• คำว่า "ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง" ไม่เคยมีอยู่ในกมลสันดาลของคนในสกุลชินทุกคนที่เข้ามาเป็นผู้นำประเทศ มีแต่มอมเมาคนโทยให้หลงทาง ให้มีความหวังลม ๆ แล้ง ๆ ทำลายรากฐานศาสนาและวัฒนธรรม เช่น ส่งเสริมให้มีนิกายบิดเบือนคำสอนของพระพุทธเจ้าอย่างชัดแจ้ง ส่งทั้งพระและฆารวาสเข้าแทรกแซงองค์กรพระพุทธศาสนา ส่งเสริมการพนันออนไลด์ อันเป็นหนทางแห่งความพินาศฉิบหายของชาติ

    ผู้นำประเทศในสกุลนี้ ทำร้ายชาติมามากแล้ว มากเกือบจะไม่มีรากแก้วให้ค้ำยันต้นไม้ของพ่อแล้ว ขืนปล่อยเวลาให้เนิ่นนานต่อไป ประเทศไทยล้มสลายแน่
    คำว่า "ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง" ไม่เคยมีอยู่ในกมลสันดาลของคนในสกุลชินทุกคนที่เข้ามาเป็นผู้นำประเทศ มีแต่มอมเมาคนโทยให้หลงทาง ให้มีความหวังลม ๆ แล้ง ๆ ทำลายรากฐานศาสนาและวัฒนธรรม เช่น ส่งเสริมให้มีนิกายบิดเบือนคำสอนของพระพุทธเจ้าอย่างชัดแจ้ง ส่งทั้งพระและฆารวาสเข้าแทรกแซงองค์กรพระพุทธศาสนา ส่งเสริมการพนันออนไลด์ อันเป็นหนทางแห่งความพินาศฉิบหายของชาติ ผู้นำประเทศในสกุลนี้ ทำร้ายชาติมามากแล้ว มากเกือบจะไม่มีรากแก้วให้ค้ำยันต้นไม้ของพ่อแล้ว ขืนปล่อยเวลาให้เนิ่นนานต่อไป ประเทศไทยล้มสลายแน่
    0 Comments 0 Shares 44 Views 0 Reviews
  • 🙏✨#หลวงปู่ไข่ วัดเชิงเลน พระผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบเปี่ยมด้วยเมตตา พระเครื่องของท่านสูงด้วยคุณค่ายอดนิยม ขณะที่พุทธคุณเลื่องชื่อรอบด้าน เหรียญนี้เป็นเหรียญรุ่นสองจัดสร้างในปีพ.ศ.2515 ในวาระครบ40 ปีนับจากวันมรณภาพของหลวงปู่ มีด้วยกันจัด2พิมพ์คือรูปไข่และทรงกลม โดยพิธีปลุกเสกมีพระเกจิอาจารย์ชื่อดังในยุคสมัยนั้นมาร่วมอธิษฐานจิตปลุกเสกมากมายถึง 56 รูป อาทิเช่น #หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี
    🙏✨#หลวงปู่ไข่ วัดเชิงเลน พระผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบเปี่ยมด้วยเมตตา พระเครื่องของท่านสูงด้วยคุณค่ายอดนิยม ขณะที่พุทธคุณเลื่องชื่อรอบด้าน เหรียญนี้เป็นเหรียญรุ่นสองจัดสร้างในปีพ.ศ.2515 ในวาระครบ40 ปีนับจากวันมรณภาพของหลวงปู่ มีด้วยกันจัด2พิมพ์คือรูปไข่และทรงกลม โดยพิธีปลุกเสกมีพระเกจิอาจารย์ชื่อดังในยุคสมัยนั้นมาร่วมอธิษฐานจิตปลุกเสกมากมายถึง 56 รูป อาทิเช่น #หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี
    0 Comments 0 Shares 63 Views 0 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​แม้เพียงปฐมฌาน ก็ชื่อว่าเป็นที่หลบพ้นภัยจากมาร
    สัทธรรมลำดับที่ : 949
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=949
    ชื่อบทธรรม : -แม้เพียงปฐมฌาน ก็ชื่อว่าเป็นที่หลบพ้นภัยจากมาร
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --แม้เพียงปฐมฌาน ก็ชื่อว่าเป็นที่หลบพ้นภัยจากมาร
    (พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสข้อความปรารภการสงครามระหว่างเทวดากับอสูร
    : ถ้าฝ่ายใดแพ้ถูกไล่ติดตามไปจนถึงภพเป็นที่อยู่แห่งตน
    ก็พ้นจาการถูกไล่ติดตาม ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายไหน.
    สรุปความว่า ภพแห่งตนเป็นที่พึ่งที่ต้านทานของตน สำหรับชนสามัญทั่วไป;
    ส่วนสำหรับภิกษุนั้น ตรัสว่า :-
    )​
    --ภิกษุ ท. ! ฉันใดก็ฉันนั้น
    : ในสมัยใด ภิกษุสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึง &​ปฐมฌาน
    อันมีวิตกมีวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่ ;
    --ภิกษุ ท. ! ในสมัยนั้น ภิกษุย่อมคิดอย่างนี้ว่า
    “ในกาลนี้ เรา มีตนอันถึงแล้ว ซึ่งที่ต้านทานสำหรับสัตว์ผู้กลัวอยู่ มารจะไม่ทำอะไรได้”.
    --ภิกษุ ท. ! แม้มารผู้มีบาป ก็คิดอย่างนี้ว่า
    “ในกาลนี้ ภิกษุมีตนอันถึงแล้ว ซึ่งที่ต้านทานสำหรับสัตว์ผู้กลัวอยู่ เราจะทำอะไรไม่ได้”.
    (ในกรณีแห่ง
    &ทุติยฌาน...
    &ตติยฌาน... และ
    &จตุตถฌาน...
    ก็ได้ตรัสข้อความทำนองเดียวกัน ผิดกันแต่ชื่อแห่งฌาน
    ไม่จำเป็นต้องนำมาใส่ไว้ ในที่นี้ให้ยืดยาว
    จักข้ามไปยังข้อความที่กล่าวถึง อากาสานัญจายตนะ :-
    )
    --ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด ภิกษุ
    เพราะก้าวล่วงซึ่ง รูปสัญญา เสียได้โดยประการทั้งปวง
    เพราะการดับไปแห่ง ปฏิฆสัญญา
    เพราะการไม่ทำไว้ในใจซึ่ง นานัตตสัญญา
    จึงเข้าถึง &​อากาสานัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อากาศ ไม่มีที่สิ้นสุด”
    ดังนี้ แล้วแลอยู่.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนี้เรากล่าวว่า
    ได้กระทำมารให้ถึงที่สุด ให้ไม่มีทางไป
    ได้ถึงที่ซึ่งจักษุของมารผู้มีบาปมองไม่เห็น.
    (ในกรณีแห่ฌานที่ถัดไป คือ
    &วิญญาณัญจายตนะ...
    &อากิญจัญญายตนะ... และ
    &เนวสัญญานาสัญญายตนะ....
    ก็ได้ตรัสข้อความทำนองเดียวกัน ผิดกันแต่ชื่อแห่งฌาน
    ไม่จำเป็นต้องนำมาใส่ไว้ ในที่นี้ให้ยืดยาว.
    ส่วนในกรณีแห่งสัญญาเวทยิตนิโรธ นั้น ได้ตรัสว่า:-
    )
    --ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด ภิกษุ
    เพราะก้าวล่วงซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะเสียได้โดยประการทั้งปวง
    จึงเข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่,
    #อาสวะของเธอก็สิ้นสุดไปเพราะเห็นแล้วด้วยปัญญา.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/456/?keywords=อาสวา+ปริกฺขีณา+โหนฺติ
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนี้เรากล่าวว่า
    ได้กระทำมารให้ถึงที่สุด ให้ไม่มีทางไป
    ได้ถึงที่ซึ่งจักษุของมารผู้มีบาปมองไม่เห็น ,
    ข้ามได้แล้วซึ่งเครื่องข้อง (คือตัณหา) ในโลก
    ดังนี้.-
    (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า เมื่อจิตอยู่ในปฐมฌาน,
    เพียงเท่านั้นจิตก็จะพ้นจากการรบกวนทำร้ายของมาร
    คือนิวรณ์ กิเลส และความรู้สึกอันเป็นทุกข์อื่นๆ
    เพราะอำนาจของปฐมฌานมีมากพอที่จะระงับความรู้สึกอันเป็นทุกข์นั้นเสียได้
    แม้ไม่ตลอดไปก็ต้องได้ในระยะหนึ่งๆ เพื่อเป็นโอกาสให้ได้ปฏิบัติสูงขึ้นไป จนถึงที่สุด.
    ดังนั้น เราควรฝึกฝนอย่างน้อยที่สุดในปฐมฌาน
    สำหรับ เป็นที่หลบภัยจากมารเมื่อไรก็ได้ ดังกล่าวแล้ว
    ).

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก.อ. 23/350-353/243.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/350/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก.อ. ๒๓/๔๕๐-๔๕๓/๒๔๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/450/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%93
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=949
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=949
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​แม้เพียงปฐมฌาน ก็ชื่อว่าเป็นที่หลบพ้นภัยจากมาร สัทธรรมลำดับที่ : 949 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=949 ชื่อบทธรรม : -แม้เพียงปฐมฌาน ก็ชื่อว่าเป็นที่หลบพ้นภัยจากมาร เนื้อความทั้งหมด :- --แม้เพียงปฐมฌาน ก็ชื่อว่าเป็นที่หลบพ้นภัยจากมาร (พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสข้อความปรารภการสงครามระหว่างเทวดากับอสูร : ถ้าฝ่ายใดแพ้ถูกไล่ติดตามไปจนถึงภพเป็นที่อยู่แห่งตน ก็พ้นจาการถูกไล่ติดตาม ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายไหน. สรุปความว่า ภพแห่งตนเป็นที่พึ่งที่ต้านทานของตน สำหรับชนสามัญทั่วไป; ส่วนสำหรับภิกษุนั้น ตรัสว่า :- )​ --ภิกษุ ท. ! ฉันใดก็ฉันนั้น : ในสมัยใด ภิกษุสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึง &​ปฐมฌาน อันมีวิตกมีวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่ ; --ภิกษุ ท. ! ในสมัยนั้น ภิกษุย่อมคิดอย่างนี้ว่า “ในกาลนี้ เรา มีตนอันถึงแล้ว ซึ่งที่ต้านทานสำหรับสัตว์ผู้กลัวอยู่ มารจะไม่ทำอะไรได้”. --ภิกษุ ท. ! แม้มารผู้มีบาป ก็คิดอย่างนี้ว่า “ในกาลนี้ ภิกษุมีตนอันถึงแล้ว ซึ่งที่ต้านทานสำหรับสัตว์ผู้กลัวอยู่ เราจะทำอะไรไม่ได้”. (ในกรณีแห่ง &ทุติยฌาน... &ตติยฌาน... และ &จตุตถฌาน... ก็ได้ตรัสข้อความทำนองเดียวกัน ผิดกันแต่ชื่อแห่งฌาน ไม่จำเป็นต้องนำมาใส่ไว้ ในที่นี้ให้ยืดยาว จักข้ามไปยังข้อความที่กล่าวถึง อากาสานัญจายตนะ :- ) --ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด ภิกษุ เพราะก้าวล่วงซึ่ง รูปสัญญา เสียได้โดยประการทั้งปวง เพราะการดับไปแห่ง ปฏิฆสัญญา เพราะการไม่ทำไว้ในใจซึ่ง นานัตตสัญญา จึงเข้าถึง &​อากาสานัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อากาศ ไม่มีที่สิ้นสุด” ดังนี้ แล้วแลอยู่. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ได้กระทำมารให้ถึงที่สุด ให้ไม่มีทางไป ได้ถึงที่ซึ่งจักษุของมารผู้มีบาปมองไม่เห็น. (ในกรณีแห่ฌานที่ถัดไป คือ &วิญญาณัญจายตนะ... &อากิญจัญญายตนะ... และ &เนวสัญญานาสัญญายตนะ.... ก็ได้ตรัสข้อความทำนองเดียวกัน ผิดกันแต่ชื่อแห่งฌาน ไม่จำเป็นต้องนำมาใส่ไว้ ในที่นี้ให้ยืดยาว. ส่วนในกรณีแห่งสัญญาเวทยิตนิโรธ นั้น ได้ตรัสว่า:- ) --ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด ภิกษุ เพราะก้าวล่วงซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะเสียได้โดยประการทั้งปวง จึงเข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่, #อาสวะของเธอก็สิ้นสุดไปเพราะเห็นแล้วด้วยปัญญา. http://etipitaka.com/read/pali/23/456/?keywords=อาสวา+ปริกฺขีณา+โหนฺติ --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ได้กระทำมารให้ถึงที่สุด ให้ไม่มีทางไป ได้ถึงที่ซึ่งจักษุของมารผู้มีบาปมองไม่เห็น , ข้ามได้แล้วซึ่งเครื่องข้อง (คือตัณหา) ในโลก ดังนี้.- (ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า เมื่อจิตอยู่ในปฐมฌาน, เพียงเท่านั้นจิตก็จะพ้นจากการรบกวนทำร้ายของมาร คือนิวรณ์ กิเลส และความรู้สึกอันเป็นทุกข์อื่นๆ เพราะอำนาจของปฐมฌานมีมากพอที่จะระงับความรู้สึกอันเป็นทุกข์นั้นเสียได้ แม้ไม่ตลอดไปก็ต้องได้ในระยะหนึ่งๆ เพื่อเป็นโอกาสให้ได้ปฏิบัติสูงขึ้นไป จนถึงที่สุด. ดังนั้น เราควรฝึกฝนอย่างน้อยที่สุดในปฐมฌาน สำหรับ เป็นที่หลบภัยจากมารเมื่อไรก็ได้ ดังกล่าวแล้ว ). #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก.อ. 23/350-353/243. http://etipitaka.com/read/thai/23/350/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก.อ. ๒๓/๔๕๐-๔๕๓/๒๔๓. http://etipitaka.com/read/pali/23/450/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%93 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=949 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=949 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (ในสูตรอื่นแสดงอานิสงส์แห่งการหลีกเร้นไว้ด้วยการ รู้ชัดการเกิดขึ้นและความดับไปแห่งขันธ์ห้า ก็มี. - ๑๗/๒๐/๓๐. (ดูรายละเอียดของความเกิดและความดับแห่งขันธ์ห้า ในหนังสือ ปฏิจจ. โอ. หน้า ๒๕๙ - ๒๖๒ และที่หน้า ๓๓๘ - ๓๔๑ .
    -(ในสูตรอื่นแสดงอานิสงส์แห่งการหลีกเร้นไว้ด้วยการ รู้ชัดการเกิดขึ้นและความดับไปแห่งขันธ์ห้า ก็มี. - ๑๗/๒๐/๓๐. (ดูรายละเอียดของความเกิดและความดับแห่งขันธ์ห้า ในหนังสือ ปฏิจจ. โอ. หน้า ๒๕๙ - ๒๖๒ และที่หน้า ๓๓๘ - ๓๔๑ . ในสูตรอื่นแสดงไว้ด้วยการ รู้ชัดอริยสัจสี่ ก็มี ดังที่ได้ยกมาไว้ในภาคนำแห่งหนังสือเล่มนี้ ที่หน้า ๗๕. ในสูตรอื่นแสดงไว้ด้วยการ รู้ชัดอายตนิกธรรม ๖ หมวดๆ ละ ๕ อย่างคือ จักษุ รูป จักขุวิญญาณ จักขุสัมผัส เวทนาที่เกิดขึ้นจากจักขุสัมผัส ฯลฯ รวมเป็นรู้ชัดอายตนิกธรรม ๓๐ อย่าง ว่าเป็นอนิจจัง ก็มี. - ๑๘/๑๐๐/๑๔๘. ในสูตรอื่นแสดงไว้ด้วยการปรากฏของอายตนิกธรรมทั้ง ๖ หมวดนั้น โดยความเป็นอนิจจัง ก็มี. - ๑๘/๑๘๑/๒๕๐). แม้เพียงปฐมฌาน ก็ชื่อว่าเป็นที่หลบพ้นภัยจากมาร (พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสข้อความปรารภการสงครามระหว่างเทวดากับอสูร : ถ้าฝ่ายใดแพ้ถูกไล่ติดตามไปจนถึงภพเป็นที่อยู่แห่งตน ก็พ้นจาการถูกไล่ติดตาม ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายไหน. สรุปความว่า ภพแห่งตนเป็นที่พึ่งที่ต้านทานของตน สำหรับชนสามัญทั่วไป; ส่วนสำหรับภิกษุนั้น ตรัสว่า :-) ภิกษุ ท. ! ฉันใดก็ฉันนั้น : ในสมัยใด ภิกษุสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกมีวิจาร มีปิติและสุข อันเกิดแต่วิเวกแล้วแลอยู่ ; ภิกษุ ท. ! ในสมัยนั้น ภิกษุย่อมคิดอย่างนี้ว่า “ในกาลนี้ เรา มีตนอันถึงแล้ว ซึ่งที่ต้านทานสำหรับสัตว์ผู้กลัวอยู่ มารจะไม่ทำอะไรได้”. ภิกษุ ท. ! แม้มารผู้มีบาป ก็คิดอย่างนี้ว่า “ในกาลนี้ ภิกษุมีตนอันถึงแล้ว ซึ่งที่ต้านทานสำหรับสัตว์ผู้กลัว อยู่ เราจะทำอะไรไม่ได้”. (ในกรณีแห่ง ทุติยฌาน ตติยฌาน และจตุตถฌาน ก็ได้ตรัสข้อความทำนองเดียวกัน ผิดกันแต่ชื่อแห่งฌาน ไม่จำเป็นต้องนำมาใส่ไว้ ในที่นี้ให้ยืดยาว จักข้ามไปยังข้อความที่กล่าวถึงอากาสานัญจายตนะ :-) ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด ภิกษุ เพราะก้าวล่วงซึ่งรูปสัญญาเสียได้โดยประการทั้งปวง เพราะการดับไปแห่ง ปฏิฆสัญญา เพราะการไม่ทำไว้ในใจ ซึ่งนานัตตสัญญา จึงเข้าถึง อากาสานัญจายตนะ อันมีการทำในใจว่า “อากาศ ไม่มีที่สิ้นสุด” ดังนี้ แล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ได้กระทำมารให้ถึงที่สุด ให้ไม่มีทางไป ได้ถึงที่ซึ่งจักษุของมารผู้มีบาปมองไม่เห็น. (ในกรณีแห่ฌานที่ถัดไป คือ วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ และเนวสัญญานาสัญญายตนะ ก็ได้ตรัสข้อความทำนองเดียวกัน ผิดกันแต่ชื่อแห่งฌาน ไม่จำเป็นต้องนำมาใส่ไว้ ในที่นี้ให้ยืดยาว. ส่วนในกรณีแห่งสัญญาเวทยิตนิโรธ นั้น ได้ตรัสว่า:-) ภิกษุ ท. ! ในสมัยใด ภิกษุ เพราะก้าวล่วงซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะเสียได้โดยประการทั้งปวง จึงเข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่, อาสวะของเธอก็สิ้นสุดไป เพราะเห็นแล้วด้วยปัญญา. ภิกษุ ท. ! ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ได้กระทำมารให้ถึงที่สุด ให้ไม่มีทางไป ได้ถึงที่ซึ่งจักษุของมารผู้มีบาปมองไม่เห็น , ข้ามได้แล้วซึ่งเครื่องข้อง (คือตัณหา) ในโลก ดังนี้.
    0 Comments 0 Shares 134 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าหมดตัวตน ก็หมดอหังการ
    สัทธรรมลำดับที่ : 578
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=578
    ชื่อบทธรรม :- หมดตัวตน ก็หมดอหังการ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หมดตัวตน ก็หมดอหังการ
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! บุคคลมารู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร
    จึงไม่ยึดถือว่าเรา ไม่ยึดถือ ว่าของเรา อันเป็นอนุสัยคือมานะ
    ในกายอันมีวิญญาณนี้ และในนิมิตทั้งปวงภายนอก ? พระเจ้าข้า !”
    --กัปปะ ! รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เหล่าใด
    ทั้งที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน
    อันมีอยู่ภายในหรือข้างนอกก็ดี
    หยาบหรือละเอียดก็ดี
    เลวหรือประณีตก็ดี
    อยู่ห่างไกลหรืออยู่ใกล้ก็ดี
    อริยสาวกได้เห็นสิ่งทั้งหมดนั้น ด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงว่า
    นั้นไม่ใช่ตัวของเรา (เนตํ มม)
    นั่นไม่ใช่ตนเป็นเรา (เนโสหมสฺมิ)
    นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา (น เมโส อตฺตา)
    http://etipitaka.com/read/pali/17/207/?keywords=เนตํ+เนโสหมสฺมิ+อตฺตา
    ดังนี้นั่นแหละ ;

    --กัปปะ ! บุคคลต้องรู้อย่างนี้แหละ เห็นอยู่อย่างนี้แหละ จึง
    ไม่ยึดถือว่าเรา ไม่ยึดถือว่าของเรา
    อันเป็นอนุสัยคือมานะในกายอันมีมโนวิญญาณนี้ และ
    ในนิมิตภายนอกอื่นทั้งหมดนั้นแล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/163/318.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/163/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๐๖/๓๑๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/206/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=578
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=578
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38
    ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าหมดตัวตน ก็หมดอหังการ สัทธรรมลำดับที่ : 578 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=578 ชื่อบทธรรม :- หมดตัวตน ก็หมดอหังการ เนื้อความทั้งหมด :- --หมดตัวตน ก็หมดอหังการ --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! บุคคลมารู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร จึงไม่ยึดถือว่าเรา ไม่ยึดถือ ว่าของเรา อันเป็นอนุสัยคือมานะ ในกายอันมีวิญญาณนี้ และในนิมิตทั้งปวงภายนอก ? พระเจ้าข้า !” --กัปปะ ! รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เหล่าใด ทั้งที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน อันมีอยู่ภายในหรือข้างนอกก็ดี หยาบหรือละเอียดก็ดี เลวหรือประณีตก็ดี อยู่ห่างไกลหรืออยู่ใกล้ก็ดี อริยสาวกได้เห็นสิ่งทั้งหมดนั้น ด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงว่า นั้นไม่ใช่ตัวของเรา (เนตํ มม) นั่นไม่ใช่ตนเป็นเรา (เนโสหมสฺมิ) นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา (น เมโส อตฺตา) http://etipitaka.com/read/pali/17/207/?keywords=เนตํ+เนโสหมสฺมิ+อตฺตา ดังนี้นั่นแหละ ; --กัปปะ ! บุคคลต้องรู้อย่างนี้แหละ เห็นอยู่อย่างนี้แหละ จึง ไม่ยึดถือว่าเรา ไม่ยึดถือว่าของเรา อันเป็นอนุสัยคือมานะในกายอันมีมโนวิญญาณนี้ และ ในนิมิตภายนอกอื่นทั้งหมดนั้นแล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/163/318. http://etipitaka.com/read/thai/17/163/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๐๖/๓๑๘. http://etipitaka.com/read/pali/17/206/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=578 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=578 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38 ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หมดตัวตน ก็หมดอหังการ
    -หมดตัวตน ก็หมดอหังการ “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! บุคคลมารู้อยู่อย่างไร เห็นอยู่อย่างไร จึงไม่ยึดถือว่าเรา ไม่ยึดถือ ว่าของเรา อันเป็นอนุสัยคือมานะ ในกายอันมีวิญญาณนี้ และในนิมิตทั้งปวงภายนอก ? พระเจ้าข้า !” กัปปะ ! รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เหล่าใด ทั้งที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน อันมีอยู่ภายในหรือข้างนอกก็ดี หยาบหรือละเอียดก็ดี เลวหรือประณีตก็ดี อยู่ห่างไกลหรืออยู่ใกล้ก็ดี อริยสาวกได้เห็นสิ่งทั้งหมดนั้น ด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงว่า นั้นไม่ใช่ของเรา (เนตํ มม) นั่นไม่ใช่เป็นเรา (เนโสหมสฺมิ) นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา (น เมโส อตฺตา) ดังนี้นั่นแหละ ; กัปปะ ! บุคคลต้องรู้อย่างนี้แหละ เห็นอยู่อย่างนี้แหละ จึงไม่ยึดถือว่าเรา ไม่ยึดถือว่าของเรา อันเป็นอนุสัยคือมานะในกายอันมีวิญญาณนี้ และในนิมิตภายนอกอื่นทั้งหมดนั้นแล.
    0 Comments 0 Shares 106 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเวทนามีธรรมดาแปรปรวน
    สัทธรรมลำดับที่ : 142
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=142
    ชื่อบทธรรม : -เวทนามีธรรมดาแปรปรวน
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เวทนามีธรรมดาแปรปรวน
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ตา
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง หู
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง จมูก
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ลิ้น
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง กาย
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ใจ
    เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ;
    ----ภิกษุทั้งหลาย
    ผู้ใดเชื่อมั่นไม่หวั่นไหวซึ่งธรรมเหล่านี้อย่างนี้ เรากล่าวผู้นี้ว่า #สัทธานุสารี
    http://etipitaka.com/read/pali/17/280/?keywords=สทฺธานุสารี
    เป็นผู้เที่ยงที่จะตรัสรู้ในเบื้องหน้า.

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ 17/248/473.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/248/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ ๑๗/๒๘๐/๔๗๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/280/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%93
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=142
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=142
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11
    ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเวทนามีธรรมดาแปรปรวน สัทธรรมลำดับที่ : 142 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=142 ชื่อบทธรรม : -เวทนามีธรรมดาแปรปรวน เนื้อความทั้งหมด :- --เวทนามีธรรมดาแปรปรวน --ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ตา เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง หู เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง จมูก เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ลิ้น เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง กาย เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; --ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ใจ เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ----ภิกษุทั้งหลาย ผู้ใดเชื่อมั่นไม่หวั่นไหวซึ่งธรรมเหล่านี้อย่างนี้ เรากล่าวผู้นี้ว่า #สัทธานุสารี http://etipitaka.com/read/pali/17/280/?keywords=สทฺธานุสารี เป็นผู้เที่ยงที่จะตรัสรู้ในเบื้องหน้า. #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ 17/248/473. http://etipitaka.com/read/thai/17/248/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ ๑๗/๒๘๐/๔๗๓. http://etipitaka.com/read/pali/17/280/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%93 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=142 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=142 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11 ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เวทนามีธรรมดาแปรปรวน
    -เวทนามีธรรมดาแปรปรวน ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางตา เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางหู เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางจมูก เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางลิ้น เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางกาย เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ ; ภิกษุ ท. ! เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางใจ เป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ แล.
    0 Comments 0 Shares 101 Views 0 Reviews
  • ขอพระองค์จงทรงพระเจริญ

    ........กรมสมเด็จพระเทพรัตน์...วรขัตติยนารี
    พระกนิษฐภคนี..................... วรเลิศพระวิริยา
    ........บำเพ็ญพระกรณียกิจ......สัมฤทธิ์ด้วยพระปรีชา
    ทั้งทรงพระเมตตา................. ปวงประชาสราญรมย์
    ........องค์วิศิษฏศิลปิน............. อำรุงศิลป์ให้งามสม
    ทั่วหล้านิยมชม....................พระเกียรติก้องทั่วฟ้าไกล
    ........ทรงเป็นพระมิ่งขวัญ .......สถิตมั่นกลางหทัย
    ดุจทิพรัตน์อันอำไพ...................ส่องชีพชื่นให้ปวงชน
    ........พระราชทานกำลังใจ..........แนวทางให้พ้นทุกข์ทน
    “รู้หน้าที่”จักนำตน..................และชาติให้พ้นภัยผอง
    ........เฉลิมพระชนม์พระมิ่งฉัตร...เชิญไตรรัตน์โปรดคุ้มครอง
    ประสาทพรอันเรืองรอง............ประสิทธิ์พร้อมดังพระประสงค์

    .....................................ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ
    ...........................ข้าพระพุทธเจ้า นายจตุรงค์ ไพบูลย์สุรการ

    เจ้าหญิง คือ ลูกของพระราชา
    แต่แปลกดีที่เด็กผู้หญิงทั้งโลกอยากเป็นเจ้าหญิงเพราะแค่อยากใส่กระโปรงบานและมีมงกุฎ จะให้ดีต้องถือไม้คทาเล็กๆที่มีดาวอยู่ที่ปลายไม้ด้วย
    ....
    ในโลกนี้ มีเจ้าหญิงพระองค์หนึ่ง พระองค์มิได้ทรงภูษาผ้าจีบกระโปรงบาน หรือสวมถุงมือสีขาวยาวถึงแขนและมีมงกุฎเล็กๆอย่างในจินตนาการของเด็กผู้หญิง
    ตลอดเวลา เราจะเห็นเจ้าหญิงพระองค์นี้ทรงฉลองพระองค์ง่ายๆ บางทีพระองค์ก็ทรงกางเกงขายาว ถือสมุดเล่มหนึ่งกับดินสอ บางทีพระองค์ก็ทรงสะพายกล้องเช่นเดียวกับเสด็จพ่อของพระองค์ พระองค์ทรงศึกษาภาษาต่างประเทศหลายภาษาอย่างแคล่วคล่อง พระองค์ทรงนิพนธ์หนังสือมากมาย ทรงดนตรีหลากหลาย และทรงเสด็จไปเยี่ยมประชาชนของพระองค์อยู่เนืองๆ พระองค์ทรงงานทุกวันโดยมิรู้จักเหน็ดเหนื่อย

    พอจะนึกออกไหมครับ ว่าเจ้าหญิงพระองค์นี้ทรงมีพระนามว่าอะไร
    และพสกนิกรในอาณาจักรของพระองค์ก็รักเจ้าหญิงพระองค์นี้มาก
    .................................
    วันนี้เป็นวันคล้ายวันพระราชสมภพของพระองค์
    เสียงถวายพระพร ทรงพระเจริญ จะดังกึกก้องทั้งในใจประชาชนและในอาณาจักรแห่งนี้
    ..................................

    มีผู้เคยถามข้าพเจ้า สิ่งที่ประทับใจข้าพเจ้ามากที่สุดเกี่ยวกับทูลกระหม่อมตลอด ๔ ปี ที่ทรงศึกษาอยู่ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคืออะไร

    และผู้ถามก็คาดว่า ในฐานะที่ข้าพเจ้าเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาของพระองค์ท่านคงจะต้องตอบว่า สิ่งที่ประทับใจข้าพเจ้ามากที่สุด คือ พระปรีชาสามารถ

    แต่นั่นมิใช่คำตอบของข้าพเจ้า

    จริงอยู่ข้าพเจ้าตระหนักในคุณค่าของปรีชาสามารถในด้านการศึกษาเป็นที่แน่นอน แต่ข้าพเจ้าก็ยังเห็นว่า สิ่งที่น่าประทับใจที่สุดเกี่ยวกับทูลกระหม่อมก็คือ

    "น้ำพระทัยของพระองค์" ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่หาได้ยาก

    ทูลกระหม่อมมีน้ำพระทัยงาม มีความจริงใจและความเมตตา

    แม้จะทรงมีพระราชกิจล้นหลามก็ยังทรงห่วงใยเอาพระทัยใส่ในทุก ๆ ด้านไม่ว่าผู้นั้นจะเป็นอาจารย์ พระสหายร่วมชั้นเรียน นิสิตร่วมคณะ คนงานในคณะ หรือแม้แต่เด็กขายขนมในคณะ

    เมื่อผู้ใดเจ็บป่วยหรือประสบความลำบาก ก็จะทรงเป็นธุระประทานความช่วยเหลือ และทรงมีความห่วงใยอย่างแท้จริง

    น้ำพระทัยของทูลกระหม่อมเป็นที่ประจักษ์แก่ผู้ที่มีโอกาสได้ใกล้ชิด และเป็นธรรมดาอยู่เองที่จะทรงเป็นมิ่งขวัญของทุกคน

    (จากหนังสือ "มหาวิทยาลัย ๒๓ ตุลา ๒๐". จากความทรงจำ. บุษกร กาญจนจารี.)
    .
    .
    จากบทวิทยุของท่านผู้หญิง ดร.ทัศนีย์ บุณยคุปต์ อดีตอาจารย์ใหญ่โรงเรียนจิตรลดา ได้กล่าวถึงพระอัจฉริยภาพทางการศึกษาของสมเด็จพระเทพรัตนฯ ว่า “...ในด้านการศึกษานั้น ทรงนำหน้าพระสหายรุ่นราวคราวเดียวกัน บางครั้งทรงเข้าพระทัยในสิ่งที่นักเรียนอื่นยังไม่เข้าใจ สมัยทรงพระเยาว์เคยทรงอึดอัดพระทัย แต่เมื่อทรงเจริญวัยก็ทรงได้รับคำสั่งสอนจากสมเด็จพระบิดาว่า ให้ทรงเห็นใจคนอื่นและช่วยเหลือเพื่อนในทางที่เหมาะที่ควร ไม่ควรรำคาญเพื่อนที่เรียนอ่อนกว่า จากนั้นมาทรงเข้าพระทัยให้ความช่วยเหลือโดยไม่เคยทรงหวงวิชากับพระสหายที่เรียนด้อยเลย”

    ภาพและข้อมูล. นิตยสารแพรวฉบับที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๘
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญ ........กรมสมเด็จพระเทพรัตน์...วรขัตติยนารี พระกนิษฐภคนี..................... วรเลิศพระวิริยา ........บำเพ็ญพระกรณียกิจ......สัมฤทธิ์ด้วยพระปรีชา ทั้งทรงพระเมตตา................. ปวงประชาสราญรมย์ ........องค์วิศิษฏศิลปิน............. อำรุงศิลป์ให้งามสม ทั่วหล้านิยมชม....................พระเกียรติก้องทั่วฟ้าไกล ........ทรงเป็นพระมิ่งขวัญ .......สถิตมั่นกลางหทัย ดุจทิพรัตน์อันอำไพ...................ส่องชีพชื่นให้ปวงชน ........พระราชทานกำลังใจ..........แนวทางให้พ้นทุกข์ทน “รู้หน้าที่”จักนำตน..................และชาติให้พ้นภัยผอง ........เฉลิมพระชนม์พระมิ่งฉัตร...เชิญไตรรัตน์โปรดคุ้มครอง ประสาทพรอันเรืองรอง............ประสิทธิ์พร้อมดังพระประสงค์ .....................................ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ...........................ข้าพระพุทธเจ้า นายจตุรงค์ ไพบูลย์สุรการ เจ้าหญิง คือ ลูกของพระราชา แต่แปลกดีที่เด็กผู้หญิงทั้งโลกอยากเป็นเจ้าหญิงเพราะแค่อยากใส่กระโปรงบานและมีมงกุฎ จะให้ดีต้องถือไม้คทาเล็กๆที่มีดาวอยู่ที่ปลายไม้ด้วย .... ในโลกนี้ มีเจ้าหญิงพระองค์หนึ่ง พระองค์มิได้ทรงภูษาผ้าจีบกระโปรงบาน หรือสวมถุงมือสีขาวยาวถึงแขนและมีมงกุฎเล็กๆอย่างในจินตนาการของเด็กผู้หญิง ตลอดเวลา เราจะเห็นเจ้าหญิงพระองค์นี้ทรงฉลองพระองค์ง่ายๆ บางทีพระองค์ก็ทรงกางเกงขายาว ถือสมุดเล่มหนึ่งกับดินสอ บางทีพระองค์ก็ทรงสะพายกล้องเช่นเดียวกับเสด็จพ่อของพระองค์ พระองค์ทรงศึกษาภาษาต่างประเทศหลายภาษาอย่างแคล่วคล่อง พระองค์ทรงนิพนธ์หนังสือมากมาย ทรงดนตรีหลากหลาย และทรงเสด็จไปเยี่ยมประชาชนของพระองค์อยู่เนืองๆ พระองค์ทรงงานทุกวันโดยมิรู้จักเหน็ดเหนื่อย พอจะนึกออกไหมครับ ว่าเจ้าหญิงพระองค์นี้ทรงมีพระนามว่าอะไร และพสกนิกรในอาณาจักรของพระองค์ก็รักเจ้าหญิงพระองค์นี้มาก ................................. วันนี้เป็นวันคล้ายวันพระราชสมภพของพระองค์ เสียงถวายพระพร ทรงพระเจริญ จะดังกึกก้องทั้งในใจประชาชนและในอาณาจักรแห่งนี้ .................................. มีผู้เคยถามข้าพเจ้า สิ่งที่ประทับใจข้าพเจ้ามากที่สุดเกี่ยวกับทูลกระหม่อมตลอด ๔ ปี ที่ทรงศึกษาอยู่ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคืออะไร และผู้ถามก็คาดว่า ในฐานะที่ข้าพเจ้าเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาของพระองค์ท่านคงจะต้องตอบว่า สิ่งที่ประทับใจข้าพเจ้ามากที่สุด คือ พระปรีชาสามารถ แต่นั่นมิใช่คำตอบของข้าพเจ้า จริงอยู่ข้าพเจ้าตระหนักในคุณค่าของปรีชาสามารถในด้านการศึกษาเป็นที่แน่นอน แต่ข้าพเจ้าก็ยังเห็นว่า สิ่งที่น่าประทับใจที่สุดเกี่ยวกับทูลกระหม่อมก็คือ "น้ำพระทัยของพระองค์" ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่หาได้ยาก ทูลกระหม่อมมีน้ำพระทัยงาม มีความจริงใจและความเมตตา แม้จะทรงมีพระราชกิจล้นหลามก็ยังทรงห่วงใยเอาพระทัยใส่ในทุก ๆ ด้านไม่ว่าผู้นั้นจะเป็นอาจารย์ พระสหายร่วมชั้นเรียน นิสิตร่วมคณะ คนงานในคณะ หรือแม้แต่เด็กขายขนมในคณะ เมื่อผู้ใดเจ็บป่วยหรือประสบความลำบาก ก็จะทรงเป็นธุระประทานความช่วยเหลือ และทรงมีความห่วงใยอย่างแท้จริง น้ำพระทัยของทูลกระหม่อมเป็นที่ประจักษ์แก่ผู้ที่มีโอกาสได้ใกล้ชิด และเป็นธรรมดาอยู่เองที่จะทรงเป็นมิ่งขวัญของทุกคน (จากหนังสือ "มหาวิทยาลัย ๒๓ ตุลา ๒๐". จากความทรงจำ. บุษกร กาญจนจารี.) . . จากบทวิทยุของท่านผู้หญิง ดร.ทัศนีย์ บุณยคุปต์ อดีตอาจารย์ใหญ่โรงเรียนจิตรลดา ได้กล่าวถึงพระอัจฉริยภาพทางการศึกษาของสมเด็จพระเทพรัตนฯ ว่า “...ในด้านการศึกษานั้น ทรงนำหน้าพระสหายรุ่นราวคราวเดียวกัน บางครั้งทรงเข้าพระทัยในสิ่งที่นักเรียนอื่นยังไม่เข้าใจ สมัยทรงพระเยาว์เคยทรงอึดอัดพระทัย แต่เมื่อทรงเจริญวัยก็ทรงได้รับคำสั่งสอนจากสมเด็จพระบิดาว่า ให้ทรงเห็นใจคนอื่นและช่วยเหลือเพื่อนในทางที่เหมาะที่ควร ไม่ควรรำคาญเพื่อนที่เรียนอ่อนกว่า จากนั้นมาทรงเข้าพระทัยให้ความช่วยเหลือโดยไม่เคยทรงหวงวิชากับพระสหายที่เรียนด้อยเลย” ภาพและข้อมูล. นิตยสารแพรวฉบับที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๘
    0 Comments 0 Shares 125 Views 0 Reviews
  • ๒ เมษายน วันคล้ายวันพระราชสมภพ
    สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

    ขอพระองค์ทรงพระเจริญ
    ข้าพระพุทธเจ้า ผู้ดูเเล
    แฟนเพจ Tong Around The World
    ๒ เมษายน วันคล้ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ขอพระองค์ทรงพระเจริญ ข้าพระพุทธเจ้า ผู้ดูเเล แฟนเพจ Tong Around The World
    Love
    1
    1 Comments 0 Shares 43 Views 0 Reviews
  • เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุ ๗๐ พรรษา ๒ เมษายน ๒๕๖๘
    ข้าพระพุทธเจ้า ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์ทรงพระเจริญ
    พระพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรง มีพระชนมายุยิ่งยืนนาน
    สถิตเป็นพระมิ่งขวัญของปวงชนชาวไทยสืบไป
    เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุ ๗๐ พรรษา ๒ เมษายน ๒๕๖๘ ข้าพระพุทธเจ้า ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์ทรงพระเจริญ พระพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรง มีพระชนมายุยิ่งยืนนาน สถิตเป็นพระมิ่งขวัญของปวงชนชาวไทยสืบไป
    Love
    4
    0 Comments 1 Shares 120 Views 0 Reviews
  • ทรงพระเจริญ
    เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุ ๗๐ พรรษา ๒ เมษายน ๒๕๖๘

    ข้าพระพุทธเจ้า ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์ทรงพระเจริญ
    พระพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรง มีพระชนมายุยิ่งยืนนาน
    สถิตเป็นพระมิ่งขวัญของปวงชนชาวไทยสืบไป
    ---------------------------------
    🖍️ขอเชิญร่วมลงนามถวายพระพร
    https://wellwishes.royaloffice.th/index.php/home/index/42
    ทรงพระเจริญ เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุ ๗๐ พรรษา ๒ เมษายน ๒๕๖๘ ข้าพระพุทธเจ้า ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอพระองค์ทรงพระเจริญ พระพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรง มีพระชนมายุยิ่งยืนนาน สถิตเป็นพระมิ่งขวัญของปวงชนชาวไทยสืบไป --------------------------------- 🖍️ขอเชิญร่วมลงนามถวายพระพร https://wellwishes.royaloffice.th/index.php/home/index/42
    0 Comments 1 Shares 89 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​อานิสงส์ของการหลีกเร้น
    สัทธรรมลำดับที่ : 948
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=948
    ชื่อบทธรรม :- อานิสงส์ของการหลีกเร้น
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อานิสงส์ของการหลีกเร้น
    --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลายจงเป็นผู้มีความหลีกเร้น (ปฏิสลฺลานรตานํ)
    http://etipitaka.com/read/pali/25/260/?keywords=ปฏิสลฺลานรตานํ
    เป็นที่มายินดี ยินดีแล้วในความหลีกเร้น
    จงเป็นผู้ตามประกอบเจโตสมถะในภายใน
    มีฌานอันตนไม่ละเลย ประกอบพร้อมด้วยวิปัสสนา
    เพิ่มพูนความยินดีในสุญญาคารอยู่เถิด.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อประพฤติกระทำเช่นนั้นอยู่,
    ผลอย่างใดอย่างหนึ่งในบรรดาผลทั้งสอง
    เป็นอันเธอหวังได้ คือ #อรหัตตผลในทิฏฐธรรม นี้
    http://etipitaka.com/read/pali/25/260/?keywords=อญฺญตรํ+ผลํ
    หรือว่าเมื่อเชื้อ (อุปาทิ) เหลืออยู่ ก็มี ความเป็น อนาคามี.-

    (ในสูตรอื่นแสดงอานิสงส์แห่งการหลีกเร้นไว้ด้วยการ
    รู้ชัดการเกิดขึ้นและความดับไปแห่งขันธ์ห้า ก็มี.
    (ดูรายละเอียดของ #ความเกิดและความดับแห่งขันธ์ห้า)​
    --- ๑๗/๒๐/๓๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/20/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90

    --ในสูตรอื่นแสดงไว้ #ด้วยการรู้ชัดอริยสัจสี่ ก็มี
    --ในสูตรอื่นแสดงไว้ ด้วยการรู้ชัดอายตนิกธรรม ๖ หมวดๆ ละ ๕ อย่างคือ
    จักษุ รูป จักขุวิญญาณ จักขุสัมผัส เวทนาที่เกิดขึ้นจากจักขุสัมผัส ฯลฯ
    รวมเป็นรู้ชัดอายตนิกธรรม ๓๐ อย่าง #ว่าเป็นอนิจจัง ก็มี.
    --- ๑๘/๑๐๐/๑๔๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/100/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%98

    --ในสูตรอื่นแสดงไว้ ด้วยการปรากฏของอายตนิกธรรมทั้ง ๖ หมวดนั้น #โดยความเป็นอนิจจัง ก็มี.
    --- ๑๘/๑๘๑/๒๕๐
    http://etipitaka.com/read/pali/18/100/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%90
    ).

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. 25/193/223.
    http://etipitaka.com/read/thai/25/193/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. ๒๕/๒๕๙/๒๒๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/259/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%93
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=948
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=948
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​อานิสงส์ของการหลีกเร้น สัทธรรมลำดับที่ : 948 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=948 ชื่อบทธรรม :- อานิสงส์ของการหลีกเร้น เนื้อความทั้งหมด :- --อานิสงส์ของการหลีกเร้น --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลายจงเป็นผู้มีความหลีกเร้น (ปฏิสลฺลานรตานํ) http://etipitaka.com/read/pali/25/260/?keywords=ปฏิสลฺลานรตานํ เป็นที่มายินดี ยินดีแล้วในความหลีกเร้น จงเป็นผู้ตามประกอบเจโตสมถะในภายใน มีฌานอันตนไม่ละเลย ประกอบพร้อมด้วยวิปัสสนา เพิ่มพูนความยินดีในสุญญาคารอยู่เถิด. --ภิกษุ ท. ! เมื่อประพฤติกระทำเช่นนั้นอยู่, ผลอย่างใดอย่างหนึ่งในบรรดาผลทั้งสอง เป็นอันเธอหวังได้ คือ #อรหัตตผลในทิฏฐธรรม นี้ http://etipitaka.com/read/pali/25/260/?keywords=อญฺญตรํ+ผลํ หรือว่าเมื่อเชื้อ (อุปาทิ) เหลืออยู่ ก็มี ความเป็น อนาคามี.- (ในสูตรอื่นแสดงอานิสงส์แห่งการหลีกเร้นไว้ด้วยการ รู้ชัดการเกิดขึ้นและความดับไปแห่งขันธ์ห้า ก็มี. (ดูรายละเอียดของ #ความเกิดและความดับแห่งขันธ์ห้า)​ --- ๑๗/๒๐/๓๐. http://etipitaka.com/read/pali/17/20/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90 --ในสูตรอื่นแสดงไว้ #ด้วยการรู้ชัดอริยสัจสี่ ก็มี --ในสูตรอื่นแสดงไว้ ด้วยการรู้ชัดอายตนิกธรรม ๖ หมวดๆ ละ ๕ อย่างคือ จักษุ รูป จักขุวิญญาณ จักขุสัมผัส เวทนาที่เกิดขึ้นจากจักขุสัมผัส ฯลฯ รวมเป็นรู้ชัดอายตนิกธรรม ๓๐ อย่าง #ว่าเป็นอนิจจัง ก็มี. --- ๑๘/๑๐๐/๑๔๘. http://etipitaka.com/read/pali/18/100/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%98 --ในสูตรอื่นแสดงไว้ ด้วยการปรากฏของอายตนิกธรรมทั้ง ๖ หมวดนั้น #โดยความเป็นอนิจจัง ก็มี. --- ๑๘/๑๘๑/๒๕๐ http://etipitaka.com/read/pali/18/100/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%90 ). #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. 25/193/223. http://etipitaka.com/read/thai/25/193/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อิติวุ. ขุ. ๒๕/๒๕๙/๒๒๓. http://etipitaka.com/read/pali/25/259/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%93 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=948 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=948 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (ในสูตรอื่นทรงแสดงอานุภาพแห่งสมาธิ ด้วยการรู้ชัดความเกิดขึ้นและความดับไปแห่งขันธ์ห้า ก็มี. -๑๗/๑๘/๒๗. (ดูรายละเอียดของความเกิดและความดับแห่งขันธ์ห้า ในหนังสือ ปฏิจจ. โอ. หน้า ๑๒๗-๑๓๑ และที่หน้า ๓๓๘-๓๔๑ )
    -(ในสูตรอื่นทรงแสดงอานุภาพแห่งสมาธิ ด้วยการรู้ชัดความเกิดขึ้นและความดับไปแห่งขันธ์ห้า ก็มี. -๑๗/๑๘/๒๗. (ดูรายละเอียดของความเกิดและความดับแห่งขันธ์ห้า ในหนังสือ ปฏิจจ. โอ. หน้า ๑๒๗-๑๓๑ และที่หน้า ๓๓๘-๓๔๑ ) ในสูตรอื่นแสดงไว้ด้วยการรู้ชัด อายตนิกธรรม ๖ หมวด หมวดละ ๕ อย่างคือ จักษุ รูป จักขุวิญญาณ จักขุสัมผัส เวทนาที่เกิดขึ้นจากจักขุสัมผัส ฯลฯ รวมเป็นรู้ชัดอายตนิกธรรม ๓๐ อย่าง ว่าเป็นอนิจจัง ก็มี. – ๑๘/๙๙/๑๔๗. อีกสูตรหนึ่ง แสดงไว้ด้วยการปรากฏของ อายตนิกธรรมทั้ง ๖ หมวดนั้น โดยความเป็นอนิจจัง ก็มี. -๑๘/๑๘๐/๒๔๙). อานิสงส์ของการหลีกเร้น ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลายจงเป็นผู้มีความหลีกเร้น (ปฏิสลฺลาณ) เป็นที่มายินดี ยินดีแล้วในความหลีกเร้น จงเป็นผู้ตามประกอบเจโตสมถะในภายใน มีฌานอันตนไม่ละเลย ประกอบพร้อมด้วยวิปัสสนา เพิ่มพูนความยินดีในสุญญาคารอยู่เถิด. ภิกษุ ท. ! เมื่อประพฤติกระทำเช่นนั้นอยู่, ผลอย่างใดอย่างหนึ่งในบรรดาผลทั้งสอง เป็นอันเธอหวังได้ คือ อรหัตตผลในทิฏฐธรรม นี้ หรือว่าเมื่อเชื้อ (อุปาทิ) เหลืออยู่ ก็มี ความเป็น อนาคามี.
    0 Comments 0 Shares 150 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาหมดตัวตน ก็หมดเรื่องผูกพัน
    สัทธรรมลำดับที่ : 577
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=577
    ชื่อบทธรรม :- หมดตัวตน ก็หมดเรื่องผูกพัน
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หมดตัวตน ก็หมดเรื่องผูกพัน
    --ภิกษุ ท. ! สาวกของพระอริยเจ้าผู้ได้สดับแล้ว
    ได้เห็นบรรดาพระอริยเจ้า เป็นผู้ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า
    ได้ถูกแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า.
    ได้เห็นหมู่สัตบุรุษ เป็นผู้ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ
    ได้ถูกแนะนำในธรรมของสัตบุรุษ :
    --(๑) ท่านย่อม
    ไม่ตามเห็นรูป โดยความเป็นตัวตน
    ทั้งไม่ตามเห็นว่า ตนมีรูปด้วย
    ไม่ตามเห็นว่ารูป มีอยู่ในตนด้วย
    ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในรูปด้วย ;
    --(๒) ท่านย่อม
    ไม่ตามเห็นเวทนา โดยความเป็นตัวตน
    ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีเวทนาด้วย
    ไม่ตามเห็นว่าเวทนา มีอยู่ในตนด้วย
    ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในเวทนาด้วย ;
    --(๓) ท่านย่อม
    ไม่ตามเห็นสัญญา โดยความเป็นตัวตน
    ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีสัญญาด้วย
    ไม่ตามเห็นว่าสัญญา มีอยู่ในตนด้วย
    ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในสัญญาด้วย ;
    --(๔) ท่านย่อม
    ไม่ตามเห็นสังขาร โดยความเป็นตัวตน
    ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีสังขารด้วย
    ไม่ตามเห็นว่าสังขาร มีอยู่ในตนด้วย
    ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในสังขารด้วย ;
    --(๕) ท่านย่อม
    ไม่ตามเห็นวิญญาณ โดยความเป็นตัวตน
    ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีวิญญาณด้วย
    ไม่ตามเห็นว่าวิญญาณ มีอยู่ในตนด้วย
    ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในวิญญาณด้วย ;
    --ภิกษุ ท. ! สาวกของพระอริยเจ้า ผู้ได้สดับแล้วเช่นนี้นี่แล
    เราตถาคตย่อมเรียกผู้นั้นว่า
    ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือรูป
    ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือเวทนา
    ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือสัญญา
    ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือสังขาร
    ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือวิญญาณ
    ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกใด ๆ ทั้งภายในภายนอก,
    เป็นผู้มีปกติมองเห็นฝั่งนี้ (คือวัฏฏสงสาร)
    เป็นผู้มีปกติมองเห็นฝั่งโน้น (คือนิพพาน) ;

    เราตถาคตจึงกล่าวว่า สาวกของพระอริยเจ้าผู้นั้น เป็น​#ผู้หลุดพ้นแล้วจากทุกข์
    http://etipitaka.com/read/pali/17/201/?keywords=ทุกฺขสฺมาติ

    ดังนี้แล.-

    #ทุกขมรรค#อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ.17/158/305.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/158/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ.๑๗/๒๐๑/๓๐๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/201/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=577
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=577
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38
    ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาหมดตัวตน ก็หมดเรื่องผูกพัน สัทธรรมลำดับที่ : 577 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=577 ชื่อบทธรรม :- หมดตัวตน ก็หมดเรื่องผูกพัน เนื้อความทั้งหมด :- --หมดตัวตน ก็หมดเรื่องผูกพัน --ภิกษุ ท. ! สาวกของพระอริยเจ้าผู้ได้สดับแล้ว ได้เห็นบรรดาพระอริยเจ้า เป็นผู้ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า ได้ถูกแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า. ได้เห็นหมู่สัตบุรุษ เป็นผู้ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ได้ถูกแนะนำในธรรมของสัตบุรุษ : --(๑) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นรูป โดยความเป็นตัวตน ทั้งไม่ตามเห็นว่า ตนมีรูปด้วย ไม่ตามเห็นว่ารูป มีอยู่ในตนด้วย ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในรูปด้วย ; --(๒) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นเวทนา โดยความเป็นตัวตน ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีเวทนาด้วย ไม่ตามเห็นว่าเวทนา มีอยู่ในตนด้วย ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในเวทนาด้วย ; --(๓) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นสัญญา โดยความเป็นตัวตน ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีสัญญาด้วย ไม่ตามเห็นว่าสัญญา มีอยู่ในตนด้วย ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในสัญญาด้วย ; --(๔) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นสังขาร โดยความเป็นตัวตน ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีสังขารด้วย ไม่ตามเห็นว่าสังขาร มีอยู่ในตนด้วย ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในสังขารด้วย ; --(๕) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นวิญญาณ โดยความเป็นตัวตน ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีวิญญาณด้วย ไม่ตามเห็นว่าวิญญาณ มีอยู่ในตนด้วย ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในวิญญาณด้วย ; --ภิกษุ ท. ! สาวกของพระอริยเจ้า ผู้ได้สดับแล้วเช่นนี้นี่แล เราตถาคตย่อมเรียกผู้นั้นว่า ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือรูป ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือเวทนา ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือสัญญา ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือสังขาร ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือวิญญาณ ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกใด ๆ ทั้งภายในภายนอก, เป็นผู้มีปกติมองเห็นฝั่งนี้ (คือวัฏฏสงสาร) เป็นผู้มีปกติมองเห็นฝั่งโน้น (คือนิพพาน) ; เราตถาคตจึงกล่าวว่า สาวกของพระอริยเจ้าผู้นั้น เป็น​#ผู้หลุดพ้นแล้วจากทุกข์ http://etipitaka.com/read/pali/17/201/?keywords=ทุกฺขสฺมาติ ดังนี้แล.- ​ #ทุกขมรรค​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ.17/158/305. http://etipitaka.com/read/thai/17/158/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ.๑๗/๒๐๑/๓๐๕. http://etipitaka.com/read/pali/17/201/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=577 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=577 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38 ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หมดตัวตน ก็หมดเรื่องผูกพัน
    -หมดตัวตน ก็หมดเรื่องผูกพัน ภิกษุ ท. ! สาวกของพระอริยเจ้าผู้ได้สดับแล้ว ได้เห็นบรรดาพระอริยเจ้า เป็นผู้ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า ได้ถูกแนะนำในธรรมของพระอริยเจ้า. ได้เห็นหมู่สัตบุรุษ เป็นผู้ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ได้ถูกแนะนำในธรรมของสัตบุรุษ : (๑) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นรูป โดยความเป็นตัวตน ทั้งไม่ตามเห็นว่า ตนมีรูปด้วย ไม่ตามเห็นว่ารูป มีอยู่ในตนด้วย ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในรูปด้วย ; (๒) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นเวทนา โดยความเป็นตัวตน ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีเวทนาด้วย ไม่ตามเห็นว่าเวทนา มีอยู่ในตนด้วย ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในเวทนาด้วย ; (๓) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นสัญญา โดยความเป็นตัวตน ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีสัญญาด้วย ไม่ตามเห็นว่าสัญญา มีอยู่ในตนด้วย ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในสัญญาด้วย ; (๔) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นสังขาร โดยความเป็นตัวตน ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีสังขารด้วย ไม่ตามเห็นว่าสังขาร มีอยู่ในตนด้วย ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในสังขารด้วย ; (๕) ท่านย่อม ไม่ตามเห็นวิญญาณ โดยความเป็นตัวตน ทั้งไม่ตามเห็นว่าตน มีวิญญาณด้วย ไม่ตามเห็นว่าวิญญาณ มีอยู่ในตนด้วย ไม่ตามเห็นว่าตน มีอยู่ในวิญญาณด้วย ; ภิกษุ ท. ! สาวกของพระอริยเจ้า ผู้ได้สดับแล้วเช่นนี้นี่แล เราตถาคตย่อมเรียกผู้นั้นว่า ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือรูป ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือเวทนา ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือสัญญา ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือสังขาร ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกคือวิญญาณ ไม่ถูกผูกพันด้วยเครื่องผูกใด ๆ ทั้งภายในภายนอก, เป็นผู้มีปกติมองเห็นฝั่งนี้ (คือวัฏฏสงสาร) เป็นผู้มีปกติมองเห็นฝั่งโน้น (คือนิพพาน) ; เราตถาคตจึงกล่าวว่า สาวกของพระอริยเจ้าผู้นั้น เป็นผู้หลุดพ้นแล้วจากทุกข์ ดังนี้แล.
    0 Comments 0 Shares 132 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเวทนามีธรรมดาไม่เที่ยง
    สัทธรรมลำดับที่ : 141
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=141
    ชื่อบทธรรม : -เวทนามีธรรมดาไม่เที่ยง
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เวทนามีธรรมดาไม่เที่ยง
    --อัคคิเวสสนะ ! เวทนามีสามอย่างเหล่านี้. สามอย่างเหล่าไหนเล่า ?
    สามอย่างคือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา และอทุกขมสุขเวทนา.
    --อัคคิเวสสนะ !
    สมัยใด เสวยสุขเวทนาอยู่ สมัยนั้น ไม่ได้เสวยทุกขเวทนา และ
    ไม่ได้เสวยอทุกขมสุขเวทนา สมัยนั้น เสวยแต่สุขเวทนาอย่างเดียว.
    --อัคคิเวสสนะ !
    สมัยใด เสวยทุกขเวทนาอยู่ สมัยนั้น ไม่ได้เสวยสุขเวทนา และ
    ไม่ได้เสวยอทุกขมสุขเวทนา สมัยนั้น เสวยแต่ทุกขเวทนาอย่างเดียว.
    --อัคคิเวสสนะ !
    สมัยใด เสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ สมัยนั้นไม่ได้เสวยสุขเวทนา และ
    ไม่ได้เสวยทุกขเวทนา สมัยนั้น เสวยแต่อทุกขมสุขเวทนาอย่างเดียว.
    --อัคคิเวสสนะ !
    สุขเวทนา เป็นของไม่เที่ยง อันปัจจัยปรุงแต่งแล้ว อาศัยเหตุเกิดขึ้นแล้ว
    มีความสิ้นไปเป็นธรรมดา มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา
    มีความจางคลายไปเป็นธรรมดา
    มีความดับเป็นธรรมดา.
    --อัคคิเวสสนะ ! แม้
    ทุกขเวทนา ก็เป็นของไม่เที่ยง อันปัจจัยปรุงแต่งแล้ว อาศัยเหตุเกิดขึ้นแล้ว
    มีความสิ้นไปเป็นธรรมดา มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา
    มีความจางคลายไปเป็นธรรมดา
    มีความดับเป็นธรรมดา.
    --อัคคิเวสสนะ ! แม้
    อทุกขมสุขเวทนา เล่า ก็เป็นของไม่เที่ยง อันปัจจัยปรุงแต่งแล้ว อาศัยเหตุเกิดขึ้นแล้ว
    มีความสิ้นไปเป็นธรรมดา มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา
    มีความจางคลายไปเป็นธรรมดา
    มีความดับเป็นธรรมดา
    แล.-
    --อัคคิเวสสนะ !
    อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เมื่อเห็นอยู่อย่างนี้
    ย่อมหน่ายทั้งในสุขเวทนา ทั้งในทุกขเวทนา ทั้งในอทุกขมสุขเวทนา
    เมื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด ย่อมหลุดพ้น
    เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้น แล้ว
    รู้ชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว
    กิจที่ควรทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี.
    --อัคคิเวสสนะ !
    ภิกษุ #ผู้มีจิตหลุดพ้นแล้ว(วิมุตฺตจิตฺโต)​อย่างนี้แล
    -http://etipitaka.com/read/pali/13/268/?keywords=วิมุตฺตจิตฺโต
    ย่อมไม่วิวาทแก่งแย่งกับใครๆ

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/207/273.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/207/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%93
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๒๖๗/๒๗๓.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/267/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%93
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=141
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=141
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11
    ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าเวทนามีธรรมดาไม่เที่ยง สัทธรรมลำดับที่ : 141 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=141 ชื่อบทธรรม : -เวทนามีธรรมดาไม่เที่ยง เนื้อความทั้งหมด :- --เวทนามีธรรมดาไม่เที่ยง --อัคคิเวสสนะ ! เวทนามีสามอย่างเหล่านี้. สามอย่างเหล่าไหนเล่า ? สามอย่างคือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา และอทุกขมสุขเวทนา. --อัคคิเวสสนะ ! สมัยใด เสวยสุขเวทนาอยู่ สมัยนั้น ไม่ได้เสวยทุกขเวทนา และ ไม่ได้เสวยอทุกขมสุขเวทนา สมัยนั้น เสวยแต่สุขเวทนาอย่างเดียว. --อัคคิเวสสนะ ! สมัยใด เสวยทุกขเวทนาอยู่ สมัยนั้น ไม่ได้เสวยสุขเวทนา และ ไม่ได้เสวยอทุกขมสุขเวทนา สมัยนั้น เสวยแต่ทุกขเวทนาอย่างเดียว. --อัคคิเวสสนะ ! สมัยใด เสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ สมัยนั้นไม่ได้เสวยสุขเวทนา และ ไม่ได้เสวยทุกขเวทนา สมัยนั้น เสวยแต่อทุกขมสุขเวทนาอย่างเดียว. --อัคคิเวสสนะ ! สุขเวทนา เป็นของไม่เที่ยง อันปัจจัยปรุงแต่งแล้ว อาศัยเหตุเกิดขึ้นแล้ว มีความสิ้นไปเป็นธรรมดา มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา มีความจางคลายไปเป็นธรรมดา มีความดับเป็นธรรมดา. --อัคคิเวสสนะ ! แม้ ทุกขเวทนา ก็เป็นของไม่เที่ยง อันปัจจัยปรุงแต่งแล้ว อาศัยเหตุเกิดขึ้นแล้ว มีความสิ้นไปเป็นธรรมดา มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา มีความจางคลายไปเป็นธรรมดา มีความดับเป็นธรรมดา. --อัคคิเวสสนะ ! แม้ อทุกขมสุขเวทนา เล่า ก็เป็นของไม่เที่ยง อันปัจจัยปรุงแต่งแล้ว อาศัยเหตุเกิดขึ้นแล้ว มีความสิ้นไปเป็นธรรมดา มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา มีความจางคลายไปเป็นธรรมดา มีความดับเป็นธรรมดา แล.- --อัคคิเวสสนะ ! อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เมื่อเห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมหน่ายทั้งในสุขเวทนา ทั้งในทุกขเวทนา ทั้งในอทุกขมสุขเวทนา เมื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด ย่อมหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้น แล้ว รู้ชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี. --อัคคิเวสสนะ ! ภิกษุ #ผู้มีจิตหลุดพ้นแล้ว(วิมุตฺตจิตฺโต)​อย่างนี้แล -http://etipitaka.com/read/pali/13/268/?keywords=วิมุตฺตจิตฺโต ย่อมไม่วิวาทแก่งแย่งกับใครๆ #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/207/273. http://etipitaka.com/read/thai/13/207/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%93 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๒๖๗/๒๗๓. http://etipitaka.com/read/pali/13/267/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97%E0%B9%93 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=141 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=141 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11 ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เวทนามีธรรมดาไม่เที่ยง
    -เวทนามีธรรมดาไม่เที่ยง อัคคิเวสสนะ ! เวทนามีสามอย่างเหล่านี้. สามอย่างเหล่าไหนเล่า ? สามอย่างคือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา และอทุกขมสุขเวทนา. อัคคิเวสสนะ ! สมัยใด เสวยสุขเวทนาอยู่ สมัยนั้น ไม่ได้เสวยทุกขเวทนา และไม่ได้เสวยอทุกขมสุขเวทนา สมัยนั้น เสวยแต่สุขเวทนาอย่างเดียว. อัคคิเวสสนะ ! สมัยใด เสวยทุกขเวทนาอยู่ สมัยนั้น ไม่ได้เสวยสุขเวทนา และไม่ได้เสวยอทุกขมสุขเวทนา สมัยนั้น เสวยแต่ทุกขเวทนาอย่างเดียว. อัคคิเวสสนะ ! สมัยใด เสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ สมัยนั้นไม่ได้เสวยสุขเวทนา และไม่ได้เสวยทุกขเวทนา สมัยนั้น เสวยแต่อทุกขมสุขเวทนาอย่างเดียว. อัคคิเวสสนะ ! สุขเวทนา เป็นของไม่เที่ยง อันปัจจัยปรุงแต่งแล้วอาศัยเหตุเกิดขึ้นแล้ว มีความสิ้นไปเป็นธรรมดา มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดามีความจางคลายไปเป็นธรรมดา มีความดับเป็นธรรมดา. อัคคิเวสสนะ ! แม้ทุกขเวทนา ก็เป็นของไม่เที่ยง อันปัจจัยปรุงแต่งแล้ว อาศัยเหตุเกิดขึ้นแล้วมีความสิ้นไปเป็นธรรมดา มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา มีความจางคลายไปเป็นธรรมดา มีความดับเป็นธรรมดา. อัคคิเวสสนะ ! แม้ อทุกขมสุขเวทนา เล่า ก็เป็นของไม่เที่ยง อันปัจจัยปรุงแต่งแล้ว อาศัยเหตุเกิดขึ้นแล้วมีความสิ้นไปเป็นธรรมดา มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา มีความจางคลายไปเป็นธรรมดา มีความดับเป็นธรรมดา แล.
    0 Comments 0 Shares 146 Views 0 Reviews
  • 🙏✨หนึ่งในพิมพ์พระปิดตาวัดหนังที่ได้รับการกล่าวขานทั้งพุทธศิลป์และความเข้มขลัง นั่นคือพระปิดตาพิมพ์​นะ​หัวเข่า​ เนื้อตะกั่ว หลวงตา​ช้วน​ วัด​หนัง​ จัดสร้างระหว่างปีพ.ศ.2512-2542 หลังจารลายมือหลวงตาช้วน และ พระปิดตาพิมพ์นะหัวเข่า หลวงปู่เอี่ยม ปีพ.ศ.2515 ด้วยพุทธลักษณะเป็นพระปิดทวารทั้งเก้าที่มีเอกลักษณ์โดดเด่น ขณะที่พุทธคุณเป็นเลิศในด้านแคล้วคลาด คงกระพันและมหาอุตม์ ดังมีคำกล่าวเปรียบเปรยว่าหนังไม่เหนียวอย่าเที่ยววัดหนังนั่นเอง.
    🙏✨หนึ่งในพิมพ์พระปิดตาวัดหนังที่ได้รับการกล่าวขานทั้งพุทธศิลป์และความเข้มขลัง นั่นคือพระปิดตาพิมพ์​นะ​หัวเข่า​ เนื้อตะกั่ว หลวงตา​ช้วน​ วัด​หนัง​ จัดสร้างระหว่างปีพ.ศ.2512-2542 หลังจารลายมือหลวงตาช้วน และ พระปิดตาพิมพ์นะหัวเข่า หลวงปู่เอี่ยม ปีพ.ศ.2515 ด้วยพุทธลักษณะเป็นพระปิดทวารทั้งเก้าที่มีเอกลักษณ์โดดเด่น ขณะที่พุทธคุณเป็นเลิศในด้านแคล้วคลาด คงกระพันและมหาอุตม์ ดังมีคำกล่าวเปรียบเปรยว่าหนังไม่เหนียวอย่าเที่ยววัดหนังนั่นเอง.
    0 Comments 0 Shares 104 Views 0 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ผู้ มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว
    สัทธรรมลำดับที่ : 947
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=947
    ชื่อบทธรรม : -อานุภาพแห่งสมาธิ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อานุภาพแห่งสมาธิ
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิเถิด.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้ มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ได้ตามที่เป็นจริง.
    รู้ได้ตามเป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ? รู้ได้ตามเป็นจริงซึ่งความจริงอันประเสริฐ ว่า
    “นี้เป็นทุกข์,
    นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์,
    นี้เป็นความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, และ
    นี้เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,”
    ดังนี้ .
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิเถิด.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #ผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ได้ตามที่เป็นจริง.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/520/?keywords=สมาหิโต
    --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้น ในกรณีนี้ พวกเธอพึง กระทำความเพียรเพื่อให้รู้ว่า
    “นี้เป็นทุกข์,
    นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์,
    นี้เป็นความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,
    นี้เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,”
    ดังนี้เถิด.-

    (ในสูตรอื่นทรงแสดงอานุภาพแห่งสมาธิ
    ด้วยการรู้ชัดความเกิดขึ้นและความดับไปแห่งขันธ์ห้า ก็มี.
    (ดูรายละเอียดของ #ความเกิดและความดับแห่งขันธ์ห้า )
    ---๑๗/๑๘/๒๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97

    ในสูตรอื่นแสดงไว้ด้วยการรู้ชัด
    อายตนิกธรรม ๖ หมวด หมวดละ ๕ อย่าง
    คือ จักษุ รูป จักขุวิญญาณ จักขุสัมผัส เวทนาที่เกิดขึ้นจากจักขุสัมผัส ฯลฯ
    รวมเป็นรู้ชัดอายตนิกธรรม ๓๐ อย่าง ว่าเป็นอนิจจัง ก็มี.
    ---๑๘/๙๙/๑๔๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/99/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%97

    อีกสูตรหนึ่ง แสดงไว้ด้วยการปรากฏของ
    อายตนิกธรรมทั้ง ๖ หมวดนั้น โดยความเป็นอนิจจัง ก็มี.
    ---๑๘/๑๘๐/๒๔๙
    http://etipitaka.com/read/pali/18/180/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%99
    ).

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร.สํ. 19/520/1654.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/413/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%95%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร.สํ. ๑๙/๕๒๐/๑๖๕๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/520/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%95%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=947
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=947
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​ผู้ มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว สัทธรรมลำดับที่ : 947 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=947 ชื่อบทธรรม : -อานุภาพแห่งสมาธิ เนื้อความทั้งหมด :- --อานุภาพแห่งสมาธิ --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิเถิด. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้ มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ได้ตามที่เป็นจริง. รู้ได้ตามเป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ? รู้ได้ตามเป็นจริงซึ่งความจริงอันประเสริฐ ว่า “นี้เป็นทุกข์, นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์, นี้เป็นความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, และ นี้เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,” ดังนี้ . --ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิเถิด. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุ #ผู้มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ได้ตามที่เป็นจริง. http://etipitaka.com/read/pali/19/520/?keywords=สมาหิโต --ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้น ในกรณีนี้ พวกเธอพึง กระทำความเพียรเพื่อให้รู้ว่า “นี้เป็นทุกข์, นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์, นี้เป็นความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,” ดังนี้เถิด.- (ในสูตรอื่นทรงแสดงอานุภาพแห่งสมาธิ ด้วยการรู้ชัดความเกิดขึ้นและความดับไปแห่งขันธ์ห้า ก็มี. (ดูรายละเอียดของ #ความเกิดและความดับแห่งขันธ์ห้า ) ---๑๗/๑๘/๒๗. http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97 ในสูตรอื่นแสดงไว้ด้วยการรู้ชัด อายตนิกธรรม ๖ หมวด หมวดละ ๕ อย่าง คือ จักษุ รูป จักขุวิญญาณ จักขุสัมผัส เวทนาที่เกิดขึ้นจากจักขุสัมผัส ฯลฯ รวมเป็นรู้ชัดอายตนิกธรรม ๓๐ อย่าง ว่าเป็นอนิจจัง ก็มี. ---๑๘/๙๙/๑๔๗. http://etipitaka.com/read/pali/18/99/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%97 อีกสูตรหนึ่ง แสดงไว้ด้วยการปรากฏของ อายตนิกธรรมทั้ง ๖ หมวดนั้น โดยความเป็นอนิจจัง ก็มี. ---๑๘/๑๘๐/๒๔๙ http://etipitaka.com/read/pali/18/180/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%95%E0%B9%99 ). #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร.สํ. 19/520/1654. http://etipitaka.com/read/thai/19/413/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%95%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร.สํ. ๑๙/๕๒๐/๑๖๕๔. http://etipitaka.com/read/pali/19/520/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%95%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=947 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=947 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อานุภาพแห่งสมาธิ
    -อานุภาพแห่งสมาธิ ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิเถิด. ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้ มีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ได้ตามที่เป็นจริง. รู้ได้ตามเป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ? รู้ได้ตามเป็นจริงซึ่งความจริงอันประเสริฐ ว่า “นี้เป็นทุกข์, นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์, นี้เป็นความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, และนี้เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,” ดังนี้ . ภิกษุ ท. ! พวกเธอจงเจริญสมาธิเถิด. ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีมีจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ได้ตามที่เป็นจริง. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้น ในกรณีนี้ พวกเธอพึง กระทำความเพียรเพื่อให้รู้ว่า “นี้เป็นทุกข์, นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์, นี้เป็นความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,” ดังนี้เถิด.
    0 Comments 0 Shares 190 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่า​ “ธรรม” (คือเวทนา) เป็นสิ่งที่บัญญัติได้หลายปริยาย
    สัทธรรมลำดับที่ : 140
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=140
    ชื่อบทธรรม :- “ธรรม” (คือเวทนา) เป็นสิ่งที่บัญญัติได้หลายปริยาย
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --“ธรรม” (คือเวทนา) เป็นสิ่งที่บัญญัติได้หลายปริยาย
    (อันเป็นเหตุให้หลงทุ่มเถียงกัน)
    --ภิกษุ ท. ! เวทนาเรากล่าวแล้ว
    http://etipitaka.com/read/pali/18/283/?keywords=เวทนา
    โดยปริยายแม้สองอย่าง,
    โดยปริยายแม้สามอย่าง,
    โดยปริยายแม้ห้าอย่าง,
    โดยปริยายแม้หกอย่าง,
    โดยปริยายแม้สิบแปดอย่าง,
    โดยปริยายแม้สามสิบหกอย่าง,
    โดยปริยายแม้ร้อยแปดอย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! โดยปริยายอย่างนี้ ที่เราแสดงธรรม.
    เมื่อเราแสดงธรรมอยู่โดยปริยายอย่างนี้,
    ชนเหล่าใด จักไม่สำคัญร่วม จักไม่รู้ร่วม จักไม่พอใจร่วม แก่กันและกัน
    ว่าเป็นธรรมที่เรากล่าวดีแล้ว พูดไว้ดีแล้ว ;
    เมื่อเป็นอย่างนี้ สิ่งที่เขาหวังได้ ก็คือ
    จักบาดหมางกัน ทะเลาะกัน วิวาทกันทิ่มแทงกันและกันด้วยหอกปาก อยู่.
    --ภิกษุ ท. ! โดยปริยายอย่างนั้น ที่เราแสดงธรรม.
    เมื่อเราแสดงธรรมอยู่โดยปริยายอย่างนั้น,
    ชนเหล่าใด จักสำคัญร่วม จักรู้ร่วม จักพอใจร่วม แก่กันและกัน
    ว่าเป็นธรรมที่เรากล่าวดีแล้ว พูดไว้ดีแล้ว;
    เมื่อเป็นอย่างนี้ สิ่งที่เขาหวังได้ ก็คือ
    จักพร้อมเพรียงกัน บันเทิงต่อกัน ไม่วิวาทกันเข้ากันได้เหมือนน้ำนมกับน้ำ
    มองกันและกันด้วยสายตาอันเป็นที่รักอยู่,
    ดังนี้แล.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/241/425.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/241/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%92%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๘๓/๔๒๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/283/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%92%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=140
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=140
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11
    ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่า​ “ธรรม” (คือเวทนา) เป็นสิ่งที่บัญญัติได้หลายปริยาย สัทธรรมลำดับที่ : 140 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=140 ชื่อบทธรรม :- “ธรรม” (คือเวทนา) เป็นสิ่งที่บัญญัติได้หลายปริยาย เนื้อความทั้งหมด :- --“ธรรม” (คือเวทนา) เป็นสิ่งที่บัญญัติได้หลายปริยาย (อันเป็นเหตุให้หลงทุ่มเถียงกัน) --ภิกษุ ท. ! เวทนาเรากล่าวแล้ว http://etipitaka.com/read/pali/18/283/?keywords=เวทนา โดยปริยายแม้สองอย่าง, โดยปริยายแม้สามอย่าง, โดยปริยายแม้ห้าอย่าง, โดยปริยายแม้หกอย่าง, โดยปริยายแม้สิบแปดอย่าง, โดยปริยายแม้สามสิบหกอย่าง, โดยปริยายแม้ร้อยแปดอย่าง. --ภิกษุ ท. ! โดยปริยายอย่างนี้ ที่เราแสดงธรรม. เมื่อเราแสดงธรรมอยู่โดยปริยายอย่างนี้, ชนเหล่าใด จักไม่สำคัญร่วม จักไม่รู้ร่วม จักไม่พอใจร่วม แก่กันและกัน ว่าเป็นธรรมที่เรากล่าวดีแล้ว พูดไว้ดีแล้ว ; เมื่อเป็นอย่างนี้ สิ่งที่เขาหวังได้ ก็คือ จักบาดหมางกัน ทะเลาะกัน วิวาทกันทิ่มแทงกันและกันด้วยหอกปาก อยู่. --ภิกษุ ท. ! โดยปริยายอย่างนั้น ที่เราแสดงธรรม. เมื่อเราแสดงธรรมอยู่โดยปริยายอย่างนั้น, ชนเหล่าใด จักสำคัญร่วม จักรู้ร่วม จักพอใจร่วม แก่กันและกัน ว่าเป็นธรรมที่เรากล่าวดีแล้ว พูดไว้ดีแล้ว; เมื่อเป็นอย่างนี้ สิ่งที่เขาหวังได้ ก็คือ จักพร้อมเพรียงกัน บันเทิงต่อกัน ไม่วิวาทกันเข้ากันได้เหมือนน้ำนมกับน้ำ มองกันและกันด้วยสายตาอันเป็นที่รักอยู่, ดังนี้แล.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/241/425. http://etipitaka.com/read/thai/18/241/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%92%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๘๓/๔๒๕. http://etipitaka.com/read/pali/18/283/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%92%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=140 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=140 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11 ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - “ธรรม” (คือเวทนา) เป็นสิ่งที่บัญญัติได้หลายปริยาย
    -“ธรรม” (คือเวทนา) เป็นสิ่งที่บัญญัติได้หลายปริยาย (อันเป็นเหตุให้หลงทุ่มเถียงกัน) ภิกษุ ท. ! เวทนาเรากล่าวแล้ว โดยปริยายแม้สองอย่าง, โดยปริยายแม้สามอย่าง, โดยปริยายแม้ห้าอย่าง, โดยปริยายแม้หกอย่าง, โดยปริยายแม้สิบแปดอย่าง, โดยปริยายแม้สามสิบหกอย่าง, โดยปริยายแม้ร้อยแปดอย่าง. ภิกษุ ท. ! โดยปริยายอย่างนี้ ที่เราแสดงธรรม. เมื่อเราแสดง ธรรมอยู่โดยปริยายอย่างนี้, ชนเหล่าใด จักไม่สำคัญร่วม จักไม่รู้ร่วม จักไม่พอใจร่วม แก่กันและกัน ว่าเป็นธรรมที่เรากล่าวดีแล้ว พูดไว้ดีแล้ว ; เมื่อเป็นอย่างนี้ สิ่งที่เขาหวังได้ ก็คือ จักบาดหมางกัน ทะเลาะกัน วิวาทกันทิ่มแทงกันและกันด้วยหอกปาก อยู่. ภิกษุ ท. ! โดยปริยายอย่างนั้น ที่เราแสดงธรรม. เมื่อเราแสดงธรรมอยู่โดยปริยายอย่างนั้น, ชนเหล่าใด จักสำคัญร่วม จักรู้ร่วม จักพอใจร่วม แก่กันและกัน ว่าเป็นธรรมที่เรากล่าวดีแล้ว พูดไว้ดีแล้ว ; เมื่อเป็นอย่างนี้ สิ่งที่เขาหวังได้ ก็คือ จักพร้อมเพรียงกัน บันเทิงต่อกัน ไม่วิวาทกันเข้ากันได้เหมือนน้ำนมกับน้ำ มองกันและกันด้วยสายตาอันเป็นที่รักอยู่, ดังนี้แล.
    0 Comments 0 Shares 149 Views 0 Reviews
  • ตามหาความจริง ตึกถล่มจตุจักร

    แผ่นดินไหวขนาด 8.2 ลึก 10 กิโลเมตร บริเวณเมืองลอยกอ ใกล้เมืองมัณฑะเลย์ ประเทศเมียนมา เมื่อเวลา 13.20 น. ของวันศุกร์ที่ 28 มี.ค. สั่นสะเทือนมาถึงกรุงเทพฯ และปริมณฑล หนึ่งในนั้นคือโครงการสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) แห่งใหม่ สูง 30 ชั้น บนถนนกำแพงเพชร 2 เขตจตุจักร พังถล่มลงมา ข้อมูล ณ วันที่ 31 มี.ค.มีผู้เสียชีวิตที่เกิดเหตุ 11 ราย เสียชีวิตที่โรงพยาบาล 1 ราย บาดเจ็บ 18 ราย สูญหายอีกจำนวนมาก

    สังคมตั้งข้อสงสัยไปที่การก่อสร้างอาคารที่ไม่ได้คุณภาพ โครงการนี้ใช้งบประมาณ 2,136 ล้านบาท ผู้รับจ้างคือ กิจการร่วมค้า ไอทีดี-ซีอาร์อีซี บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) และบริษัท ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) จํากัด ส่วนผู้ควบคุมงานก่อสร้างคือ กิจการร่วมค้าพีเคดับเบิลยู บริษัท พี เอ็น ซิงค์โครไนซ์ จํากัด, บริษัท ว.และสหาย คอนซัลแตนส์ จํากัด และ บริษัท เคพี คอนซัลแทนส์ แอนด์ แมเนจเม้น จํากัด งบประมาณ 74.653 ล้านบาท

    มีการตรวจสอบบริษัทผู้รับจ้างอย่างไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) พบความผิดปกติตรงที่เมื่อปี 2567 ได้โพสต์ภาพและข่าวการเฉลิมฉลองปิดงานก่อสร้างชั้นดาดฟ้า ในบัญชีโซเชียลมีเดียของบริษัทฯ นำเสนอว่าใช้ระบบโครงสร้างแบบแกนกลางรับแรง และพื้นไร้คาน พอเกิดเหตุได้ลบบทความทิ้ง ไม่นับรวมการตรวจสอบที่ตั้งบริษัท พบว่าเป็นตึกแถวธรรมดาในซอยพุทธบูชา 44 แยก 11 เขตทุ่งครุ กรุงเทพฯ

    ขณะที่ สตง.เจ้าของโครงการ ชี้แจงว่าได้ประสานงานให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย และเร่งตรวจสอบสาเหตุที่เกิดขึ้น ยืนยีนว่ากระบวนการดำเนินโครงการฯ เป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมาย ส่วนการแก้แบบโครงสร้างให้เล็กลงเป็นข้อมูลที่คลาดเคลื่อน เพราะออกแบบให้เสาสี่เหลี่ยมด้านหน้าอาคารสูงสามชั้นมีขนาด 1.40 x 1.40 เมตร ส่วนชั้น 29 ถึงดาดฟ้า เป็นเสากลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.80 เมตร เพื่อรองรับหลังคาตึก เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบกำหนดไว้ไม่มีการแก้ไข

    กระทรวงอุตสาหกรรมได้เก็บตัวอย่างเหล็กที่ใช้ในการก่อสร้างไปตรวจสอบที่สถาบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่งประเทศไทย พบว่ามีเหล็กบางส่วนไม่ได้มาตรฐานมาจากบริษัทที่สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) สั่งปิดไปเมื่อเดือน ธ.ค.2567 เนื่องจากจำหน่ายเหล็กไม่ได้ตามมาตรฐาน

    ถึงบัดนี้นอกจากความรับผิดชอบของผู้รับจ้างแล้ว การค้นหาความจริงถึงสาเหตุตึกถล่มมาจากภัยธรรมชาติหรือการก่อสร้างไม่ได้มาตรฐานยังคงดำเนินต่อไป ตามที่ รมว.มหาดไทยตั้งคณะกรรมการสืบสวนข้อเท็จจริงที่มีวิศวกรใหญ่กรมโยธาธิการและผังเมืองเป็นประธาน ซึ่งให้เวลาสืบสวนภายใน 7 วัน

    #Newskit
    ตามหาความจริง ตึกถล่มจตุจักร แผ่นดินไหวขนาด 8.2 ลึก 10 กิโลเมตร บริเวณเมืองลอยกอ ใกล้เมืองมัณฑะเลย์ ประเทศเมียนมา เมื่อเวลา 13.20 น. ของวันศุกร์ที่ 28 มี.ค. สั่นสะเทือนมาถึงกรุงเทพฯ และปริมณฑล หนึ่งในนั้นคือโครงการสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) แห่งใหม่ สูง 30 ชั้น บนถนนกำแพงเพชร 2 เขตจตุจักร พังถล่มลงมา ข้อมูล ณ วันที่ 31 มี.ค.มีผู้เสียชีวิตที่เกิดเหตุ 11 ราย เสียชีวิตที่โรงพยาบาล 1 ราย บาดเจ็บ 18 ราย สูญหายอีกจำนวนมาก สังคมตั้งข้อสงสัยไปที่การก่อสร้างอาคารที่ไม่ได้คุณภาพ โครงการนี้ใช้งบประมาณ 2,136 ล้านบาท ผู้รับจ้างคือ กิจการร่วมค้า ไอทีดี-ซีอาร์อีซี บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) และบริษัท ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) จํากัด ส่วนผู้ควบคุมงานก่อสร้างคือ กิจการร่วมค้าพีเคดับเบิลยู บริษัท พี เอ็น ซิงค์โครไนซ์ จํากัด, บริษัท ว.และสหาย คอนซัลแตนส์ จํากัด และ บริษัท เคพี คอนซัลแทนส์ แอนด์ แมเนจเม้น จํากัด งบประมาณ 74.653 ล้านบาท มีการตรวจสอบบริษัทผู้รับจ้างอย่างไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) พบความผิดปกติตรงที่เมื่อปี 2567 ได้โพสต์ภาพและข่าวการเฉลิมฉลองปิดงานก่อสร้างชั้นดาดฟ้า ในบัญชีโซเชียลมีเดียของบริษัทฯ นำเสนอว่าใช้ระบบโครงสร้างแบบแกนกลางรับแรง และพื้นไร้คาน พอเกิดเหตุได้ลบบทความทิ้ง ไม่นับรวมการตรวจสอบที่ตั้งบริษัท พบว่าเป็นตึกแถวธรรมดาในซอยพุทธบูชา 44 แยก 11 เขตทุ่งครุ กรุงเทพฯ ขณะที่ สตง.เจ้าของโครงการ ชี้แจงว่าได้ประสานงานให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย และเร่งตรวจสอบสาเหตุที่เกิดขึ้น ยืนยีนว่ากระบวนการดำเนินโครงการฯ เป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมาย ส่วนการแก้แบบโครงสร้างให้เล็กลงเป็นข้อมูลที่คลาดเคลื่อน เพราะออกแบบให้เสาสี่เหลี่ยมด้านหน้าอาคารสูงสามชั้นมีขนาด 1.40 x 1.40 เมตร ส่วนชั้น 29 ถึงดาดฟ้า เป็นเสากลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.80 เมตร เพื่อรองรับหลังคาตึก เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบกำหนดไว้ไม่มีการแก้ไข กระทรวงอุตสาหกรรมได้เก็บตัวอย่างเหล็กที่ใช้ในการก่อสร้างไปตรวจสอบที่สถาบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่งประเทศไทย พบว่ามีเหล็กบางส่วนไม่ได้มาตรฐานมาจากบริษัทที่สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) สั่งปิดไปเมื่อเดือน ธ.ค.2567 เนื่องจากจำหน่ายเหล็กไม่ได้ตามมาตรฐาน ถึงบัดนี้นอกจากความรับผิดชอบของผู้รับจ้างแล้ว การค้นหาความจริงถึงสาเหตุตึกถล่มมาจากภัยธรรมชาติหรือการก่อสร้างไม่ได้มาตรฐานยังคงดำเนินต่อไป ตามที่ รมว.มหาดไทยตั้งคณะกรรมการสืบสวนข้อเท็จจริงที่มีวิศวกรใหญ่กรมโยธาธิการและผังเมืองเป็นประธาน ซึ่งให้เวลาสืบสวนภายใน 7 วัน #Newskit
    Like
    2
    0 Comments 0 Shares 286 Views 0 Reviews
  • Credit : ดร.ณัฐนันท์ สุดประเสริฐ

    สรุป ไม่ออกมาถก เพราะครูนัทไม่ได้มาคุยกันอย่างเป็นกัลยาณมิตร (คงคิดว่ามาทำไม สุดท้ายก็ฟ้องเขาเหมือนเดิม) ไม่มาอย่ามา ก็อยู่กันไปแบบนั้แหละจนกว่าจะตายกันไปข้างนึงเนาะ

    1. อะไรที่ติงมาว่าสอนผิดเขาบอกเขาแก้แล้ว
    ผิดกี่เรื่อง แก้กี่เรื่องล่ะ เรื่องพระปิณโฑละ นานแล้วยังไม่แก้ อีกหลายเรื่องแกล้งลืม

    2. เขายอมรับว่า เรื่องโกณฑัญญะพราหมณ์ใช้ฌานพยากรณ์ไม่มีในตำรา เขาเข้าใจเอาเอง และยังคงตีมั่วระหว่างฌานกับญาน โอเค อันนี้จบ ในเมื่อยอมรับแล้วว่าเข้าใจเอาเอง ไม่เอาความเห็นตนมาแปดเปื้อนคัมภีร์ ดังนั่นนับแต่นี้ต่อไป อะไรที่เข้าใจเอาเอง ช่วยกรุณาบอกชาวบ้านด้วยว่า อันนี้เข้าใจเอง

    3. เรื่องเดรัจฉานวิชา ยังเชื่อว่าตัวเองสอนถูก อ้างครูบาอาจารย์ยืนยันด้วย ครูบาอาจารย์ท่านไหนเหรอยืนยัน บอกชื่อท่านมาเลย ครูนัทจะเข้าไปคุย มายืนยันได้ยังไง เอาอาจารย์ที่ยืนยันนั่นแหละมาเปิดคัมภีร์ยันกันกับคำพูดของเขาทีละคำ

    4. เขาบอกว่าพระสัทธรรมไม่หาย เพราะมีคนสอนธรรมอยู่ แต่พระสัทธรรมจะหายเมื่อคนสอนให้เชื่อหมอดู ซัดแกรบ ซัดรำบูชาไฟ ฟังแล้วงง ใครสอนให้บูชาไฟวะคะ แน่จริงเอ่ยชื่อมาเลย อย่าตีกินชาวบ้านด้วยสันดานแบบนี้

    เถียงพระพุทธเจ้าอีกว่าพระสัทธรรมไม่หาย ก็เธอสอนผิดๆ ตลอด หนังสือก็ผิด สัทธรรมจะปฏิรูป สัทธรรมจะไม่หายได้ไง ถ้าสอนผิดขนาดนี้ ไม่สอนซะดีกว่านะ ไปสอนอย่างอื่นเถอะ อย่าเอาธรรมะมาทำคอนเท้นท์อีกเลย

    https://vt.tiktok.com/ZSr6ARENp/
    Credit : ดร.ณัฐนันท์ สุดประเสริฐ สรุป ไม่ออกมาถก เพราะครูนัทไม่ได้มาคุยกันอย่างเป็นกัลยาณมิตร (คงคิดว่ามาทำไม สุดท้ายก็ฟ้องเขาเหมือนเดิม) ไม่มาอย่ามา ก็อยู่กันไปแบบนั้แหละจนกว่าจะตายกันไปข้างนึงเนาะ 1. อะไรที่ติงมาว่าสอนผิดเขาบอกเขาแก้แล้ว ผิดกี่เรื่อง แก้กี่เรื่องล่ะ เรื่องพระปิณโฑละ นานแล้วยังไม่แก้ อีกหลายเรื่องแกล้งลืม 2. เขายอมรับว่า เรื่องโกณฑัญญะพราหมณ์ใช้ฌานพยากรณ์ไม่มีในตำรา เขาเข้าใจเอาเอง และยังคงตีมั่วระหว่างฌานกับญาน โอเค อันนี้จบ ในเมื่อยอมรับแล้วว่าเข้าใจเอาเอง ไม่เอาความเห็นตนมาแปดเปื้อนคัมภีร์ ดังนั่นนับแต่นี้ต่อไป อะไรที่เข้าใจเอาเอง ช่วยกรุณาบอกชาวบ้านด้วยว่า อันนี้เข้าใจเอง 3. เรื่องเดรัจฉานวิชา ยังเชื่อว่าตัวเองสอนถูก อ้างครูบาอาจารย์ยืนยันด้วย ครูบาอาจารย์ท่านไหนเหรอยืนยัน บอกชื่อท่านมาเลย ครูนัทจะเข้าไปคุย มายืนยันได้ยังไง เอาอาจารย์ที่ยืนยันนั่นแหละมาเปิดคัมภีร์ยันกันกับคำพูดของเขาทีละคำ 4. เขาบอกว่าพระสัทธรรมไม่หาย เพราะมีคนสอนธรรมอยู่ แต่พระสัทธรรมจะหายเมื่อคนสอนให้เชื่อหมอดู ซัดแกรบ ซัดรำบูชาไฟ ฟังแล้วงง ใครสอนให้บูชาไฟวะคะ แน่จริงเอ่ยชื่อมาเลย อย่าตีกินชาวบ้านด้วยสันดานแบบนี้ เถียงพระพุทธเจ้าอีกว่าพระสัทธรรมไม่หาย ก็เธอสอนผิดๆ ตลอด หนังสือก็ผิด สัทธรรมจะปฏิรูป สัทธรรมจะไม่หายได้ไง ถ้าสอนผิดขนาดนี้ ไม่สอนซะดีกว่านะ ไปสอนอย่างอื่นเถอะ อย่าเอาธรรมะมาทำคอนเท้นท์อีกเลย https://vt.tiktok.com/ZSr6ARENp/
    0 Comments 0 Shares 155 Views 0 Reviews
  • 31 มีนา “วันเจษฎาบดินทร์” ระลึกพระนั่งเกล้าฯ ผู้ให้กำเนิด "เงินถุงแดง" ไถ่บ้านไถ่เมือง

    ✨ วันแห่งประวัติศาสตร์ไทย ที่ไม่ควรลืม ✨ วันที่ 31 มีนาคมของทุกปี ได้รับการประกาศจากคณะรัฐมนตรีให้เป็น “วันระลึกพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหาเจษฎาราชเจ้า” หรือเรียกกันว่า “วันเจษฎาบดินทร์” 💛

    เพื่อระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ ของพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์จักรี ผู้วางรากฐานสำคัญให้กับการค้า การป้องกันประเทศ การทำนุบำรุงศาสนา และเป็นผู้นำแนวคิดการเก็บออม ไว้ให้ชาติบ้านเมืองในยามคับขัน ที่รู้จักกันในนาม “เงินถุงแดง” 💰

    🏯 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระราชโอรส ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 กับสมเด็จพระศรีสุลาลัย หรือเจ้าจอมมารดาเรียม ทรงพระราชสมภพเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2331 ที่พระราชวังเดิม ธนบุรี 🏰

    พระองค์มีพระนามเดิมว่า “หม่อมเจ้าชายทับ” ต่อมาได้รับการสถาปนาเป็น “กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์” และขึ้นครองราชสมบัติเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 ทรงมีพระชนมพรรษา 37 ปี

    ตลอดรัชสมัยกว่า 27 ปี พระองค์ทรงใช้พระปรีชาญาณ ในการบริหารบ้านเมืองอย่างรอบคอบ ทรงวางระบบเศรษฐกิจ 📈 ขยายเส้นทางการค้า 🌏 และจัดสรรรายได้แผ่นดินอย่างเป็นระบบ เพื่อความมั่นคงในอนาคต 🇹🇭

    👑 จุดเริ่มต้นของคำว่า “พระมหาเจษฎาราชเจ้า” พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 โปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระนามใหม่อย่างย่อว่า “พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาเจษฎาธิบดินทร์ พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว”

    โดยคำว่า “เจษฎา” หมายถึง เลิศล้ำ ยอดเยี่ยม และ “บดินทร์” หมายถึง พระเจ้าแผ่นดิน ดังนั้น “พระมหาเจษฎาราชเจ้า” จึงหมายถึง “พระเจ้าแผ่นดินผู้ยิ่งใหญ่และเป็นเลิศ” ✨

    🧭 รัชสมัยแห่งความมั่นคงและเจริญรุ่งเรือง พระองค์ทรงส่งเสริมการค้าขายกับต่างชาติ โดยเฉพาะกับจีน และประเทศทางตะวันตก อย่างอังกฤษและสหรัฐฯ มีการลงนามในสนธิสัญญาเบอร์นี พ.ศ. 2369 และสนธิสัญญากับอเมริกาใน พ.ศ. 2375 ซึ่งเป็นสนธิสัญญาฉบับแรก ระหว่างสหรัฐอเมริกา กับประเทศในเอเชียตะวันออก 🌐

    พระองค์ทรงวางรากฐานเศรษฐกิจการค้า เสริมสร้างรายได้แผ่นดิน โดยมีระบบภาษีใหม่ถึง 38 รายการ และทรงปกครองด้วยพระปรีชาญาณอย่างเด็ดขาด รวมถึงการสร้างคลอง เพื่อใช้ในสงครามและการพาณิชย์ เช่น คลองบางขุนเทียน คลองหมาหอน 🚤

    📚 “เงินถุงแดง” ตำนานที่กลายเป็นจริง หนึ่งในมรดกที่สำคัญที่สุ ดจากพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว คือ เงินถุงแดง หรือ “พระคลังข้างที่” 💼

    📌 พระคลังข้างที่ คือ พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ ที่สะสมไว้ใช้ในยามจำเป็นของแผ่นดิน พระองค์ทรงประหยัดมัธยัสถ์ และตั้งพระราชดำริว่า “เก็บไว้เพื่อไถ่บ้านไถ่เมือง” ในยามเกิดภัยพิบัติหรือสงคราม

    ต่อมาในเหตุการณ์ ร.ศ. 112 หรือ พ.ศ. 2436 เมื่อฝรั่งเศสบุกเรือรบ เข้ายึดดินแดนของไทย และเรียกร้องค่าปรับสงคราม 3,000,000 ฟรังก์ รัฐบาลสยามจึงได้นำเงินถุงแดง ออกมาใช้ในการไถ่แผ่นดิน 💸

    📆 เหตุการณ์ ร.ศ.112 และการใช้ “เงินถุงแดง” ไถ่ชาติ

    🔥 ความขัดแย้งไทย - ฝรั่งเศส ใน พ.ศ. 2436 ฝรั่งเศสกล่าวหาไทย ว่าเป็นฝ่ายเริ่มต้นสงคราม โดยอ้างเหตุการณ์ที่แม่น้ำโขง ที่กองกำลังไทยสังหารทหารฝรั่งเศส ทำให้ฝรั่งเศสส่งเรือรบ เข้าปิดล้อมแม่น้ำเจ้าพระยา

    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ต้องเผชิญกับสถานการณ์อันตึงเครียด ในระดับที่ชาติอาจล่มสลาย 💣 ฝรั่งเศสยื่นคำขาดให้ไทยจ่ายค่าปรับ และยกดินแดนฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง

    🧾 ตัวเลขที่มากมาย
    ค่าเสียหายที่เรียกร้อง = 2,000,000 ฟรังก์
    เงินมัดจำเพิ่มเติม = 1,000,000 ฟรังก์
    รวมเป็น 3,000,000 ฟรังก์ ประมาณ 1.6 ล้านบาท ในขณะนั้น

    📤 แหล่งเงินสำคัญ เงินที่นำมาใช้จ่ายครั้งนั้น มาจาก “พระคลังข้างที่” ซึ่งเป็นเงินส่วนพระองค์ของรัชกาลที่ 3 ที่ถูกเก็บไว้ในถุงแดงอย่างเงียบงัน 😌

    🧠 ข้อเท็จจริงหรือแค่ตำนาน? เงินถุงแดงมีจริงหรือไม่ 🤔 มีบางความเห็นในยุคปัจจุบัน ที่ตั้งข้อสังเกตว่า “เงินถุงแดง” อาจไม่มีอยู่จริง และเป็นแค่เรื่องเล่าขาน แต่เมื่อพิจารณาหลักฐานจากหลายแหล่ง ทั้ง

    📖 หนังสือพิมพ์ Le Monde Illustré ของฝรั่งเศส
    📚 หนังสือ “เหตุการณ์ ร.ศ.112 และเรื่องเสียเขตแดนใน ร.5”
    📜 พระราชนิพนธ์ และคำกราบบังคมทูล ของกรมขุนนริศรานุวัดติวงศ์

    ต่างยืนยันว่า มีการชำระเงินมัดจำด้วยเหรียญเม็กซิกัน จำนวนกว่า 800,000 เหรียญ หรือประมาณ 23 ตัน ที่ขนส่งออกไปจากกรุงเทพฯ 🚢

    🔍 วิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ เงินถุงแดงสะท้อนอะไร? เงินถุงแดงไม่เพียงเป็นสัญลักษณ์ ของความสามารถในการบริหารเศรษฐกิจ ของรัชกาลที่ 3 แต่ยังสะท้อนถึงแนวคิด “เงินสำรองแผ่นดิน” ซึ่งในภายหลัง ก็กลายเป็นแนวคิดตั้งต้นของ “ทุนสำรองระหว่างประเทศ” ในรูปแบบที่เรารู้จักกันทุกวันนี้ 🌎💹

    📖 พระราชสมัญญา แห่งพระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ ต่อมาใน พ.ศ. 2541 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ได้พระราชทานพระราชสมัญญา “พระมหาเจษฎาราชเจ้า”

    ตามมาด้วยใน พ.ศ. 2551 และ พ.ศ. 2558 ได้มีการถวายพระราชสมัญญาเพิ่มเติม ได้แก่
    - พระบิดาแห่งการค้าไทย 🛍
    - พระบิดาแห่งการพาณิชย์นาวีไทย 🚢
    - พระบิดาแห่งการแพทย์แผนไทย 🌿

    🧡 วันเจษฎาบดินทร์ 31 มีนาคม วันแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย คณะรัฐมนตรีมีมติให้วันที่ 31 มีนาคมของทุกปี เป็น “วันเจษฎาบดินทร์” เพื่อรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ แห่งรัชกาลที่ 3 แม้ไม่ใช่วันหยุดราชการ แต่ถือเป็น วันสำคัญของชาติไทย 🗓🇹🇭

    💬 รัชกาลที่ 3 กับมรดกที่คนไทยไม่ควรลืม พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ไม่เพียงเป็นกษัตริย์ ที่ทรงพระปรีชาสามารถ ด้านการค้าและเศรษฐกิจเท่านั้น แต่ยังทรงเป็นกษัตริย์ที่ “เตรียมพร้อม” รับสถานการณ์ล่วงหน้าอย่างชาญฉลาด 💼💪

    “เงินถุงแดง” คือสัญลักษณ์ของ วินัยทางการเงินระดับชาติ และความห่วงใยต่อแผ่นดิน ของพระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 310848 มี.ค. 2568

    📌 #วันเจษฎาบดินทร์ #พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว #เงินถุงแดง #ราชวงศ์จักรี #ประวัติศาสตร์ไทย #รัชกาลที่3 #รศ112 #บทเรียนจากอดีต #พระมหาเจษฎาราชเจ้า #อธิปไตยไทย
    31 มีนา “วันเจษฎาบดินทร์” ระลึกพระนั่งเกล้าฯ ผู้ให้กำเนิด "เงินถุงแดง" ไถ่บ้านไถ่เมือง ✨ วันแห่งประวัติศาสตร์ไทย ที่ไม่ควรลืม ✨ วันที่ 31 มีนาคมของทุกปี ได้รับการประกาศจากคณะรัฐมนตรีให้เป็น “วันระลึกพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหาเจษฎาราชเจ้า” หรือเรียกกันว่า “วันเจษฎาบดินทร์” 💛 เพื่อระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ ของพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์จักรี ผู้วางรากฐานสำคัญให้กับการค้า การป้องกันประเทศ การทำนุบำรุงศาสนา และเป็นผู้นำแนวคิดการเก็บออม ไว้ให้ชาติบ้านเมืองในยามคับขัน ที่รู้จักกันในนาม “เงินถุงแดง” 💰 🏯 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระราชโอรส ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 กับสมเด็จพระศรีสุลาลัย หรือเจ้าจอมมารดาเรียม ทรงพระราชสมภพเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2331 ที่พระราชวังเดิม ธนบุรี 🏰 พระองค์มีพระนามเดิมว่า “หม่อมเจ้าชายทับ” ต่อมาได้รับการสถาปนาเป็น “กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์” และขึ้นครองราชสมบัติเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 ทรงมีพระชนมพรรษา 37 ปี ตลอดรัชสมัยกว่า 27 ปี พระองค์ทรงใช้พระปรีชาญาณ ในการบริหารบ้านเมืองอย่างรอบคอบ ทรงวางระบบเศรษฐกิจ 📈 ขยายเส้นทางการค้า 🌏 และจัดสรรรายได้แผ่นดินอย่างเป็นระบบ เพื่อความมั่นคงในอนาคต 🇹🇭 👑 จุดเริ่มต้นของคำว่า “พระมหาเจษฎาราชเจ้า” พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 โปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระนามใหม่อย่างย่อว่า “พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาเจษฎาธิบดินทร์ พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว” โดยคำว่า “เจษฎา” หมายถึง เลิศล้ำ ยอดเยี่ยม และ “บดินทร์” หมายถึง พระเจ้าแผ่นดิน ดังนั้น “พระมหาเจษฎาราชเจ้า” จึงหมายถึง “พระเจ้าแผ่นดินผู้ยิ่งใหญ่และเป็นเลิศ” ✨ 🧭 รัชสมัยแห่งความมั่นคงและเจริญรุ่งเรือง พระองค์ทรงส่งเสริมการค้าขายกับต่างชาติ โดยเฉพาะกับจีน และประเทศทางตะวันตก อย่างอังกฤษและสหรัฐฯ มีการลงนามในสนธิสัญญาเบอร์นี พ.ศ. 2369 และสนธิสัญญากับอเมริกาใน พ.ศ. 2375 ซึ่งเป็นสนธิสัญญาฉบับแรก ระหว่างสหรัฐอเมริกา กับประเทศในเอเชียตะวันออก 🌐 พระองค์ทรงวางรากฐานเศรษฐกิจการค้า เสริมสร้างรายได้แผ่นดิน โดยมีระบบภาษีใหม่ถึง 38 รายการ และทรงปกครองด้วยพระปรีชาญาณอย่างเด็ดขาด รวมถึงการสร้างคลอง เพื่อใช้ในสงครามและการพาณิชย์ เช่น คลองบางขุนเทียน คลองหมาหอน 🚤 📚 “เงินถุงแดง” ตำนานที่กลายเป็นจริง หนึ่งในมรดกที่สำคัญที่สุ ดจากพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว คือ เงินถุงแดง หรือ “พระคลังข้างที่” 💼 📌 พระคลังข้างที่ คือ พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ ที่สะสมไว้ใช้ในยามจำเป็นของแผ่นดิน พระองค์ทรงประหยัดมัธยัสถ์ และตั้งพระราชดำริว่า “เก็บไว้เพื่อไถ่บ้านไถ่เมือง” ในยามเกิดภัยพิบัติหรือสงคราม ต่อมาในเหตุการณ์ ร.ศ. 112 หรือ พ.ศ. 2436 เมื่อฝรั่งเศสบุกเรือรบ เข้ายึดดินแดนของไทย และเรียกร้องค่าปรับสงคราม 3,000,000 ฟรังก์ รัฐบาลสยามจึงได้นำเงินถุงแดง ออกมาใช้ในการไถ่แผ่นดิน 💸 📆 เหตุการณ์ ร.ศ.112 และการใช้ “เงินถุงแดง” ไถ่ชาติ 🔥 ความขัดแย้งไทย - ฝรั่งเศส ใน พ.ศ. 2436 ฝรั่งเศสกล่าวหาไทย ว่าเป็นฝ่ายเริ่มต้นสงคราม โดยอ้างเหตุการณ์ที่แม่น้ำโขง ที่กองกำลังไทยสังหารทหารฝรั่งเศส ทำให้ฝรั่งเศสส่งเรือรบ เข้าปิดล้อมแม่น้ำเจ้าพระยา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ต้องเผชิญกับสถานการณ์อันตึงเครียด ในระดับที่ชาติอาจล่มสลาย 💣 ฝรั่งเศสยื่นคำขาดให้ไทยจ่ายค่าปรับ และยกดินแดนฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง 🧾 ตัวเลขที่มากมาย ค่าเสียหายที่เรียกร้อง = 2,000,000 ฟรังก์ เงินมัดจำเพิ่มเติม = 1,000,000 ฟรังก์ รวมเป็น 3,000,000 ฟรังก์ ประมาณ 1.6 ล้านบาท ในขณะนั้น 📤 แหล่งเงินสำคัญ เงินที่นำมาใช้จ่ายครั้งนั้น มาจาก “พระคลังข้างที่” ซึ่งเป็นเงินส่วนพระองค์ของรัชกาลที่ 3 ที่ถูกเก็บไว้ในถุงแดงอย่างเงียบงัน 😌 🧠 ข้อเท็จจริงหรือแค่ตำนาน? เงินถุงแดงมีจริงหรือไม่ 🤔 มีบางความเห็นในยุคปัจจุบัน ที่ตั้งข้อสังเกตว่า “เงินถุงแดง” อาจไม่มีอยู่จริง และเป็นแค่เรื่องเล่าขาน แต่เมื่อพิจารณาหลักฐานจากหลายแหล่ง ทั้ง 📖 หนังสือพิมพ์ Le Monde Illustré ของฝรั่งเศส 📚 หนังสือ “เหตุการณ์ ร.ศ.112 และเรื่องเสียเขตแดนใน ร.5” 📜 พระราชนิพนธ์ และคำกราบบังคมทูล ของกรมขุนนริศรานุวัดติวงศ์ ต่างยืนยันว่า มีการชำระเงินมัดจำด้วยเหรียญเม็กซิกัน จำนวนกว่า 800,000 เหรียญ หรือประมาณ 23 ตัน ที่ขนส่งออกไปจากกรุงเทพฯ 🚢 🔍 วิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ เงินถุงแดงสะท้อนอะไร? เงินถุงแดงไม่เพียงเป็นสัญลักษณ์ ของความสามารถในการบริหารเศรษฐกิจ ของรัชกาลที่ 3 แต่ยังสะท้อนถึงแนวคิด “เงินสำรองแผ่นดิน” ซึ่งในภายหลัง ก็กลายเป็นแนวคิดตั้งต้นของ “ทุนสำรองระหว่างประเทศ” ในรูปแบบที่เรารู้จักกันทุกวันนี้ 🌎💹 📖 พระราชสมัญญา แห่งพระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ ต่อมาใน พ.ศ. 2541 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ได้พระราชทานพระราชสมัญญา “พระมหาเจษฎาราชเจ้า” ตามมาด้วยใน พ.ศ. 2551 และ พ.ศ. 2558 ได้มีการถวายพระราชสมัญญาเพิ่มเติม ได้แก่ - พระบิดาแห่งการค้าไทย 🛍 - พระบิดาแห่งการพาณิชย์นาวีไทย 🚢 - พระบิดาแห่งการแพทย์แผนไทย 🌿 🧡 วันเจษฎาบดินทร์ 31 มีนาคม วันแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย คณะรัฐมนตรีมีมติให้วันที่ 31 มีนาคมของทุกปี เป็น “วันเจษฎาบดินทร์” เพื่อรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ แห่งรัชกาลที่ 3 แม้ไม่ใช่วันหยุดราชการ แต่ถือเป็น วันสำคัญของชาติไทย 🗓🇹🇭 💬 รัชกาลที่ 3 กับมรดกที่คนไทยไม่ควรลืม พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ไม่เพียงเป็นกษัตริย์ ที่ทรงพระปรีชาสามารถ ด้านการค้าและเศรษฐกิจเท่านั้น แต่ยังทรงเป็นกษัตริย์ที่ “เตรียมพร้อม” รับสถานการณ์ล่วงหน้าอย่างชาญฉลาด 💼💪 “เงินถุงแดง” คือสัญลักษณ์ของ วินัยทางการเงินระดับชาติ และความห่วงใยต่อแผ่นดิน ของพระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 310848 มี.ค. 2568 📌 #วันเจษฎาบดินทร์ #พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว #เงินถุงแดง #ราชวงศ์จักรี #ประวัติศาสตร์ไทย #รัชกาลที่3 #รศ112 #บทเรียนจากอดีต #พระมหาเจษฎาราชเจ้า #อธิปไตยไทย
    0 Comments 0 Shares 384 Views 0 Reviews
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษาให้เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 946
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946
    ชื่อบทธรรม :- นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลาย จงเจริญสมาธิเถิด.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีจิตเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริง.
    ภิกษุนั้น ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ?
    ภิกษุนั้น ย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งความเกิดขึ้นและความดับไป
    แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ.
    --ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น
    แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ
    เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่.
    ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ซึ่งรูป.
    เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป,
    นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=นนฺทิ
    ความเพลินใด ในรูป, ความเพลิดเพลินนั้นคืออุปาทาน.
    เพราะอุปาทานของภิกษุนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ;
    เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ;
    เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ-โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน
    : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.
    --(ในกรณีของ การเกิดขึ้น
    แห่งเวทนา แห่งสัญญา แห่งสังขาร แห่งวิญญาณ
    ก็มีข้อความที่ ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น).
    --ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความเกิดขึ้น
    แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ.
    --ภิกษุ ท. ! ความดับ
    แห่งรูป …. แห่ง เวทนา …. แห่ง สัญญา …. แห่ง สังขาร …. แห่ง วิญญาณ
    เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้
    ย่อม ไม่เพลิดเพลิน ย่อม ไม่พร่ำสรเสริญ ย่อม ไม่เมาหมกอยู่.
    ภิกษุนั้นย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น
    ย่อมไม่เพลิดเลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป.
    เมื่อภิกษนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป,
    #นันทิ (ความเพลิน) ใด ในรูป, นันทินั้นย่อมดับไป.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=นนฺทิ
    เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะ-ทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.
    --(ในกรณีของ การดับ
    แห่งเวทนา แห่ง สัญญา แห่ง สังขาร และแห่ง วิญญาณ
    ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น
    ).
    --ภิกษุ ท.! นี้คือ #ความดับ
    แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ,
    http://etipitaka.com/read/pali/17/20/?keywords=นิโรธ
    แล.-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. 17/13 - 14/27 - 29 .
    http://etipitaka.com/read/thai/17/13/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. ๑๗/๑๘ - ๑๙/๒๗ - ๒๙ .
    http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=946
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษาให้เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ สัทธรรมลำดับที่ : 946 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946 ชื่อบทธรรม :- นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ เนื้อความทั้งหมด :- --นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลาย จงเจริญสมาธิเถิด. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีจิตเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริง. ภิกษุนั้น ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุนั้น ย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งความเกิดขึ้นและความดับไป แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ. --ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้น แห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่. ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ซึ่งรูป. เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น. http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=นนฺทิ ความเพลินใด ในรูป, ความเพลิดเพลินนั้นคืออุปาทาน. เพราะอุปาทานของภิกษุนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ-โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. --(ในกรณีของ การเกิดขึ้น แห่งเวทนา แห่งสัญญา แห่งสังขาร แห่งวิญญาณ ก็มีข้อความที่ ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น). --ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความเกิดขึ้น แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ. --ภิกษุ ท. ! ความดับ แห่งรูป …. แห่ง เวทนา …. แห่ง สัญญา …. แห่ง สังขาร …. แห่ง วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม ไม่เพลิดเพลิน ย่อม ไม่พร่ำสรเสริญ ย่อม ไม่เมาหมกอยู่. ภิกษุนั้นย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมไม่เพลิดเลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป. เมื่อภิกษนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป, #นันทิ (ความเพลิน) ใด ในรูป, นันทินั้นย่อมดับไป. http://etipitaka.com/read/pali/17/19/?keywords=นนฺทิ เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะ-ทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. --(ในกรณีของ การดับ แห่งเวทนา แห่ง สัญญา แห่ง สังขาร และแห่ง วิญญาณ ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น ). --ภิกษุ ท.! นี้คือ #ความดับ แห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ, http://etipitaka.com/read/pali/17/20/?keywords=นิโรธ แล.- #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. 17/13 - 14/27 - 29 . http://etipitaka.com/read/thai/17/13/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ.สํ. ๑๗/๑๘ - ๑๙/๒๗ - ๒๙ . http://etipitaka.com/read/pali/17/18/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%97 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=946 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=946 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_80.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์
    -นัยที่สอง : เห็นความเกิดดับของเบญจขันธ์ ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลาย จงเจริญสมาธิเถิด. ภิกษุ ท. ! ภิกษุผู้มีจิตเป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริง. ภิกษุนั้น ย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุนั้น ย่อม รู้ชัดตามที่เป็นจริงซึ่งความเกิดขึ้นและความดับไปแห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ. ภิกษุ ท. ! การเกิดขึ้นแห่งรูป .... แห่งเวทนา .... แห่งสัญญา .... แห่งสังขาร .... แห่งวิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่. ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมเพลิดเพลิน ย่อมพร่ำสรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ซึ่งรูป. เมื่อภิกษุนั้น เพลิดเพลิน พร่ำสรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูป, นันทิ (ความเพลิน) ย่อมเกิดขึ้น. ความเพลินใด ในรูป, ความเพลิดเพลินนั้นคืออุปาทาน. เพราะอุปาทานของภิกษุนั้นเป็นปัจจัย จึงมีภพ; เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ; เพราะมีชาติเป็นปัจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ-โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน : ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีของ การเกิดขึ้นแห่งเวทนา แห่งสัญญา แห่งสังขาร แห่งวิญญาณ ก็มีข้อความที่ ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น). ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความเกิดขึ้นแห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ. ภิกษุ ท. ! ความดับแห่งรูป …. แห่ง เวทนา …. แห่ง สัญญา …. แห่ง สังขาร …. แห่ง วิญญาณ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุในกรณีนี้ ย่อม ไม่เพลิดเพลิน ย่อม ไม่พร่ำสรเสริญ ย่อม ไม่เมาหมกอยู่. ภิกษุนั้นย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ ซึ่งอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น ย่อมไม่เพลิดเลิน ย่อมไม่พร่ำสรรเสริญ ย่อมไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป. เมื่อภิกษนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำสรรเสริญ ไม่เมาหมกอยู่ซึ่ง รูป, นันทิ (ความเพลิน) ใด ในรูป, นันทินั้นย่อมดับไป. เพราะความดับแห่งนันทิของภิกษุนั้น จึงมีความดับแห่งอุปาทาน; เพราะมี ความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะ-ทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีของ การดับแห่งเวทนา แห่ง สัญญา แห่ง สังขาร และแห่ง วิญญาณ ก็มีข้อความที่ตรัสอย่างเดียวกัน เปลี่ยนแต่ชื่อขันธ์ เท่านั้น). ภิกษุ ท. ! นี้คือ ความดับแห่งรูป …. แห่งเวทนา …. แห่งสัญญา …. แห่งสังขาร …. แห่งวิญญาณ, แล.
    0 Comments 0 Shares 215 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าผู้บรรลุธรรมอันเกษมเรียกอีกชื่อได้ว่าผู้เขมัปปัตต์
    สัทธรรมลำดับที่ : 574
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=574
    ชื่อบทธรรม : -ผู้เขมัปปัตต์(ผู้บรรลุธรรมอันเกษม)​ ตามคำของพระอานนท์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้เขมัปปัตต์ ตามคำของพระอานนท์
    --“อาวุโส ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘เขมัปปัตต์ เขมัปปัตต์’ ดังนี้.
    --อาวุโส ! เขมัปปัตต์นี้
    http://etipitaka.com/read/pali/23/477/?keywords=เขมปฺปตฺโต
    พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไรหนอแล ?”
    (พระอุทายีถามพระอานนท์, พระอานนท์เป็นผู้ตอบ).
    --อาวุโส !
    ภิกษุ ในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึง ปฐมฌาน
    อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่,
    --อาวุโส! เขมัปปัตต์ อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล
    เมื่อกล่าว โดยปริยาย.

    --(ในกรณีแห่ง
    ทุติยฌาน ; ตติยฌาน ; จตุตถฌาน ;อากาสานัญจายตนะ ; วิญญาณัญจายตนะ ;
    อากิญจัญญายตนะ และ เนวสัญญานาสัญญายตนะ
    มีข้อความที่กล่าวไว้โดยทำนองเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่งปฐมฌานทุกประการ และใน &​ฐานะเป็นเขมัปปัตต์ โดยปริยาย.
    ส่วนสัญญาเวทยิตนิโรธชนิดมีการสิ้นอาสวะนั้น
    กล่าวไว้ในฐานะเป็น #เขมัปปัตต์
    โดยนิปปริยาย ด้วยข้อความดังต่อไปนี้ :-
    )​

    --อาวุโส ! นัยอื่นอีกมีอยู่ :
    ภิกษุ ก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง
    เข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่.
    อนึ่ง เพราะเห็นด้วยปัญญา อาสวะทั้งหลายของเธอนั้นก็สิ้นไปรอบ.
    --อาวุโส ! #เขมัปปัตต์ อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล
    เมื่อกล่าวโดยนิปปริยาย.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก. อํ. 23/367/257.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/367/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก. อํ. ๒๓/๔๗๗/๒๕๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/477/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=574
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=574
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38
    ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าผู้บรรลุธรรมอันเกษมเรียกอีกชื่อได้ว่าผู้เขมัปปัตต์ สัทธรรมลำดับที่ : 574 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=574 ชื่อบทธรรม : -ผู้เขมัปปัตต์(ผู้บรรลุธรรมอันเกษม)​ ตามคำของพระอานนท์ เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้เขมัปปัตต์ ตามคำของพระอานนท์ --“อาวุโส ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘เขมัปปัตต์ เขมัปปัตต์’ ดังนี้. --อาวุโส ! เขมัปปัตต์นี้ http://etipitaka.com/read/pali/23/477/?keywords=เขมปฺปตฺโต พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไรหนอแล ?” (พระอุทายีถามพระอานนท์, พระอานนท์เป็นผู้ตอบ). --อาวุโส ! ภิกษุ ในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่, --อาวุโส! เขมัปปัตต์ อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าว โดยปริยาย. --(ในกรณีแห่ง ทุติยฌาน ; ตติยฌาน ; จตุตถฌาน ;อากาสานัญจายตนะ ; วิญญาณัญจายตนะ ; อากิญจัญญายตนะ และ เนวสัญญานาสัญญายตนะ มีข้อความที่กล่าวไว้โดยทำนองเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่งปฐมฌานทุกประการ และใน &​ฐานะเป็นเขมัปปัตต์ โดยปริยาย. ส่วนสัญญาเวทยิตนิโรธชนิดมีการสิ้นอาสวะนั้น กล่าวไว้ในฐานะเป็น #เขมัปปัตต์ โดยนิปปริยาย ด้วยข้อความดังต่อไปนี้ :- )​ --อาวุโส ! นัยอื่นอีกมีอยู่ : ภิกษุ ก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่. อนึ่ง เพราะเห็นด้วยปัญญา อาสวะทั้งหลายของเธอนั้นก็สิ้นไปรอบ. --อาวุโส ! #เขมัปปัตต์ อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าวโดยนิปปริยาย.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก. อํ. 23/367/257. http://etipitaka.com/read/thai/23/367/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก. อํ. ๒๓/๔๗๗/๒๕๗. http://etipitaka.com/read/pali/23/477/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=574 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=574 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38 ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้เขมัปปัตต์ ตามคำของพระอานนท์
    -ผู้เขมัปปัตต์ ตามคำของพระอานนท์ “อาวุโส ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘เขมัปปัตต์ เขมัปปัตต์’ ดังนี้. อาวุโส ! เขมัปปัตต์นี้ พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไรหนอแล ?” (พระอุทายีถามพระอานนท์, พระอานนท์เป็นผู้ตอบ). อาวุโส ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่, อาวุโส! เขมัปปัตต์ อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าว โดยปริยาย. (ในกรณีแห่ง ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ และ เนวสัญญานาสัญญายตนะ มีข้อความที่กล่าวไว้โดยทำนองเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่งปฐมฌานทุกประการ และในฐานะเป็นเขมัปปัตต์ โดยปริยาย. ส่วนสัญญาเวทยิตนิโรธชนิดมีการสิ้นอาสวะนั้น กล่าวไว้ในฐานะเป็นเขมัปปัตต์ โดยนิปปริยาย ด้วยข้อความดังต่อไปนี้ :-) อาวุโส ! นัยอื่นอีกมีอยู่ : ภิกษุ ก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่. อนึ่ง เพราะเห็นด้วยปัญญา อาสวะทั้งหลายของเธอนั้นก็สิ้นไปรอบ. อาวุโส ! เขมัปปัตต์ อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าวโดยนิปปริยาย.
    0 Comments 0 Shares 193 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาประมวลเรื่องน่ารู้พิเศษ เกี่ยวกับเวทนาและวิภาคแห่งเวทนา
    สัทธรรมลำดับที่ : 139
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=139
    ชื่อบทธรรม :- ประมวลเรื่องน่ารู้พิเศษ เกี่ยวกับเวทนา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ประมวลเรื่องน่ารู้พิเศษ เกี่ยวกับเวทนา
    -พุทธสาวก เป็นผู้มีจิตตั้งมั่น มีสติ มีสัมปชัญญะ ย่อมรู้ชัด
    ซึ่งเวทนา
    ซึ่งแดนเกิดแห่งเวทนา
    ซึ่งธรรมเป็นที่ดับแห่งเวทนา
    ซึ่งหนทางให้ถึงความสิ้นไป (แห่งฉันทราคะในเวทนา),
    --ภิกษุ เพราะสิ้น(ฉันทราคะ) แห่งเวทนาทั้งหลาย เป็นผู้หายหิว ดับเย็นสนิท.
    -เวทนาอย่างใดอย่างหนึ่ง มีอยู่
    เป็นสุขก็ตาม
    เป็นทุกข์ก็ตาม
    เป็นอทุกขมสุขก็ตาม
    เป็นภายในก็ตาม ภายนอกก็ตาม บุคคลรู้ว่าสิ่งเหล่านี้ เป็นทุกข์
    มีความหลอกลวงเป็นธรรมดา มีการแตกสลายเป็นธรรมดาเสวยแล้ว เสวยแล้ว
    เห็นอยู่ว่าเป็นสิ่งที่มีความสิ้นไปเป็นธรรมดา
    : ดังนี้ ย่อมปราศจากความกำหนัดในเวทนานั้น ๆ.
    -เมื่อบุคคลเสวยสุขเวทนาอยู่ ไม่รู้จักชัดซึ่งเวทนานั้น
    ราคานุสัยย่อมมีแก่เขาผู้มองไม่เห็นทางออกจากอำนาจของเวทนานั้น.
    -เมื่อบุคคล เสวยทุกขเวทนาอยู่ ไม่รู้จักชัดซึ่งเวทนานั้น
    ปฏิฆานุสัยย่อมมีแก่เขา ผู้มองไม่เห็นทางออกจากอำนาจของเวทนานั้น.
    บุคคลเพลิดเพลินแม้ในอทุกขมสุข
    อันพระภูริปัญญาพุทธเจ้าทรงแสดงว่าเป็นธรรมอันรำงับ ก็หาพ้นจากทุกข์ไปได้ไม่.
    --เมื่อใดภิกษุ
    มีความเพียรเผากิเลส
    ไม่ทอดทิ้งสัมปชัญญะ
    ก็เป็นบัณฑิตรอบรู้เวทนาทั้งปวง
    --ภิกษุนั้น เพราะรอบรู้ซึ่งเวทนา จึงเป็นผู้ไม่มีอาสวะในทิฏฐิธรรม
    เป็นผู้ตั้งอยู่ในธรรมจนกระทั่งกายแตก จบเวท ไม่เข้าถึงซึ่งการนับว่าเป็นอะไร.
    -บุคคลใด ถูกทุกขเวทนาอันเกิดขึ้นแล้วในสรีระปานว่าจะนำเสียซึ่งชีวิต
    อดกลั้นไม่ได้ ย่อมหวั่นไหว ย่อมคร่ำครวญร่ำไห้ ทุพพลภาพหมดกำลัง ;
    -บุคคลนั้น จมลงแล้วในบาดาล (แห่งเวทนา) ซึ่งไม่มีที่ยืนเหยียบถึง.
    -ส่วนบุคคลใด ถูกทุกขเวทนาอันเกิดขึ้นแล้วในสรีระปานว่าจะนำเสียซึ่งชีวิต
    ย่อมอดกลั้นได้ ไม่หวั่นไหว ;
    -บุคคลนั้น ไม่จมลงแล้วในบาดาล เพราะมีที่ยืนเหยียบถึง.
    -ผู้ใด
    เห็นสุขโดยความเป็นทุกข์
    เห็นทุกข์โดยความเป็นลูกศร
    เห็นอทุกขมสุขอันกำลังมีอยู่
    โดยความเป็นของไม่เที่ยง ;
    --ผู้นั้นเป็นภิกษุ
    ผู้รู้เห็นโดยชอบ
    ย่อมรอบรู้ซึ่งเวทนา
    เพราะรอบรู้เวทนา
    จึงเป็นผู้ไม่มีอาสวะในทิฎฐิธรรม
    เป็นผู้ตั้งอยู่ในธรรมจนกระทั่งกายแตก จบเวท ไม่เข้าถึงซึ่งการนับว่าเป็นอะไร,

    -- สฬา. สํ. ๑๘/๒๕๔-๒๕๗/๓๖๐, ๓๖๒, ๓๖๔, ๓๖๖, ๓๖๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/254/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%90

    --วิภาคแห่งเวทนา
    --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงธรรมปริยายซึ่งมีปริยายร้อยแปด แก่พวกเธอทั้งหลาย,
    พวกเธอ จงฟังธรรมปริยายข้อนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! ธรรมปริยาย ซึ่งมีปริยายร้อยแปดนั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. !
    เวทนา แม้สองอย่าง เราได้กล่าวแล้วโดยปริยาย,
    เวทนา แม้สามอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย,
    เวทนา แม้ห้าอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย,
    เวทนา แม้หกอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย,
    เวทนา แม้สิบแปดอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย,
    เวทนา แม้สามสิบหกอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย,
    และเวทนา แม้ร้อยแปดอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย.
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา สองอย่าง นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    เวทนา สองอย่างนั้น คือ เวทนาที่เป็นไปทางกาย และเวทนาที่เป็นไปทางใจ.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสองอย่าง
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา สามอย่าง นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    เวทนา สามอย่างนั้น คือ
    สุขเวทนา (ความรู้สึกอันเป็นสุข)
    ทุกขเวทนา (ความรู้สึกอันเป็นทุกข์)
    และอทุกขมสุขเวทนา (ความรู้สึกก็ยังไม่อาจกล่าวได้ว่าเป็นทุกข์หรือสุข).
    ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสามอย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา ห้าอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา ห้าอย่างนั้นคือ อินทรีย์คือสุข อินทรีย์คือทุกข์ อินทรีย์คือโสมนัส อินทรีย์คือโทมนัส และอินทรีย์คืออุเบกขา. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาห้าอย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา หกอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    เวทนา หกอย่างนั้น คือ
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ตา,
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง หู,
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง จมูก,
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ลิ้น,
    เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง กาย,
    และเวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ใจ.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาหกอย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา สิบแปดอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    เวทนา สิบแปดอย่างนั้น คือ
    ความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยโสมนัส หกอย่าง,
    ความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยโทมนัส หกอย่าง,
    และความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยอุเบกขา หกอย่าง.
    ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสิบแปดอย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา สามสิบหกอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    เวทนาสามสิบหกอย่างนั้น คือ
    โสมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือน (กามคุณ ๕) หกอย่าง,
    โสมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (ไม่เกี่ยวด้วยกามคุณ ๕) หกอย่าง,
    โทมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือนหกอย่าง,
    โทมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือนหกอย่าง,
    อุเบกขาเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือนหกอย่าง, และ
    อุเบกขาเวทนาที่เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือนหกอย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสามสิบหกอย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! เวทนา ร้อยแปดอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ?
    เวทนาร้อยแปดอย่างนั้น คือ
    เวทนาสามสิบหก (ดังที่กล่าวแล้วข้างต้น) ส่วนที่เป็นอดีต,
    เวทนาสามสิบหกส่วนที่เป็นอนาคต, และ
    เวทนาสามสิบหกส่วนที่เป็นปัจจุบัน.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาร้อยแปดอย่าง.
    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ ชื่อว่าธรรมปริยาย ซึ่งมีปริยายร้อยแปด แล.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/286-8/430-7.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/244/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๘๖-๘/๔๓๐-๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/286/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม..
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=139
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=139
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11
    ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาประมวลเรื่องน่ารู้พิเศษ เกี่ยวกับเวทนาและวิภาคแห่งเวทนา สัทธรรมลำดับที่ : 139 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=139 ชื่อบทธรรม :- ประมวลเรื่องน่ารู้พิเศษ เกี่ยวกับเวทนา เนื้อความทั้งหมด :- --ประมวลเรื่องน่ารู้พิเศษ เกี่ยวกับเวทนา -พุทธสาวก เป็นผู้มีจิตตั้งมั่น มีสติ มีสัมปชัญญะ ย่อมรู้ชัด ซึ่งเวทนา ซึ่งแดนเกิดแห่งเวทนา ซึ่งธรรมเป็นที่ดับแห่งเวทนา ซึ่งหนทางให้ถึงความสิ้นไป (แห่งฉันทราคะในเวทนา), --ภิกษุ เพราะสิ้น(ฉันทราคะ) แห่งเวทนาทั้งหลาย เป็นผู้หายหิว ดับเย็นสนิท. -เวทนาอย่างใดอย่างหนึ่ง มีอยู่ เป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตาม เป็นอทุกขมสุขก็ตาม เป็นภายในก็ตาม ภายนอกก็ตาม บุคคลรู้ว่าสิ่งเหล่านี้ เป็นทุกข์ มีความหลอกลวงเป็นธรรมดา มีการแตกสลายเป็นธรรมดาเสวยแล้ว เสวยแล้ว เห็นอยู่ว่าเป็นสิ่งที่มีความสิ้นไปเป็นธรรมดา : ดังนี้ ย่อมปราศจากความกำหนัดในเวทนานั้น ๆ. -เมื่อบุคคลเสวยสุขเวทนาอยู่ ไม่รู้จักชัดซึ่งเวทนานั้น ราคานุสัยย่อมมีแก่เขาผู้มองไม่เห็นทางออกจากอำนาจของเวทนานั้น. -เมื่อบุคคล เสวยทุกขเวทนาอยู่ ไม่รู้จักชัดซึ่งเวทนานั้น ปฏิฆานุสัยย่อมมีแก่เขา ผู้มองไม่เห็นทางออกจากอำนาจของเวทนานั้น. บุคคลเพลิดเพลินแม้ในอทุกขมสุข อันพระภูริปัญญาพุทธเจ้าทรงแสดงว่าเป็นธรรมอันรำงับ ก็หาพ้นจากทุกข์ไปได้ไม่. --เมื่อใดภิกษุ มีความเพียรเผากิเลส ไม่ทอดทิ้งสัมปชัญญะ ก็เป็นบัณฑิตรอบรู้เวทนาทั้งปวง --ภิกษุนั้น เพราะรอบรู้ซึ่งเวทนา จึงเป็นผู้ไม่มีอาสวะในทิฏฐิธรรม เป็นผู้ตั้งอยู่ในธรรมจนกระทั่งกายแตก จบเวท ไม่เข้าถึงซึ่งการนับว่าเป็นอะไร. -บุคคลใด ถูกทุกขเวทนาอันเกิดขึ้นแล้วในสรีระปานว่าจะนำเสียซึ่งชีวิต อดกลั้นไม่ได้ ย่อมหวั่นไหว ย่อมคร่ำครวญร่ำไห้ ทุพพลภาพหมดกำลัง ; -บุคคลนั้น จมลงแล้วในบาดาล (แห่งเวทนา) ซึ่งไม่มีที่ยืนเหยียบถึง. -ส่วนบุคคลใด ถูกทุกขเวทนาอันเกิดขึ้นแล้วในสรีระปานว่าจะนำเสียซึ่งชีวิต ย่อมอดกลั้นได้ ไม่หวั่นไหว ; -บุคคลนั้น ไม่จมลงแล้วในบาดาล เพราะมีที่ยืนเหยียบถึง. -ผู้ใด เห็นสุขโดยความเป็นทุกข์ เห็นทุกข์โดยความเป็นลูกศร เห็นอทุกขมสุขอันกำลังมีอยู่ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ; --ผู้นั้นเป็นภิกษุ ผู้รู้เห็นโดยชอบ ย่อมรอบรู้ซึ่งเวทนา เพราะรอบรู้เวทนา จึงเป็นผู้ไม่มีอาสวะในทิฎฐิธรรม เป็นผู้ตั้งอยู่ในธรรมจนกระทั่งกายแตก จบเวท ไม่เข้าถึงซึ่งการนับว่าเป็นอะไร, -- สฬา. สํ. ๑๘/๒๕๔-๒๕๗/๓๖๐, ๓๖๒, ๓๖๔, ๓๖๖, ๓๖๘. http://etipitaka.com/read/pali/18/254/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%96%E0%B9%90 --วิภาคแห่งเวทนา --ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงธรรมปริยายซึ่งมีปริยายร้อยแปด แก่พวกเธอทั้งหลาย, พวกเธอ จงฟังธรรมปริยายข้อนั้น. --ภิกษุ ท. ! ธรรมปริยาย ซึ่งมีปริยายร้อยแปดนั้น เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เวทนา แม้สองอย่าง เราได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้สามอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้ห้าอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้หกอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้สิบแปดอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้สามสิบหกอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, และเวทนา แม้ร้อยแปดอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย. --ภิกษุ ท. ! เวทนา สองอย่าง นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา สองอย่างนั้น คือ เวทนาที่เป็นไปทางกาย และเวทนาที่เป็นไปทางใจ. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสองอย่าง --ภิกษุ ท. ! เวทนา สามอย่าง นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา สามอย่างนั้น คือ สุขเวทนา (ความรู้สึกอันเป็นสุข) ทุกขเวทนา (ความรู้สึกอันเป็นทุกข์) และอทุกขมสุขเวทนา (ความรู้สึกก็ยังไม่อาจกล่าวได้ว่าเป็นทุกข์หรือสุข). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสามอย่าง. --ภิกษุ ท. ! เวทนา ห้าอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา ห้าอย่างนั้นคือ อินทรีย์คือสุข อินทรีย์คือทุกข์ อินทรีย์คือโสมนัส อินทรีย์คือโทมนัส และอินทรีย์คืออุเบกขา. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาห้าอย่าง. --ภิกษุ ท. ! เวทนา หกอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา หกอย่างนั้น คือ เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ตา, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง หู, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง จมูก, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ลิ้น, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง กาย, และเวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทาง ใจ. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาหกอย่าง. --ภิกษุ ท. ! เวทนา สิบแปดอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา สิบแปดอย่างนั้น คือ ความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยโสมนัส หกอย่าง, ความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยโทมนัส หกอย่าง, และความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยอุเบกขา หกอย่าง. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสิบแปดอย่าง. --ภิกษุ ท. ! เวทนา สามสิบหกอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนาสามสิบหกอย่างนั้น คือ โสมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือน (กามคุณ ๕) หกอย่าง, โสมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (ไม่เกี่ยวด้วยกามคุณ ๕) หกอย่าง, โทมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือนหกอย่าง, โทมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือนหกอย่าง, อุเบกขาเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือนหกอย่าง, และ อุเบกขาเวทนาที่เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือนหกอย่าง. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสามสิบหกอย่าง. --ภิกษุ ท. ! เวทนา ร้อยแปดอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนาร้อยแปดอย่างนั้น คือ เวทนาสามสิบหก (ดังที่กล่าวแล้วข้างต้น) ส่วนที่เป็นอดีต, เวทนาสามสิบหกส่วนที่เป็นอนาคต, และ เวทนาสามสิบหกส่วนที่เป็นปัจจุบัน. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาร้อยแปดอย่าง. --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ ชื่อว่าธรรมปริยาย ซึ่งมีปริยายร้อยแปด แล.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/286-8/430-7. http://etipitaka.com/read/thai/18/244/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๒๘๖-๘/๔๓๐-๗. http://etipitaka.com/read/pali/18/286/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%93%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม.. https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=139 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11&id=139 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=11 ลำดับสาธยายธรรม : 11 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_11.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ประมวลเรื่องน่ารู้พิเศษ เกี่ยวกับเวทนา
    -ประมวลเรื่องน่ารู้พิเศษ เกี่ยวกับเวทนา พุทธสาวก เป็นผู้มีจิตตั้งมั่น มีสติ มีสัมปชัญญะ ย่อมรู้ชัดซึ่งเวทนา ซึ่งแดนเกิดแห่งเวทนา ซึ่งธรรมเป็นที่ดับแห่งเวทนา ซึ่งหนทางให้ถึงความสิ้นไป (แห่งฉันทราคะในเวทนา), ภิกษุ เพราะสิ้น(ฉันทราคะ) แห่งเวทนาทั้งหลาย เป็นผู้หายหิว ดับเย็นสนิท. เวทนาอย่างใดอย่างหนึ่ง มีอยู่ เป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตามเป็นอทุกขมสุขก็ตาม เป็นภายในก็ตาม ภายนอกก็ตาม บุคคลรู้ว่าสิ่งเหล่านี้เป็นทุกข์ มีความหลอกลวงเป็นธรรมดา มีการแตกสลายเป็นธรรมดาเสวยแล้ว เสวยแล้ว เห็นอยู่ว่าเป็นสิ่งที่มีความสิ้นไปเป็นธรรมดา : ดังนี้ ย่อมปราศจากความกำหนัดในเวทนานั้น ๆ. เมื่อบุคคลเสวยสุขเวทนาอยู่ ไม่รู้จักชัดซึ่งเวทนานั้น ราคานุสัยย่อมมีแก่เขาผู้มองไม่เห็นทางออกจากอำนาจของเวทนานั้น. เมื่อบุคคล เสวยทุกขเวทนาอยู่ ไม่รู้จักชัดซึ่งเวทนานั้น ปฏิฆานุสัยย่อมมีแก่เขา ผู้มองไม่เห็นทางออกจากอำนาจของเวทนานั้น. บุคคลเพลิดเพลินแม้ในอทุกขมสุขอันพระภูริปัญญาพุทธเจ้าทรงแสดงว่าเป็นธรรมอันรำงับ ก็หาพ้นจากทุกข์ไปได้ไม่. เมื่อใดภิกษุมีความเพียรเผากิเลส ไม่ทอดทิ้งสัมปชัญญะ ก็เป็นบัณฑิตรอบรู้เวทนาทั้งปวง ภิกษุนั้น เพราะรอบรู้ซึ่งเวทนา จึงเป็นผู้ไม่มีอาสวะในทิฏฐิธรรม เป็นผู้ตั้งอยู่ในธรรมจนกระทั่งกายแตก จบเวท ไม่เข้าถึงซึ่งการนับว่าเป็นอะไร. บุคคลใด ถูกทุกขเวทนาอันเกิดขึ้นแล้วในสรีระปานว่าจะนำเสียซึ่งชีวิต อดกลั้นไม่ได้ ย่อมหวั่นไหว ย่อมคร่ำครวญร่ำไห้ ทุพพลภาพหมดกำลัง ; บุคคลนั้น จมลงแล้วในบาดาล (แห่งเวทนา) ซึ่งไม่มีที่ยืนเหยียบถึง. ส่วนบุคคลใด ถูกทุกขเวทนาอันเกิดขึ้นแล้วในสรีระปานว่าจะนำเสียซึ่งชีวิต ย่อมอดกลั้นได้ ไม่หวั่นไหว ; บุคคลนั้น ไม่จมลงแล้วในบาดาล เพราะมีที่ยืนเหยียบถึง. ผู้ใด เห็นสุขโดยความเป็นทุกข์ เห็นทุกข์โดยความเป็นลูกศร เห็นอทุกขมสุขอันกำลังมีอยู่ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ; ผู้นั้นเป็นภิกษุ ผู้รู้เห็นโดยชอบ ย่อมรอบรู้ซึ่งเวทนา เพราะรอบรู้เวทนา จึง เป็นผู้ไม่มีอาสวะในทิฎฐิธรรม เป็นผู้ตั้งอยู่ในธรรมจนกระทั่งกายแตก จบเวท ไม่เข้าถึงซึ่งการนับว่าเป็นอะไร, สฬา. สํ. ๑๘/๒๕๔-๒๕๗/๓๖๐, ๓๖๒, ๓๖๔, ๓๖๖, ๓๖๘. วิภาคแห่งเวทนา ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงธรรมปริยายซึ่งมีปริยายร้อยแปด แก่พวกเธอทั้งหลาย, พวกเธอ จงฟังธรรมปริยายข้อนั้น. ภิกษุ ท. ! ธรรมปริยาย ซึ่งมีปริยายร้อยแปดนั้น เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เวทนา แม้สองอย่าง เราได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้สามอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้ห้าอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้หกอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนาแม้สิบแปดอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, เวทนา แม้สามสิบหกอย่างเราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย, และเวทนา แม้ร้อยแปดอย่าง เราก็ได้กล่าวแล้วโดยปริยาย. ภิกษุ ท. ! เวทนา สองอย่าง นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา สองอย่างนั้น คือ เวทนาที่เป็นไปทางกาย และเวทนาที่เป็นไปทางใจ. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสองอย่าง ภิกษุ ท. ! เวทนา สามอย่าง นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา สามอย่างนั้น คือ สุขเวทนา (ความรู้สึกอันเป็นสุข) ทุกขเวทนา (ความรู้สึกอันเป็นทุกข์) และอทุกขมสุขเวทนา (ความรู้สึกก็ยังไม่อาจกล่าวได้ว่าเป็นทุกข์หรือสุข). ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสามอย่าง. ภิกษุ ท. ! เวทนา ห้าอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา ห้าอย่างนั้นคือ อินทรีย์คือสุข อินทรีย์คือทุกข์ อินทรีย์คือโสมนัส อินทรีย์คือโทมนัส และอินทรีย์คืออุเบกขา. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาห้าอย่าง. ภิกษุ ท. ! เวทนา หกอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา หกอย่างนั้น คือ เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางตา, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางหู, เวทนาอันเกิดแต่สัมผัสทางจมูก, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางลิ้น, เวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางกาย, และเวทนา อันเกิดแต่สัมผัสทางใจ. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาหกอย่าง. ภิกษุ ท. ! เวทนา สิบแปดอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนา สิบแปดอย่างนั้น คือ ความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยโสมนัสหกอย่าง, ความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยโทมนัสหกอย่าง, และความรู้สึกของจิตที่มั่วสุมอยู่ด้วยอุเบกขาหกอย่าง. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสิบแปดอย่าง. ภิกษุ ท. ! เวทนา สามสิบหกอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนาสามสิบหกอย่างนั้น คือ โสมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือน (กามคุณ ๕) หกอย่าง, โสมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือน (ไม่เกี่ยวด้วยกามคุณ ๕) หกอย่าง, โทมนัสเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือนหกอย่าง, โทมนัสเวทนาที่ เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือนหกอย่าง, อุเบกขาเวทนาที่เนื่องด้วยเหย้าเรือนหกอย่าง, และอุเบกขาเวทนาที่เนื่องด้วยการหลีกออกจากเหย้าเรือนหกอย่าง. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาสามสิบหกอย่าง. ภิกษุ ท. ! เวทนา ร้อยแปดอย่าง นั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เวทนาร้อยแปดอย่างนั้น คือ เวทนาสามสิบหก (ดังที่กล่าวแล้วข้างต้น) ส่วนที่เป็นอดีต, เวทนาสามสิบหกส่วนที่เป็นอนาคต, และเวทนาสามสิบหกส่วนที่เป็นปัจจุบัน. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ เรียกว่า เวทนาร้อยแปดอย่าง. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้ ชื่อว่าธรรมปริยาย ซึ่งมีปริยายร้อยแปด แล.
    0 Comments 0 Shares 228 Views 0 Reviews
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ประโยชน์ของการเจริญสมาธิ
    สัทธรรมลำดับที่ : 945
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=945
    ชื่อบทธรรม :- ประโยชน์ของการเจริญสมาธิ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หมวด จ. ว่าด้วย อานิสงส์ ของสัมมาสมาธิ
    --ประโยชน์ของการเจริญสมาธิ

    นัยที่หนึ่ง : เห็นความไม่เที่ยงของอายตนิกธรรม
    --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลายจงเจริญสมาธิเถิด.
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุมีจิตเป็นสมาธิแล้ว (ธรรมลักษณะ) ย่อมปรากฏตามที่เป็นจริง.
    --ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า จะปรากฏตามที่เป็นจริง ?
    +--จักษุ จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้;
    +--รูปทั้งหลาย จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้;
    +--จักขุวิญญาณ จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้;
    +--จักขุสัมผัส จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้;
    +--เวทนา อันเกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัส เป็นปัจจัย
    เป็นสุขก็ดี เป็นทุกข์ก็ดี เป็นอทุกขมสุขก็ดี
    ย่อมปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้.
    -http://etipitaka.com/read/pali/18/181/?keywords=อนิจฺจนฺ+สมาธึ
    (ในกรณีแห่งหมวด
    โสตะ, ฆานะ, ชิวหา, กายะ และ มนะ
    ก็มีข้อความที่ตรัสไว้อย่างเดียวกัน).

    --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลายจงเจริญสมาธิเถิด.
    เมื่อภิกษุมีจิตเป็นสมาธิแล้ว (ธรรมลักษณะ) ย่อมปรากฏตามที่เป็นจริง.-

    #สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/181/249.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/148/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๘๑/๒๔๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/181/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=945
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=945
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81
    ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ประโยชน์ของการเจริญสมาธิ สัทธรรมลำดับที่ : 945 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=945 ชื่อบทธรรม :- ประโยชน์ของการเจริญสมาธิ เนื้อความทั้งหมด :- --หมวด จ. ว่าด้วย อานิสงส์ ของสัมมาสมาธิ --ประโยชน์ของการเจริญสมาธิ นัยที่หนึ่ง : เห็นความไม่เที่ยงของอายตนิกธรรม --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลายจงเจริญสมาธิเถิด. --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุมีจิตเป็นสมาธิแล้ว (ธรรมลักษณะ) ย่อมปรากฏตามที่เป็นจริง. --ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า จะปรากฏตามที่เป็นจริง ? +--จักษุ จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้; +--รูปทั้งหลาย จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้; +--จักขุวิญญาณ จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้; +--จักขุสัมผัส จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้; +--เวทนา อันเกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัส เป็นปัจจัย เป็นสุขก็ดี เป็นทุกข์ก็ดี เป็นอทุกขมสุขก็ดี ย่อมปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้. -http://etipitaka.com/read/pali/18/181/?keywords=อนิจฺจนฺ+สมาธึ (ในกรณีแห่งหมวด โสตะ, ฆานะ, ชิวหา, กายะ และ มนะ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้อย่างเดียวกัน). --ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลายจงเจริญสมาธิเถิด. เมื่อภิกษุมีจิตเป็นสมาธิแล้ว (ธรรมลักษณะ) ย่อมปรากฏตามที่เป็นจริง.- #สัมมาสมาธิ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/181/249. http://etipitaka.com/read/thai/18/148/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๘๑/๒๔๙. http://etipitaka.com/read/pali/18/181/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=945 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81&id=945 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=81 ลำดับสาธยายธรรม : 81 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_81.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หมวด จ. ว่าด้วย อานิสงส์ ของสัมมาสมาธิ
    -หมวด จ. ว่าด้วย อานิสงส์ ของสัมมาสมาธิ ประโยชน์ของการเจริญสมาธิ นัยที่หนึ่ง : เห็นความไม่เที่ยงของอายตนิกธรรม ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลายจงเจริญสมาธิเถิด. ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุมีจิตเป็นสมาธิแล้ว (ธรรมลักษณะ) ย่อมปรากฏตามที่เป็นจริง. ภิกษุ ท. ! อะไรเล่า จะปรากฏตามที่เป็นจริง ? จักษุ จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้; รูปทั้งหลาย จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้; จักขุวิญญาณ จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้; จักขุสัมผัส จะปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้; เวทนา อันเกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัสเป็นปัจจัย เป็นสุขก็ดี เป็นทุกข์ก็ดี เป็นอทุกขมสุขก็ดี ย่อมปรากฏตามที่เป็นจริงว่า เป็น อนิจจัง ดังนี้. (ในกรณีแห่งหมวด โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และ มนะ ก็มีข้อความที่ตรัสไว้อย่างเดียวกัน). ภิกษุ ท. ! เธอทั้งหลายจงเจริญสมาธิเถิด. เมื่อภิกษุมีจิตเป็นสมาธิแล้ว (ธรรมลักษณะ) ย่อมปรากฏตามที่เป็นจริง.
    0 Comments 0 Shares 206 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงศึกษาตามคำของพระอานนท์ว่านิพพาน
    สัทธรรมลำดับที่ : 573
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=573
    ชื่อบทธรรม :- ผู้นิพพาน ตามคำของพระอานนท์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    (นิพพาน และ ปรินิพพาน ตามคำของพระอานนท์
    มีใจความอย่างเดียวกันกับสันทิฏฐิกนิพพานข้างต้น ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น.
    นอกจากนี้ ยังมีการแสดงไว้ ด้วยคำ ว่า
    เขมํอมตํ อภยํ ปสฺสทฺธิ นิโรโธ แทนคำ ว่านิพพานข้างบน.
    *-นวก. อํ. ๒๓/๔๗๕-๔๗๗/๒๕๒,๒๕๓, ๒๕๖,๒๕๘,๒๖๐,๒๖๒,๒๖๔
    http://etipitaka.com/read/pali/23/475/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%92
    ถึง
    http://etipitaka.com/read/pali/23/477/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%94
    ).

    --ผู้มีทิฏฐธรรมนิพพาน ตามคำของพระอานนท์
    --“อาวุโส ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘ทิฏฐธรรมนิพพาน ทิฏฐธรรมนิพพาน’
    ดังนี้.
    -http://etipitaka.com/read/pali/23/475/?keywords=ปรินิพฺพานํ
    --อาวุโส ! ทิฏฐธรรมนิพพานนี้ พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไรหนอแล ?”
    (พระอุทายีถาม พระอานนท์, พระอานนท์เป็นผู้ตอบ).
    --อาวุโส ! ภิกษุในกรณีนี้
    สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึง ปฐมฌาน
    อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่
    --อาวุโส ! ทิฏฐธรรมนิพพาน อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้
    ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าว โดยปริยาย.
    --(ในกรณีแห่ง
    ทุติยฌาน...
    ตติยฌาน...
    จตุตถฌาน...
    อากาสานัญจายตนะ....
    วิญญาณัญจายตนะ...
    อากิญจัญญายตนะ... และ
    เนวสัญญานาสัญญายตนะ
    มีข้อความที่กล่าวไว้โดยทำนองเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่งปฐมฌาน ทุกประการ และในฐานะเป็นทิฏฐธรรมนิพพานโดยปริยาย.
    ส่วนสัญญาเวทยิตนิโรธซึ่งมีการสิ้นอาสวะนั้น กล่าวไว้ในฐานะเป็นทิฏฐธรรมนิพพาน
    โดยนิปปริยาย ด้วยข้อความดังต่อไปนี้ :-)​
    --อาวุโส ! นัยอื่นอีกมีอยู่ : ภิกษุ ก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่,
    อนึ่ง เพราะเห็นด้วยปัญญา อาสวะทั้งหลายของเธอนั้นก็สิ้นไปรอบ,

    --อาวุโส #ทิฏฐธรรมนิพพาน อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล
    เมื่อกล่าว โดยนิปปริยาย.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก. อํ. 23/475/255.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/365/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%95
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก. อํ. ๒๓/๔๗๕/๒๕๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/23/475/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%95
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=573
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=573
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38
    ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาตามคำของพระอานนท์ว่านิพพาน สัทธรรมลำดับที่ : 573 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=573 ชื่อบทธรรม :- ผู้นิพพาน ตามคำของพระอานนท์ เนื้อความทั้งหมด :- (นิพพาน และ ปรินิพพาน ตามคำของพระอานนท์ มีใจความอย่างเดียวกันกับสันทิฏฐิกนิพพานข้างต้น ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น. นอกจากนี้ ยังมีการแสดงไว้ ด้วยคำ ว่า เขมํอมตํ อภยํ ปสฺสทฺธิ นิโรโธ แทนคำ ว่านิพพานข้างบน. *-นวก. อํ. ๒๓/๔๗๕-๔๗๗/๒๕๒,๒๕๓, ๒๕๖,๒๕๘,๒๖๐,๒๖๒,๒๖๔ http://etipitaka.com/read/pali/23/475/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%92 ถึง http://etipitaka.com/read/pali/23/477/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%96%E0%B9%94 ). --ผู้มีทิฏฐธรรมนิพพาน ตามคำของพระอานนท์ --“อาวุโส ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘ทิฏฐธรรมนิพพาน ทิฏฐธรรมนิพพาน’ ดังนี้. -http://etipitaka.com/read/pali/23/475/?keywords=ปรินิพฺพานํ --อาวุโส ! ทิฏฐธรรมนิพพานนี้ พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไรหนอแล ?” (พระอุทายีถาม พระอานนท์, พระอานนท์เป็นผู้ตอบ). --อาวุโส ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่ --อาวุโส ! ทิฏฐธรรมนิพพาน อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าว โดยปริยาย. --(ในกรณีแห่ง ทุติยฌาน... ตติยฌาน... จตุตถฌาน... อากาสานัญจายตนะ.... วิญญาณัญจายตนะ... อากิญจัญญายตนะ... และ เนวสัญญานาสัญญายตนะ มีข้อความที่กล่าวไว้โดยทำนองเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่งปฐมฌาน ทุกประการ และในฐานะเป็นทิฏฐธรรมนิพพานโดยปริยาย. ส่วนสัญญาเวทยิตนิโรธซึ่งมีการสิ้นอาสวะนั้น กล่าวไว้ในฐานะเป็นทิฏฐธรรมนิพพาน โดยนิปปริยาย ด้วยข้อความดังต่อไปนี้ :-)​ --อาวุโส ! นัยอื่นอีกมีอยู่ : ภิกษุ ก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่, อนึ่ง เพราะเห็นด้วยปัญญา อาสวะทั้งหลายของเธอนั้นก็สิ้นไปรอบ, --อาวุโส #ทิฏฐธรรมนิพพาน อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าว โดยนิปปริยาย.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นวก. อํ. 23/475/255. http://etipitaka.com/read/thai/23/365/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%95 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นวก. อํ. ๒๓/๔๗๕/๒๕๕. http://etipitaka.com/read/pali/23/475/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%95 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=573 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38&id=573 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=38 ลำดับสาธยายธรรม : 38​ ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_38.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ผู้นิพพาน ตามคำของพระอานนท์
    -ผู้นิพพาน ตามคำของพระอานนท์ และผู้ปรินิพพาน ตามคำของพระอานนท์ (นิพพาน และ ปรินิพพาน ตามคำของพระอานนท์ มีใจความอย่างเดียวกันกับสันทิฏฐิกนิพพานข้างต้น ผิดกันแต่ชื่อเท่านั้น. นอกจากนี้ ยังมีการแสดงไว้ ด้วยคำ ว่า เขมํอมตํ อภยํ ปสฺสทฺธิ นิโรโธ แทนคำ ว่านิพพานข้างบน. -นวก. อํ. ๒๓/๔๗๕-๔๗๗/๒๕๒,๒๕๓, ๒๕๖,๒๕๘,๒๖๐,๒๖๒,๒๖๔). ผู้มีทิฏฐธรรมนิพพาน ตามคำของพระอานนท์ “อาวุโส ! มีคำกล่าวกันอยู่ว่า ‘ทิฏฐธรรมนิพพาน ทิฏฐธรรมนิพพาน’ ดังนี้. อาวุโส ! ทิฏฐธรรมนิพพานนี้ พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไรหนอแล ?” (พระอุทายีถาม พระอานนท์, พระอานนท์เป็นผู้ตอบ). อาวุโส ! ภิกษุในกรณีนี้ สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรมเข้าถึง ปฐมฌาน อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่ อาวุโส ! ทิฏฐธรรมนิพพาน อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าว โดยปริยาย. (ในกรณีแห่ง ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ และเนวสัญญานาสัญญายตนะ มีข้อความที่กล่าวไว้โดยทำนองเดียวกันกับข้อความในกรณีแห่งปฐมฌาน ทุกประการ และในฐานะเป็นทิฏฐธรรมนิพพานโดยปริยาย. ส่วนสัญญาเวทยิตนิโรธซึ่งมีการสิ้นอาสวะนั้น กล่าวไว้ในฐานะเป็นทิฏฐธรรมนิพพาน โดยนิปปริยาย ด้วยข้อความดังต่อไปนี้ :-) อาวุโส ! นัยอื่นอีกมีอยู่ : ภิกษุ ก้าวล่วงเสียซึ่งเนวสัญญานาสัญญายตนะโดยประการทั้งปวง เข้าถึง สัญญาเวทยิตนิโรธ แล้วแลอยู่, อนึ่ง เพราะเห็นด้วยปัญญา อาสวะทั้งหลายของเธอนั้นก็สิ้นไปรอบ, อาวุโส ทิฏฐธรรมนิพพาน อันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล เมื่อกล่าว โดยนิปปริยาย.
    0 Comments 0 Shares 206 Views 0 Reviews
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าหลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา
    สัทธรรมลำดับที่ : 138
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=138
    ชื่อบทธรรม :- หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา
    --ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า
    “พึงรู้จักเวทนา,
    พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา,
    พึงรู้จักความเป็นต่างกันของเวทนา,
    พึงรู้จักผลของเวทนา,
    ข้อนี้หมายความว่า #ตัณหาเป็นเหตุให้เกิดความหมายหรือค่าของเวทนา.
    ข้อนี้ไม่ขัดกับหลักทั่วไปที่ว่า เวทนาให้เกิดตัณหา แต่ประการใด.
    พึงรู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, และ
    พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา”
    ดังนี้นั้น,
    เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง เวทนาสาม เหล่านี้ ;
    คือสุขเวทนา ทุกขเวทนา และอทุกขมสุขเวทนา.
    --ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ผัสสะ (การประจวบกันแห่งอายตนะภายใน และภายนอก และวิญญาณ) #เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา.
    --ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! สุขเวทนา ที่เจือด้วยอามิส (กามคุณ ๕) ก็มี สุขเวทนา ที่ไม่เจือด้วยอามิส (ไม่มีกามคุณ ๕) ก็มี ;
    ทุกขเวทนา ที่เจือด้วยอามิสก็มี;
    ทุกขเวทนา ที่ไม่เจือด้วยอามิสก็มี ;
    อทุกขมสุขเวทนา ที่เจือด้วยอามิสก็มี อทุกขมสุขเวทนาที่ไม่เจือด้วยอามิสก็มี.
    --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า &​ความเป็นต่างกันของเวทนา.
    --ภิกษุ ท. ! ผลของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อเสวยเวทนาใดอยู่ ยังอัตภาพซึ่งเกิดแต่เวทนานั้น ๆ ให้เกิดขึ้น เป็นฝ่ายบุญก็ตามเป็นฝ่ายมิใช่บุญก็ตาม.
    --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า &​ผลของเวทนา.--
    --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของเวทนา มีได้ &​เพราะความดับไม่เหลือของผัสสะ.
    --ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง #เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา,
    http://etipitaka.com/read/pali/22/461/?keywords=เวทนานิโรธคามินีปฏิปทา
    ได้แก่
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
    การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
    ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.
    ....
    -ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า
    “พึงรู้จักเวทนา,
    พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา,
    พึงรู้จักความเป็นต่างกันของเวทนา,
    พึงรู้จักผลของเวทนา,
    พึงรู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, และ
    พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา”
    http://etipitaka.com/read/pali/22/462/?keywords=เวทนานิโรธคามินีปฏิปทา
    ดังนี้นั้น,
    เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้แล.-

    #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/366/334.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/366/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๐/๓๓๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/460/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม​...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=138
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10&id=138
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10
    ลำดับสาธยายธรรม : 10 ฟังเสียง
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_10.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าหลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา สัทธรรมลำดับที่ : 138 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=138 ชื่อบทธรรม :- หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา เนื้อความทั้งหมด :- --หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา --ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักเวทนา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของเวทนา, พึงรู้จักผลของเวทนา, ข้อนี้หมายความว่า #ตัณหาเป็นเหตุให้เกิดความหมายหรือค่าของเวทนา. ข้อนี้ไม่ขัดกับหลักทั่วไปที่ว่า เวทนาให้เกิดตัณหา แต่ประการใด. พึงรู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, และ พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง เวทนาสาม เหล่านี้ ; คือสุขเวทนา ทุกขเวทนา และอทุกขมสุขเวทนา. --ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ผัสสะ (การประจวบกันแห่งอายตนะภายใน และภายนอก และวิญญาณ) #เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา. --ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! สุขเวทนา ที่เจือด้วยอามิส (กามคุณ ๕) ก็มี สุขเวทนา ที่ไม่เจือด้วยอามิส (ไม่มีกามคุณ ๕) ก็มี ; ทุกขเวทนา ที่เจือด้วยอามิสก็มี; ทุกขเวทนา ที่ไม่เจือด้วยอามิสก็มี ; อทุกขมสุขเวทนา ที่เจือด้วยอามิสก็มี อทุกขมสุขเวทนาที่ไม่เจือด้วยอามิสก็มี. --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า &​ความเป็นต่างกันของเวทนา. --ภิกษุ ท. ! ผลของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! เมื่อเสวยเวทนาใดอยู่ ยังอัตภาพซึ่งเกิดแต่เวทนานั้น ๆ ให้เกิดขึ้น เป็นฝ่ายบุญก็ตามเป็นฝ่ายมิใช่บุญก็ตาม. --ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า &​ผลของเวทนา.-- --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของเวทนา มีได้ &​เพราะความดับไม่เหลือของผัสสะ. --ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง #เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา, http://etipitaka.com/read/pali/22/461/?keywords=เวทนานิโรธคามินีปฏิปทา ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ. .... -ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักเวทนา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของเวทนา, พึงรู้จักผลของเวทนา, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, และ พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา” http://etipitaka.com/read/pali/22/462/?keywords=เวทนานิโรธคามินีปฏิปทา ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้แล.- #ทุกข์ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/366/334. http://etipitaka.com/read/thai/22/366/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๐/๓๓๔. http://etipitaka.com/read/pali/22/460/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม​... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=138 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10&id=138 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=10 ลำดับสาธยายธรรม : 10 ฟังเสียง http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_10.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา
    -หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ เวทนา ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักเวทนา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของเวทนา, พึงรู้จักผลของเวทนา, ๑. ข้อนี้หมายความว่า ตัณหาเป็นเหตุให้เกิดความหมายหรือค่าของเวทนา. ข้อนี้ไม่ขัดกับหลักทั่วไปที่ว่า เวทนาให้เกิดตัณหา แต่ประการใด. พึงรู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง เวทนาสาม เหล่านี้ ; คือสุขเวทนา ทุกขเวทนา และอทุกขมสุขเวทนา. ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ผัสสะ (การประจวบกันแห่งอายตนะภายใน และภายนอก และวิญญาณ) เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา. ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! สุขเวทนา ที่เจือด้วยอามิส (กามคุณ ๕) ก็มี สุขเวทนา ที่ไม่เจือด้วยอามิส (ไม่มีกามคุณ ๕) ก็มี ; ทุกขเวทนา ที่เจือด้วยอามิสก็มี ทุกขเวทนา ที่ไม่เจือด้วยอามิสก็มี ; อทุกขมสุขเวทนา ที่เจือด้วยอามิสก็มี อทุกขมสุขเวทนาที่ไม่เจือด้วยอามิสก็มี. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ความเป็นต่างกันของเวทนา. ภิกษุ ท. ! ผลของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เมื่อเสวยเวทนาใดอยู่ ยังอัตภาพซึ่งเกิดแต่เวทนานั้น ๆ ให้เกิดขึ้น เป็นฝ่ายบุญก็ตามเป็นฝ่ายมิใช่บุญก็ตาม. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ผลของเวทนา. ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของเวทนา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของเวทนา มีได้ เพราะความดับไม่เหลือของผัสสะ. ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ. .... ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักเวทนา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของเวทนา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของเวทนา, พึงรู้จักผลของเวทนา, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้แล.
    0 Comments 0 Shares 261 Views 0 Reviews
  • หลวงพ่อโต วัดบางกระทิง จ.อยุธยา
    หลวงพ่อโต เนื้อดินเผา ( ย้อนยุค ) วัดบางกระทิง จ.อยุธยา // วัดบางกระทิงสร้างไว้ โดยใช้มวรสารแตกหักหลวงพ่อโตมาผสมสร้าง ปลุกเสกพิธีใหญ่ของทางวัด // พระสถาพสวยมาก พระดูง่าย พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >>

    ** พุทธคุณนั้นสูงไปด้วยเมตตา และแคล้วคลาดคงกระพันชาตรี มหาอุด หนังเหนียว เมตตามหานิยมก็เป็นเลิศ >>

    ** สมัยก่อน ผู้ที่มีความสนใจในพระเครื่อง เครื่องราง ส่วนหนึ่งต้องยอมรับว่า จะมีผู้ที่เป็นนักเลงรุ่นเก๋า ที่ให้ความเคารพศรัทธาในวัตถุมงคล ซึ่งเรียกกันแบบคุ้นปากว่า สายบู๊ เพราะจะใช้วัตถุมงคลเพื่อความหนังเหนียว คงกระพัน หนึ่งในพระเครื่องที่นักเลงโบราณให้ความนิยมนั่นก็คือ "พระหลวงพ่อโต" กรุวัดบางกระทิง วัดนี้เป็นวัดโบราณตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี สร้างในปลายรัชสมัยแผ่นดินสมเด็จ พระนารายณ์มหาราช >>

    ** พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ

    ช่องทางติดต่อ
    LINE 0881915131
    โทรศัพท์ 0881915131
    หลวงพ่อโต วัดบางกระทิง จ.อยุธยา หลวงพ่อโต เนื้อดินเผา ( ย้อนยุค ) วัดบางกระทิง จ.อยุธยา // วัดบางกระทิงสร้างไว้ โดยใช้มวรสารแตกหักหลวงพ่อโตมาผสมสร้าง ปลุกเสกพิธีใหญ่ของทางวัด // พระสถาพสวยมาก พระดูง่าย พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ //#รับประกันพระแท้ตลอดชีพครับ >> ** พุทธคุณนั้นสูงไปด้วยเมตตา และแคล้วคลาดคงกระพันชาตรี มหาอุด หนังเหนียว เมตตามหานิยมก็เป็นเลิศ >> ** สมัยก่อน ผู้ที่มีความสนใจในพระเครื่อง เครื่องราง ส่วนหนึ่งต้องยอมรับว่า จะมีผู้ที่เป็นนักเลงรุ่นเก๋า ที่ให้ความเคารพศรัทธาในวัตถุมงคล ซึ่งเรียกกันแบบคุ้นปากว่า สายบู๊ เพราะจะใช้วัตถุมงคลเพื่อความหนังเหนียว คงกระพัน หนึ่งในพระเครื่องที่นักเลงโบราณให้ความนิยมนั่นก็คือ "พระหลวงพ่อโต" กรุวัดบางกระทิง วัดนี้เป็นวัดโบราณตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี สร้างในปลายรัชสมัยแผ่นดินสมเด็จ พระนารายณ์มหาราช >> ** พระสถาพสวยมาก พระสถาพสมบูรณ์ หายากก พระไม่ถูกใช้ครับ ช่องทางติดต่อ LINE 0881915131 โทรศัพท์ 0881915131
    0 Comments 0 Shares 219 Views 0 Reviews
More Results