพิ่มขึ้น : PCB แบบ Rigid-Flex เป็นอีกนวัตกรรมหนึ่งที่ผสมผสานความแข็งแรงและความยืดหยุ่นในแผ่นเดียวกัน ซึ่งเหมาะสำหรับอุตสาหกรรมที่ต้องการความทนทานและความสามารถในการรับแรงกระแทก เช่น อุตสาหกรรมการบินและยานยนต์ 🔶ทำไมประเทศไทยถึงกลายเป็นจุดหมายปลายทางสำคัญของการลงทุนใน PCB ข้อมูลจากบีโอไอ สะท้อนว่าการลงทุนในอุตสาหกรรม PCB ของประเทศไทยมีการเติบโตอย่างน่าสนใจ จากปี 2561 ถึงกลางปี 2567 มีการลงทุนรวมเกือบ 200,000 ล้านบาท โดยเฉพาะในปี 2566 ที่มีการลงทุนสูงกว่า 100,000 ล้านบาท และในครึ่งปีแรกของปี 2567 การลงทุนเพิ่มอีก 39,732 ล้านบาท ซึ่งแสดงให้เห็นถึงศักยภาพของอุตสาหกรรมและทิศทางของไทยที่กำลังก้าวสู่การเป็นศูนย์กลางการผลิต PCB ในระดับโลก 1. การเติบโตอย่างรวดเร็วของการลงทุนจากต่างประเทศ : นักลงทุนจาก จีน ไต้หวัน ญี่ปุ่น เข้ามาลงทุนในประเทศไทยมากขึ้น เนื่องจากความไม่แน่นอนทางภูมิรัฐศาสตร์ในภูมิภาคอื่นๆ และการมองเห็นศักยภาพในความเสถียรทางเศรษฐกิจและโครงสร้างพื้นฐานของประเทศไทย 2. ข้อได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ : ไทยมี แรงงานที่พร้อมพัฒนาทักษะ โครงสร้างพื้นฐานที่แข็งแกร่ง และ ห่วงโซ่อุปทานที่ครบวงจร ไม่ว่าจะเป็นการผลิตชิ้นส่วน การเคลือบ การเจาะ การทดสอบทางไฟฟ้า รวมถึงการประกอบชิ้นส่วนขั้นสูง ทำให้สามารถรองรับการผลิตที่ต้องการความแม่นยำและเทคโนโลยีสูงได้อย่างเต็มที่ 3. การสนับสนุนจากบีโอไอ : ที่มีบทบาทสำคัญในการดึงดูดการลงทุนผ่านการมอบสิทธิประโยชน์ต่างๆ ทั้งการยกเว้นภาษี การยกเว้นภาษีนำเข้าวัตถุดิบ และการสนับสนุนด้านโครงสร้างพื้นฐาน พร้อมทั้งยังเน้นการพัฒนาบุคลากรที่มีทักษะสูง ผ่านการจัดโครงการ Job matching และการฝึกอบรมบุคลากรเพื่อรองรับอุตสาหกรรม PCB โดยเฉพาะ 🔶การเติบโตสู่ระดับโลก : เป้าหมายของไทยใน 5 ปีข้างหน้า ประเทศไทยตั้งเป้าที่จะก้าวขึ้นเป็นหนึ่งใน 5 ประเทศผู้ผลิต PCB ชั้นนำของโลก ภายใน 5 ปีข้างหน้า การเป็นศูนย์กลางการผลิตในภูมิภาคและการเชื่อมโยงกับห่วงโซ่อุปทานระดับโลก ทำให้ไทยเป็นจุดหมายปลายทางสำคัญสำหรับนักลงทุนที่ต้องการขยายธุรกิจในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีขั้นสูง ประเทศไทยกำลังมุ่งหน้าไปสู่การเป็นผู้นำด้านอุตสาหกรรม PCB ระดับโลกภายใน 5 ปี ด้วยการสนับสนุนจากบีโอไอ ที่เน้น 3 ด้านหลัก คือ การพัฒนาบุคลากร การเสริมสร้างห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) และ สนับสนุนการใช้พลังงานสะอาด เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน 1. การพัฒนาบุคลากร : บีโอไอ ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยและภาคเอกชนในการฝึกอบรมบุคลากรและจับคู่ธุรกิจ เพื่อสร้างแรงงานที่มีทักษะสูงสำหรับอุตสาหกรรม PCB 2. การเสริมสร้างห่วงโซ่อุปทาน : นอกจากการผลิต PCB แล้ว ไทยยังสนับสนุนกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง เช่น การเคลือบ การเจาะ การเชื่อมวงจร และการผลิตชิ้นส่วนที่สนับสนุนการเติบโตของห่วงโซ่อุปทานภายในประเทศ ผ่านงานจับคู่ธุรกิจอย่าง Subcon Thailand และ Thailand Electronics Circuit Asia (THECA) 3. การใช้พลังงานสะอาด : การผลิต PCB ใช้พลังงานและน้ำจำนวนมาก จึงมีการสนับสนุนการใช้พลังงานสะอาดผ่านโครงการ Utility Green Tariff (UGT) และการจัดการน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้การผลิตมีความยั่งยืนและไม่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม การใช้พลังงานสะอาด : การผลิต PCB ต้องการพลังงานและน้ำในปริมาณมาก ปัจจุบันกระทรวงพลังงานกำลังดำเนินโครงการ Utility Green Tariff (UGT) ซึ่งเป็นอัตราค่าไฟฟ้าที่ใช้พลังงานสะอาดจากแหล่งพลังงานหมุนเวียน เช่น พลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานลม เพื่อสนับสนุนการใช้พลังงานสีเขียวในภาคอุตสาหกรรม ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ลงทุนมั่นใจว่ามีแหล่งพลังงานสะอาดเพียงพอ รวมถึงการจัดการน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้กระบวนการผลิตยั่งยืนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨✨ #บีโอไอส่งเสริมการลงทุนทั้งคนไทยและต่างชาติทุกขนาดการลงทุน 📱 0 2553 8111 📧 head@boi.go.th 🌐 www.boi.go.th 🔰ไม่มีค่าใช้จ่ายในการติดต่อ #PCB #SupplyChain #ThailandTechHub #PCBInnovation #TopPCBThailand
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 362 มุมมอง 0 รีวิว
  • ส.ส.สหรัฐชื่นชม Google ที่อาจซื้อบริษัทเทคโนโลยีของเอล
    การที่ Google อาจเข้าซื้อบริษัทเทคโนโลยี Wiz ของเอล ถือเป็นการ "ชูนิ้วกลางมูลค่า 23,000 ล้านดอลลาร์" ต่อการคว่ำบาตร ถอนการลงทุน และคว่ำบาตรเอล โดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐฯ ริตชี ตอร์เรส กล่าว
    ทั้งบริษัทเทคโนโลยียักษ์ใหญ่ของสหรัฐฯ และอุตสาหกรรมเทคโนโลยีของเอลต่างถูกกล่าวหาว่าแสวงหากำไรจากการเฝ้าติดตามชาวปาเลสอย่างแพร่หลายของเอล
    ในเดือนเมษายน Google ได้ไล่พนักงานออกไปประมาณ 28 ราย ซึ่งเข้าร่วมการประท้วงนั่งลงเพื่อต่อต้านยักษ์ใหญ่ด้านเทคโนโลยีที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับ Project Nimbus ซึ่งเป็นการให้บริการระบบคลาวด์คอมพิวติ้งและปัญญาประดิษฐ์แก่รัฐบาลเอล
    .
    #WAYTNEWS #WayTNews #waytnews
    #ข่าวสารอัพเดท #ติดตามข่าว #สถานการณ์ปัจจุบัน #ข่าวสารความจริง
    -------------------------------
    สนใจโปรไวต้า คลิก▶ https://www.facebook.com/TPIPolene?locale=t
    ส.ส.สหรัฐชื่นชม Google ที่อาจซื้อบริษัทเทคโนโลยีของเอล การที่ Google อาจเข้าซื้อบริษัทเทคโนโลยี Wiz ของเอล ถือเป็นการ "ชูนิ้วกลางมูลค่า 23,000 ล้านดอลลาร์" ต่อการคว่ำบาตร ถอนการลงทุน และคว่ำบาตรเอล โดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐฯ ริตชี ตอร์เรส กล่าว ทั้งบริษัทเทคโนโลยียักษ์ใหญ่ของสหรัฐฯ และอุตสาหกรรมเทคโนโลยีของเอลต่างถูกกล่าวหาว่าแสวงหากำไรจากการเฝ้าติดตามชาวปาเลสอย่างแพร่หลายของเอล ในเดือนเมษายน Google ได้ไล่พนักงานออกไปประมาณ 28 ราย ซึ่งเข้าร่วมการประท้วงนั่งลงเพื่อต่อต้านยักษ์ใหญ่ด้านเทคโนโลยีที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับ Project Nimbus ซึ่งเป็นการให้บริการระบบคลาวด์คอมพิวติ้งและปัญญาประดิษฐ์แก่รัฐบาลเอล . #WAYTNEWS #WayTNews #waytnews #ข่าวสารอัพเดท #ติดตามข่าว #สถานการณ์ปัจจุบัน #ข่าวสารความจริง ------------------------------- สนใจโปรไวต้า คลิก▶ https://www.facebook.com/TPIPolene?locale=t
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 419 มุมมอง 0 รีวิว