• สหรัฐฯ กำลังใช้ไต้หวันยั่วยุวิกฤตร้ายแรงในเอเชีย จากความเห็นที่เผยแพร่ต่อสาธารณะของ อันเดร รูเดนโก รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศของรัสเซีย ความเคลื่อนไหวซึ่งเป็นการเน้นย้ำจุดยืนของมอสโก เกี่ยวกับการสนับสนุนท่าทีของจีนในประเด็นไต้หวัน
    .
    "เราเห็นว่า วอชิงตัน กำลังละเมิดหลักการจีนเดียวที่พวกเขารับรอง ด้วยการยกระดับการติดต่อทั้งทางทหารและการเมืองกับไทเป ภายใต้สโลแกนธำรงไว้ซึ่งสถานภาพปัจจุบัน และเพิ่มการจัดหาอาวุธ" รูเดนโก กล่าวกับสื่อมวลชนแห่งรัฐ "เป้าหมายในการเข้าแทรกแซงของสหรัฐฯ ในกิจการต่างๆ ของภูมิภาค คือยั่วยุจีน และก่อวิกฤตหนึ่งในเอเชีย เพื่อให้เข้ากับผลประโยชน์ของตนเอง"
    .
    รายงานข่าวไม่ได้ระบุอย่างเจาะจงเกี่ยวกับลักษณะติดต่อทั้งการทหารและการเมือง ตามที่ รูเดนโก กล่าวอ้าง
    .
    จีน มอง ไต้หวัน ซึ่งปกครองตนเองตามระบอบประชาธิปไตย เป็นส่วนหนึ่งของดินแดน คำกล่าวอ้างที่รัฐบาลไต้หวันปฏิเสธ ในขณะที่สหรัฐฯ เป็นผู้สนับสนุนในระดับนานาชาติและเป็นผู้จัดหาอาวุธรายสำคัญที่สุดของไทเป แม้ไม่ได้ให้การรับรองทางการทูตอย่างเป็นทางการก็ตาม
    .
    กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ ยังไม่ออกมาตอบโต้ในเรื่องนี้ เนื่องจากสำนักข่าวรอยเตอร์ติดต่อสอบถามขอความเห็นเกี่ยวกับคำพูดของ รูเดนโก นอกเวลาทำงาน
    .
    ในเดือนกันยายน ประธานาธิบดีโจ ไบเดน อนุมัติความช่วยเหลือทางทหารแก่ไต้หวัน มูลค่า 567 ล้านดอลลาร์สหรัฐ กระตุ้นให้ทาง รัสเซีย ออกมาตอบโต้ด้วยการบอกว่าพวกเขาจะยืนหยัดอยู่เคียงข้างจีน ในประเด็นเอเชีย ในนั้นรวมถึงวิพากษ์วิจารณ์อเมริกากำลังขับเคลื่อนขยายอิทธิพลในภูมิภาคแห่งนี้ และจงใจพยายามโหมกระพือไฟแห่งความตึงเครียดแถวไต้หวัน
    .
    จีนและรัสเซีย ประกาศความเป็นหุ้นส่วน "ไร้ขีดจำกัด" ในเดือนกุมภาพันธ์ 2022 ครั้งที่ประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน เดินทางเยือนกรุงปักกิ่ง ไม่นานก่อนเปิดฉากรุกรานยูเครนเต็มรูปแบบ ก่อสงครามภาคพื้นครั้งนองเลือดที่สุดในยุโรป นับตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2
    .
    ในเดือนพฤษภาคมปีนี้ ปูติน และประธานาธิบดีสี จิ้นผิง ของจีน ประกาศเกี่ยวกับ "ยุคสมัยใหม่" แห่งความเป็นพันธมิตร ระหว่าง 2 ชาติมหาอำนาจที่เป็นคู่ปรับกับสหรัฐฯ
    .
    ทั้งนี้ ในวันอาทิตย์( 24 พ.ย.) เช่นกัน สำนักข่าวเกียวโดนิวส์ของญี่ปุ่น ระบุว่าญี่ปุ่นและสหรัฐฯ เล็งเป้าหมายรวบรวมแผนการทางทหารร่วมกัน สำหรับรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉินเกี่ยวกับไต้หวัน ในนั้นรวมถึงการประจำการขีปนาวุธ
    .
    เกียวโดนิวส์รายงานว่า ภายใต้แผนที่คาดหมายว่าจะเกิดขึ้นในเดือนหน้า สหรัฐฯ จะส่งหน่วยขีปนาวุธเข้าประจำการบนหมู่เกาะนันเซ ทางตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัดคาโงชิมาและจังหวัดโอคินาวะของญี่ปุ่น และในฟิลิปปินส์ อ้างอิงแหล่งข่าวทั้งในสหรัฐฯ และญี่ปุ่น
    .
    สำนักข่าวเกียวโดนิวส์รายงานว่ากองทหารชายฝั่งนาวิกโยธินสหรัฐฯ ซึ่งมีระบบขีปนาวุธ HIMARS และอาวุธอื่นๆ จะถูกส่งเข้าประจำการบนเกาะนันเซ ขณะที่หน่วยทหารสหรัฐฯ ที่มีความเชี่ยวชาญด้านอวกาศ ไซเบอร์สเปซและคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จะถูกส่งเข้าประจำการในฟิลิปปินส์
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000113054
    ..............
    Sondhi X
    สหรัฐฯ กำลังใช้ไต้หวันยั่วยุวิกฤตร้ายแรงในเอเชีย จากความเห็นที่เผยแพร่ต่อสาธารณะของ อันเดร รูเดนโก รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศของรัสเซีย ความเคลื่อนไหวซึ่งเป็นการเน้นย้ำจุดยืนของมอสโก เกี่ยวกับการสนับสนุนท่าทีของจีนในประเด็นไต้หวัน . "เราเห็นว่า วอชิงตัน กำลังละเมิดหลักการจีนเดียวที่พวกเขารับรอง ด้วยการยกระดับการติดต่อทั้งทางทหารและการเมืองกับไทเป ภายใต้สโลแกนธำรงไว้ซึ่งสถานภาพปัจจุบัน และเพิ่มการจัดหาอาวุธ" รูเดนโก กล่าวกับสื่อมวลชนแห่งรัฐ "เป้าหมายในการเข้าแทรกแซงของสหรัฐฯ ในกิจการต่างๆ ของภูมิภาค คือยั่วยุจีน และก่อวิกฤตหนึ่งในเอเชีย เพื่อให้เข้ากับผลประโยชน์ของตนเอง" . รายงานข่าวไม่ได้ระบุอย่างเจาะจงเกี่ยวกับลักษณะติดต่อทั้งการทหารและการเมือง ตามที่ รูเดนโก กล่าวอ้าง . จีน มอง ไต้หวัน ซึ่งปกครองตนเองตามระบอบประชาธิปไตย เป็นส่วนหนึ่งของดินแดน คำกล่าวอ้างที่รัฐบาลไต้หวันปฏิเสธ ในขณะที่สหรัฐฯ เป็นผู้สนับสนุนในระดับนานาชาติและเป็นผู้จัดหาอาวุธรายสำคัญที่สุดของไทเป แม้ไม่ได้ให้การรับรองทางการทูตอย่างเป็นทางการก็ตาม . กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ ยังไม่ออกมาตอบโต้ในเรื่องนี้ เนื่องจากสำนักข่าวรอยเตอร์ติดต่อสอบถามขอความเห็นเกี่ยวกับคำพูดของ รูเดนโก นอกเวลาทำงาน . ในเดือนกันยายน ประธานาธิบดีโจ ไบเดน อนุมัติความช่วยเหลือทางทหารแก่ไต้หวัน มูลค่า 567 ล้านดอลลาร์สหรัฐ กระตุ้นให้ทาง รัสเซีย ออกมาตอบโต้ด้วยการบอกว่าพวกเขาจะยืนหยัดอยู่เคียงข้างจีน ในประเด็นเอเชีย ในนั้นรวมถึงวิพากษ์วิจารณ์อเมริกากำลังขับเคลื่อนขยายอิทธิพลในภูมิภาคแห่งนี้ และจงใจพยายามโหมกระพือไฟแห่งความตึงเครียดแถวไต้หวัน . จีนและรัสเซีย ประกาศความเป็นหุ้นส่วน "ไร้ขีดจำกัด" ในเดือนกุมภาพันธ์ 2022 ครั้งที่ประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน เดินทางเยือนกรุงปักกิ่ง ไม่นานก่อนเปิดฉากรุกรานยูเครนเต็มรูปแบบ ก่อสงครามภาคพื้นครั้งนองเลือดที่สุดในยุโรป นับตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 . ในเดือนพฤษภาคมปีนี้ ปูติน และประธานาธิบดีสี จิ้นผิง ของจีน ประกาศเกี่ยวกับ "ยุคสมัยใหม่" แห่งความเป็นพันธมิตร ระหว่าง 2 ชาติมหาอำนาจที่เป็นคู่ปรับกับสหรัฐฯ . ทั้งนี้ ในวันอาทิตย์( 24 พ.ย.) เช่นกัน สำนักข่าวเกียวโดนิวส์ของญี่ปุ่น ระบุว่าญี่ปุ่นและสหรัฐฯ เล็งเป้าหมายรวบรวมแผนการทางทหารร่วมกัน สำหรับรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉินเกี่ยวกับไต้หวัน ในนั้นรวมถึงการประจำการขีปนาวุธ . เกียวโดนิวส์รายงานว่า ภายใต้แผนที่คาดหมายว่าจะเกิดขึ้นในเดือนหน้า สหรัฐฯ จะส่งหน่วยขีปนาวุธเข้าประจำการบนหมู่เกาะนันเซ ทางตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัดคาโงชิมาและจังหวัดโอคินาวะของญี่ปุ่น และในฟิลิปปินส์ อ้างอิงแหล่งข่าวทั้งในสหรัฐฯ และญี่ปุ่น . สำนักข่าวเกียวโดนิวส์รายงานว่ากองทหารชายฝั่งนาวิกโยธินสหรัฐฯ ซึ่งมีระบบขีปนาวุธ HIMARS และอาวุธอื่นๆ จะถูกส่งเข้าประจำการบนเกาะนันเซ ขณะที่หน่วยทหารสหรัฐฯ ที่มีความเชี่ยวชาญด้านอวกาศ ไซเบอร์สเปซและคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จะถูกส่งเข้าประจำการในฟิลิปปินส์ . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000113054 .............. Sondhi X
    Like
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 581 มุมมอง 0 รีวิว
  • ด่วน!
    ศาลอาญาระหว่างประเทศ (International Criminal Court) ออกหมายจับ เนทันยาฮูและโยอัฟ กัลลันต์ แล้วในข้อหาอาชญากรรมต่อมนุษยชาติและอาชญากรรมสงครามที่ก่อขึ้นตั้งแต่วันที่ 8 ตุลาคม 2023 เป็นต้นไป จนถึงวันที่ 20 พฤษภาคม 2024 ซึ่งเป็นวันที่อัยการยื่นคำร้องขอหมายจับ

    ก่อนหน้านี้ อิสราเอลโต้แย้งว่าพื้นที่ดังกล่าวไม่อยู่ในอำนาจเขตศาล แต่หลังจาก ICC พิจารณาแล้ว และมีคำตัดสินออกมาว่าเขตอำนาจศาลในสถานการณ์ดังกล่าวนั้น ขยายไปถึงกาซาและเวสต์แบงก์ รวมถึงเยรูซาเล็มตะวันออก จนนำไปสู่การออกหมายจับในครั้งนี้

    นอกจากนี้ หมายจับถูกจัดให้อยู่ในประเภท "ความลับ" เพื่อปกป้องพยานและปกป้องการดำเนินการสอบสวนอีกด้วย
    ด่วน! ศาลอาญาระหว่างประเทศ (International Criminal Court) ออกหมายจับ เนทันยาฮูและโยอัฟ กัลลันต์ แล้วในข้อหาอาชญากรรมต่อมนุษยชาติและอาชญากรรมสงครามที่ก่อขึ้นตั้งแต่วันที่ 8 ตุลาคม 2023 เป็นต้นไป จนถึงวันที่ 20 พฤษภาคม 2024 ซึ่งเป็นวันที่อัยการยื่นคำร้องขอหมายจับ ก่อนหน้านี้ อิสราเอลโต้แย้งว่าพื้นที่ดังกล่าวไม่อยู่ในอำนาจเขตศาล แต่หลังจาก ICC พิจารณาแล้ว และมีคำตัดสินออกมาว่าเขตอำนาจศาลในสถานการณ์ดังกล่าวนั้น ขยายไปถึงกาซาและเวสต์แบงก์ รวมถึงเยรูซาเล็มตะวันออก จนนำไปสู่การออกหมายจับในครั้งนี้ นอกจากนี้ หมายจับถูกจัดให้อยู่ในประเภท "ความลับ" เพื่อปกป้องพยานและปกป้องการดำเนินการสอบสวนอีกด้วย
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 189 มุมมอง 0 รีวิว
  • ศาลอาญาระหว่างประเทศ (ไอซีซี) และ คาริม ข่าน หัวหน้าอัยการของศาลแห่งนี้ ควรถูกสหรัฐฯคว่ำบาตร หากว่ายังคงเดินหาทางจับกุมพวกผู้นำอิสราเอล จากเสียงขู่ของ จอห์น ธูน ว่าที่ผู้นำเสียงข้างมากในวุฒิสภาอเมริกา เมื่อช่วงต้นสัปดาห์
    .
    ข่าน แถลงเมื่อเดือนพฤษภาคม ว่าเขากำลังหาทางเดินหน้าดำเนินคดีกับ เบนจามิน เนทันยาฮู นายกรัฐมตรีอิสราเอล และ โยอาฟ กัลแลนท์ รัฐมนตรีกลาโหม ณ ขณะนั้น เช่นเดียวกับพวกผู้นำฮามาส 3 คน โทษฐานก่ออาชญากรรมกับมนุษยชาติในกาซา
    .
    "ถ้าไอซีซีและอัยการของศาลแห่งนี้ ไม่กลับลำการกระทำที่น่าโมโหและไม่ชอบด้วยกฎหมายของพวกเขา ในการหาทางออกหมายจับพวกเจ้าหน้าที่อิสราเอล วุฒิสภาควรเดินหน้าออกกฎหมายคว่ำบาตรในทันที ในขณะที่สภาผู้แทนราษฏร ได้ดำเนินการไปแล้ว บนพื้นฐานความร่วมมือของทั้ง 2 พรรค" ธูนกล่าวในช่วงเย็นวันจันทร์(18พ.ย.)
    .
    "ถ้า ชัค ชูเมอร์ ผู้นำเสียงข้างมากไม่ลงมือ วุฒิสภาที่รีพับลิกันครองเสียงข้างมาก จะยืนหยัดเคียงข้างอิสราเอล พันธมิตรสำคัญของเรา และจะทำให้เรื่องนี้ และกฎหมายสนับสนุนอื่นๆ มีความสำคัญลำดับต้นๆในสภาคองเกรสชุดใหม่" เขากล่าว
    .
    ธูน สมาชิกรีพับลิกันจากเซาท์ ดาโคตา ได้รับเลือกเป็นการภายในให้เป็นผู้นำเสียงข้างมากในวุฒิสภาเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว แม้มีเสียงวิพากษ์วิจารณ์จากเหล่าพันธมิตรของว่าที่ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ว่าเขามีความใกล้ชิดกับสถาบันดั้งเดิมมากเกินไป
    .
    ชูเมอร์ สมาชิกเดโมแครตจากนิวยอร์ก ปัจจุบันดำรงตำแหน่งประธานวุฒิสภา ที่พรรคของเขาครองเสียงข้างมากอย่างฉิวเฉียด อย่างไรก็ตามสภาแห่งนี้เตรียมตกไปอยู่ภายใต้การนำของรีพับลิกัน ครั้งที่บรรดาวุฒิสมาชิกที่ได้รับเลือกตั้งหนล่าสุด เข้ารับตำแหน่งในเดือนมกราคม
    .
    ที่ผ่านมา สภาผู้แทนราษฏรสหรัฐฯที่นำโดยรีพับลิกัน ผ่านร่างกฎหมายฉบับหนึ่ง ที่จะยกเลิกวีซ่าและกำหนดข้อจำกัดทางการเงินกับบรรดาเจ้าหน้าที่ไอซีซีรายใดก็ตามที่ดำเนินคดีกับเหล่าพันธมิตรของสหรัฐฯ ร่างกฎหมายฉบับนี้ผ่านความเห็นชอบด้วยคะแนน 247 ต่อ 155 เสียง โดยมีสมาชิกเดโมแครต 42 ราย ข้ามฟากยกมือเห็นชอบ อย่างไรก็ตามประธานาธิบดีโจ ไบเดน บอกว่าเขาคัดค้านอย่างหนักแน่นต่อร่างกฎหมายนี้
    .
    อ้างอิงกฎหมายฉบับหนึ่งซึ่งมีผลบังคับใช้ในปี 2022 ประธานาธิบดีสหรัฐฯมีอำนาจในการใช้ "ทุกวิถีทางที่จำเป็นและเหมาะสม ในการปลดปล่อยบุคคลกรสหรัฐฯหรือพันธมิตรรายใดก็ตาม ที่ถูกควบคุมหรือกังขัง ภายในนามหรือตามคำร้องขอของไอซซี" กฎหมายฉบับนี้มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า "The Hague Invasion Act"
    .
    ปัจจุบันศาลอาญาระหว่างประเทศยังไม่ดำเนินการตามคำร้องขอของอัยการข่าน ในการออกหมายจับเนทันยาฮูและกัลแลนท์ และนับตั้งแต่นั้น อิสราเอล ได้สังหารพวกผู้นำฮามาสทั้ง 3 คนเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ในขณะที่ กัลแลนท์ ถูก เนทันยาฮู ตะเพิดพ้นเก้าอี้รัฐมนตรีกลาโหมเมื่อเดือนก่อน
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000111856
    ..............
    Sondhi X
    ศาลอาญาระหว่างประเทศ (ไอซีซี) และ คาริม ข่าน หัวหน้าอัยการของศาลแห่งนี้ ควรถูกสหรัฐฯคว่ำบาตร หากว่ายังคงเดินหาทางจับกุมพวกผู้นำอิสราเอล จากเสียงขู่ของ จอห์น ธูน ว่าที่ผู้นำเสียงข้างมากในวุฒิสภาอเมริกา เมื่อช่วงต้นสัปดาห์ . ข่าน แถลงเมื่อเดือนพฤษภาคม ว่าเขากำลังหาทางเดินหน้าดำเนินคดีกับ เบนจามิน เนทันยาฮู นายกรัฐมตรีอิสราเอล และ โยอาฟ กัลแลนท์ รัฐมนตรีกลาโหม ณ ขณะนั้น เช่นเดียวกับพวกผู้นำฮามาส 3 คน โทษฐานก่ออาชญากรรมกับมนุษยชาติในกาซา . "ถ้าไอซีซีและอัยการของศาลแห่งนี้ ไม่กลับลำการกระทำที่น่าโมโหและไม่ชอบด้วยกฎหมายของพวกเขา ในการหาทางออกหมายจับพวกเจ้าหน้าที่อิสราเอล วุฒิสภาควรเดินหน้าออกกฎหมายคว่ำบาตรในทันที ในขณะที่สภาผู้แทนราษฏร ได้ดำเนินการไปแล้ว บนพื้นฐานความร่วมมือของทั้ง 2 พรรค" ธูนกล่าวในช่วงเย็นวันจันทร์(18พ.ย.) . "ถ้า ชัค ชูเมอร์ ผู้นำเสียงข้างมากไม่ลงมือ วุฒิสภาที่รีพับลิกันครองเสียงข้างมาก จะยืนหยัดเคียงข้างอิสราเอล พันธมิตรสำคัญของเรา และจะทำให้เรื่องนี้ และกฎหมายสนับสนุนอื่นๆ มีความสำคัญลำดับต้นๆในสภาคองเกรสชุดใหม่" เขากล่าว . ธูน สมาชิกรีพับลิกันจากเซาท์ ดาโคตา ได้รับเลือกเป็นการภายในให้เป็นผู้นำเสียงข้างมากในวุฒิสภาเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว แม้มีเสียงวิพากษ์วิจารณ์จากเหล่าพันธมิตรของว่าที่ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ว่าเขามีความใกล้ชิดกับสถาบันดั้งเดิมมากเกินไป . ชูเมอร์ สมาชิกเดโมแครตจากนิวยอร์ก ปัจจุบันดำรงตำแหน่งประธานวุฒิสภา ที่พรรคของเขาครองเสียงข้างมากอย่างฉิวเฉียด อย่างไรก็ตามสภาแห่งนี้เตรียมตกไปอยู่ภายใต้การนำของรีพับลิกัน ครั้งที่บรรดาวุฒิสมาชิกที่ได้รับเลือกตั้งหนล่าสุด เข้ารับตำแหน่งในเดือนมกราคม . ที่ผ่านมา สภาผู้แทนราษฏรสหรัฐฯที่นำโดยรีพับลิกัน ผ่านร่างกฎหมายฉบับหนึ่ง ที่จะยกเลิกวีซ่าและกำหนดข้อจำกัดทางการเงินกับบรรดาเจ้าหน้าที่ไอซีซีรายใดก็ตามที่ดำเนินคดีกับเหล่าพันธมิตรของสหรัฐฯ ร่างกฎหมายฉบับนี้ผ่านความเห็นชอบด้วยคะแนน 247 ต่อ 155 เสียง โดยมีสมาชิกเดโมแครต 42 ราย ข้ามฟากยกมือเห็นชอบ อย่างไรก็ตามประธานาธิบดีโจ ไบเดน บอกว่าเขาคัดค้านอย่างหนักแน่นต่อร่างกฎหมายนี้ . อ้างอิงกฎหมายฉบับหนึ่งซึ่งมีผลบังคับใช้ในปี 2022 ประธานาธิบดีสหรัฐฯมีอำนาจในการใช้ "ทุกวิถีทางที่จำเป็นและเหมาะสม ในการปลดปล่อยบุคคลกรสหรัฐฯหรือพันธมิตรรายใดก็ตาม ที่ถูกควบคุมหรือกังขัง ภายในนามหรือตามคำร้องขอของไอซซี" กฎหมายฉบับนี้มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า "The Hague Invasion Act" . ปัจจุบันศาลอาญาระหว่างประเทศยังไม่ดำเนินการตามคำร้องขอของอัยการข่าน ในการออกหมายจับเนทันยาฮูและกัลแลนท์ และนับตั้งแต่นั้น อิสราเอล ได้สังหารพวกผู้นำฮามาสทั้ง 3 คนเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ในขณะที่ กัลแลนท์ ถูก เนทันยาฮู ตะเพิดพ้นเก้าอี้รัฐมนตรีกลาโหมเมื่อเดือนก่อน . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000111856 .............. Sondhi X
    Like
    Haha
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1046 มุมมอง 0 รีวิว
  • ยูเครนมีขีปนาวุธ ATACMS เหลืออยู่เท่าไหร่ หลังจากใช้ไปแล้ว 6 ลูกเมื่อวานนี้

    เคียฟและวอชิงตันไม่เคยยืนยันจำนวนขีปนาวุธ ATACMS อย่างเป็นทางการ มีการส่งมอบที่ทราบเพียง 2 ครั้งเท่านั้น ครั้งหนึ่งในช่วงปลายปี 2023 แต่เป็นรุ่นเก่าระยะสูงสุดเพียง 160 กม. หรือ 100 ไมล์ และอีกครั้งซึ่งส่งมอบอย่างลับๆในเดือนมีนาคมปี 2024 นี้(แต่ข่าวเพิ่งมาเปิดเผยทีหลัง) ซึ่งเป็นรุ่นใหม่กว่ามีพิสัยสูงสุด 300 กม. หรือ 190 ไมล์ นอกจากนี้ ยังไม่มีความชัดเจนว่ายูเครนได้ใช้ไปแล้วกี่ครั้ง

    ตามข้อมูลอย่างไม่เป็นทางการ ขณะนี้ยูเครนเหลือขีปนาวุธ ATACMS ไม่เกิน 50 ลูกเท่านั้น และไม่ยืนยันว่าที่เหลืออยู่เป็นรุ่นเก่าหรือรุ่นใหม่!!

    - ยูเครนได้รับขีปนาวุธ ATACMS เท่าไหร่:
    ตามรายงานของสื่อ แพ็คเกจความช่วยเหลือช่วงต้นปีของสหรัฐ คือช่วงเดือนกุมภาพันธ์ มูลค่า 300 ล้านดอลลาร์ เมื่อพิจารณาราคาของขีปนาวุธ ATACMS จะอยู่ที่ 1 ล้านดอลลาร์ต่อหนึ่งลูก อ้างอิงตามสัญญาที่ทำขึ้นระหว่างสหรัฐอเมริกากับ Lockheed Martin จึงมีการคาดเดาว่ายูเครนได้รับขีปนาวุธ ATACMS รุ่นใหม่เพียง 2-3 โหล( 24-36 ลูก)

    เนื่องจากความช่วยเหลือในครั้งนั้น ยังมีอย่างอื่นซึ่งประกอบไปด้วยขีปนาวุธต่อต้านอากาศยาน Stinger จรวดสำหรับ HIMARS ตลอดจนกระสุนปืนใหญ่ขนาด 155 มม. และ 105 มม. และรายงานยังระบุว่ารวมถึงระบบต่อต้านรถถัง 84 ระบบ อาวุธขนาดเล็ก และชิ้นส่วนอะไหล่สำหรับอุปกรณ์และอุปกรณ์เสริมอื่นๆ

    - ยูเครนใช้ขีปนาวุธ ATACMS ไปแล้วกี่ลูก:
    หลังจากได้รับ ATACMS รุ่นระยะ 300 กม. ในเดือนมีนาคม 2024 นี่เป็นบันทึกที่ "ยังไม่ได้รับการยืนยัน" อย่างเป็นทางการเกี่ยวกับการโจมตีที่เก็บรวบรวมไว้

    ➡️เดือนเมษายน มีการอ้างว่าใช้ขีปนาวุธ ATACMS โจมตีในไครเมีย
    ➡️เดือนพฤษภาคม มีการอ้างว่าใช้ขีปนาวุธ ATACMS โจมตีฐานทัพอากาศเบลเบกในไครเมีย
    ➡️ช่วงปลายเดือนพฤษภาคม มีการอ้างว่าใช้ขีปนาวุธ ATACMS โจมตีใกล้กับเมืองลูฮันสค์
    ➡️ช่วงปลายเดือนมิถุนายน มีการอ้างว่าใช้ขีปนาวุธ ATACMS เพื่อโจมตีระบบต่อต้านขีปนาวุธ S-500 ของรัสเซีย
    ➡️เดือนกรกฎาคม มีการอ้างว่าใช้ขีปนาวุธ ATACMS โจมตีฐานทัพอากาศ Saki ในไครเมีย
    ➡️อีกครั้งในเดือนกรกฎาคม มีการอ้างว่าใช้ขีปนาวุธ ATACMS สี่ลูก โจมตีระบบต่อต้านขีปนาวุธ S-300 ใกล้กับเมือง Mariupol
    ➡️ในช่วงต้นเดือนตุลาคม มีการอ้างว่าใช้ขีปนาวุธ ATACMS โจมตีสถานีเรดาร์ "Nebo-M" ของรัสเซีย
    ➡️ขอเน้นย้ำว่า การใช้ขีปนาวุธ ATACMS ในการโจมตีบางกรณียังไม่ได้รับการยืนยัน และบางกรณีอาจเป็นรุ่นเก่าที่จัดหาในปี 2023 นอกจากนี้ ยูเครนยังมีแนวโน้มที่จะยิง ATACMS ในระยะที่เป้าหมายห่างไปเพียง 20 กิโลเมตร (12 ไมล์) จากแนวหน้าเพื่อให้ปลอดภัยจากการโจมตีของรัสเซียด้วย
    ➡️จนถึงปัจจุบัน การโจมตีครั้งเดียวที่ทราบโดยใช้ ATACMS ที่มีพิสัยไกลกว่าคือการโจมตีเมื่อวันที่ 17 เมษายนที่สนามบิน Dzhankoi ในไครเมีย แม้ว่าในทางเทคนิคแล้วอยู่ในระยะการโจมตีของ ATACMS รุ่นเก่า แต่หากต้องการหวังผลอย่างมีประสิทธิภาพ อาจต้องใช้รุ่นใหม่ที่มีพิสัยไกลกว่า
    ยูเครนมีขีปนาวุธ ATACMS เหลืออยู่เท่าไหร่ หลังจากใช้ไปแล้ว 6 ลูกเมื่อวานนี้ เคียฟและวอชิงตันไม่เคยยืนยันจำนวนขีปนาวุธ ATACMS อย่างเป็นทางการ มีการส่งมอบที่ทราบเพียง 2 ครั้งเท่านั้น ครั้งหนึ่งในช่วงปลายปี 2023 แต่เป็นรุ่นเก่าระยะสูงสุดเพียง 160 กม. หรือ 100 ไมล์ และอีกครั้งซึ่งส่งมอบอย่างลับๆในเดือนมีนาคมปี 2024 นี้(แต่ข่าวเพิ่งมาเปิดเผยทีหลัง) ซึ่งเป็นรุ่นใหม่กว่ามีพิสัยสูงสุด 300 กม. หรือ 190 ไมล์ นอกจากนี้ ยังไม่มีความชัดเจนว่ายูเครนได้ใช้ไปแล้วกี่ครั้ง ตามข้อมูลอย่างไม่เป็นทางการ ขณะนี้ยูเครนเหลือขีปนาวุธ ATACMS ไม่เกิน 50 ลูกเท่านั้น และไม่ยืนยันว่าที่เหลืออยู่เป็นรุ่นเก่าหรือรุ่นใหม่!! - ยูเครนได้รับขีปนาวุธ ATACMS เท่าไหร่: ตามรายงานของสื่อ แพ็คเกจความช่วยเหลือช่วงต้นปีของสหรัฐ คือช่วงเดือนกุมภาพันธ์ มูลค่า 300 ล้านดอลลาร์ เมื่อพิจารณาราคาของขีปนาวุธ ATACMS จะอยู่ที่ 1 ล้านดอลลาร์ต่อหนึ่งลูก อ้างอิงตามสัญญาที่ทำขึ้นระหว่างสหรัฐอเมริกากับ Lockheed Martin จึงมีการคาดเดาว่ายูเครนได้รับขีปนาวุธ ATACMS รุ่นใหม่เพียง 2-3 โหล( 24-36 ลูก) เนื่องจากความช่วยเหลือในครั้งนั้น ยังมีอย่างอื่นซึ่งประกอบไปด้วยขีปนาวุธต่อต้านอากาศยาน Stinger จรวดสำหรับ HIMARS ตลอดจนกระสุนปืนใหญ่ขนาด 155 มม. และ 105 มม. และรายงานยังระบุว่ารวมถึงระบบต่อต้านรถถัง 84 ระบบ อาวุธขนาดเล็ก และชิ้นส่วนอะไหล่สำหรับอุปกรณ์และอุปกรณ์เสริมอื่นๆ - ยูเครนใช้ขีปนาวุธ ATACMS ไปแล้วกี่ลูก: หลังจากได้รับ ATACMS รุ่นระยะ 300 กม. ในเดือนมีนาคม 2024 นี่เป็นบันทึกที่ "ยังไม่ได้รับการยืนยัน" อย่างเป็นทางการเกี่ยวกับการโจมตีที่เก็บรวบรวมไว้ ➡️เดือนเมษายน มีการอ้างว่าใช้ขีปนาวุธ ATACMS โจมตีในไครเมีย ➡️เดือนพฤษภาคม มีการอ้างว่าใช้ขีปนาวุธ ATACMS โจมตีฐานทัพอากาศเบลเบกในไครเมีย ➡️ช่วงปลายเดือนพฤษภาคม มีการอ้างว่าใช้ขีปนาวุธ ATACMS โจมตีใกล้กับเมืองลูฮันสค์ ➡️ช่วงปลายเดือนมิถุนายน มีการอ้างว่าใช้ขีปนาวุธ ATACMS เพื่อโจมตีระบบต่อต้านขีปนาวุธ S-500 ของรัสเซีย ➡️เดือนกรกฎาคม มีการอ้างว่าใช้ขีปนาวุธ ATACMS โจมตีฐานทัพอากาศ Saki ในไครเมีย ➡️อีกครั้งในเดือนกรกฎาคม มีการอ้างว่าใช้ขีปนาวุธ ATACMS สี่ลูก โจมตีระบบต่อต้านขีปนาวุธ S-300 ใกล้กับเมือง Mariupol ➡️ในช่วงต้นเดือนตุลาคม มีการอ้างว่าใช้ขีปนาวุธ ATACMS โจมตีสถานีเรดาร์ "Nebo-M" ของรัสเซีย ➡️ขอเน้นย้ำว่า การใช้ขีปนาวุธ ATACMS ในการโจมตีบางกรณียังไม่ได้รับการยืนยัน และบางกรณีอาจเป็นรุ่นเก่าที่จัดหาในปี 2023 นอกจากนี้ ยูเครนยังมีแนวโน้มที่จะยิง ATACMS ในระยะที่เป้าหมายห่างไปเพียง 20 กิโลเมตร (12 ไมล์) จากแนวหน้าเพื่อให้ปลอดภัยจากการโจมตีของรัสเซียด้วย ➡️จนถึงปัจจุบัน การโจมตีครั้งเดียวที่ทราบโดยใช้ ATACMS ที่มีพิสัยไกลกว่าคือการโจมตีเมื่อวันที่ 17 เมษายนที่สนามบิน Dzhankoi ในไครเมีย แม้ว่าในทางเทคนิคแล้วอยู่ในระยะการโจมตีของ ATACMS รุ่นเก่า แต่หากต้องการหวังผลอย่างมีประสิทธิภาพ อาจต้องใช้รุ่นใหม่ที่มีพิสัยไกลกว่า
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 322 มุมมอง 0 รีวิว
  • การทานอาหารตามธาตุเจ้าเรือน เป็นศาสตร์แห่งการรักษาสุขภาพด้วยการทานอาหาร ซึ่งตามทฤษฎีการแพทย์แผนไทยได้กล่าวว่า ร่างกายของคนเรานั้นล้วนประกอบขึ้นด้วยธาตุต่างๆ ได้แก่ธาตุไฟ ธาตุลม ธาตุน้ำ ธาตุดิน เมื่อธาตุทั้งสี่ในร่างกายสมดุลแล้ว จะไม่ค่อยเจ็บป่วย แต่หากขาดสมดุลแล้วจะเกิดการเจ็บป่วยจากจุดอ่อนด้านสุขภาพของคนตามธาตุเจ้าเรือน
    ธาตุไฟ คือ ผู้ที่เกิด (เดือนมกราคม-กุมภาพันธ์-มีนาคม)
    ผู้ที่เกิดธาตุนี้ขี้ร้อน หงุดหงิดง่าย เป็นลมพิษ ปวดหัวบ่อย ผิวแห้งและท้องผูกบ่อย
    ดังนั้นควรรับประทานควรเป็นรสเย็น รสขม รสจืด เพื่อช่วยลดความร้อนในร่างกาย โดยเมนูตัวอย่างที่แนะนำ เช่น ต้มจืดฟักหมู ต้มจืดตำลึง แตงกวาผัดไข่ น้ำเก๊กฮวย เป็นต้น
    ธาตุลม คือ ผู้ที่เกิด (เดือนเมษายน-พฤษภาคม-มิถุนายน)
    ผู้ที่เกิดธาตุลม มักมีลมอยู่ภายในร่างกายค่อนข้างมาก ก็จะส่งผลให้มีอาการท้องอืด ปวดเส้น หน้ามืด วิงเวียน ปวดหัว นอนไม่หลับ
    ดังนั้นควรรับประทานควรเป็นรสเผ็ดร้อน เพื่อกระจายและลดธาตุลม ได้แก่ ต้มยำกุ้ง ไก่ผัดขิง ต้มข่าไก่ บัวลอยน้ำขิง เป็นต้น
    ธาตุน้ำ คือ ผู้ที่เกิด (เดือนกรกฎาคม สิงหาคม กันยายน)
    ผู้ที่เกิดธาตุน้ำจะมีน้ำเป็นส่วนประกอบหลัก โรคที่พบได้ค่อนข้างบ่อยสำหรับผู้ที่เกิดธาตุน้ำได้แก่ โรคภูมิแพ้ น้ำเหลืองเสีย ขาบวม อ้วน โรคเนื้องอก ซีสต์
    ดังนั้นควรรับประทานควรเป็นรสเปรี้ยว รสขม เพื่อปรับสมดุลน้ำในร่างกาย ได้แก่ ต้มจืดมะระ แกงส้มดอกแค ห่อหมกใบยอ น้ำใบบัวบก เป็นต้น
    ธาตุดิน คือ ผู้ที่เกิด (ตุลาคม-พฤศจิกายน-ธันวาคม)
    ผู้ที่เกิดธาตุดินควรรับประทานอาหารรส ฝาด หวาน มัน เค็ม เพื่อบำรุงกำลัง ได้แก่ แกงคั่วขนุน สะตอผัดกุ้ง ผัดฟัดทอง ผัดผักหวาน น้ำอ้อย เป็นต้น
    ----
    สนใจผลิตภัณฑ์และขอข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่…
    Line OA : https://lin.ee/MOFhjQs
    Facebook : https://www.facebook.com/qr?id=100090076934583
    #โปรโมชั่นสุดคุ้ม #ผลิตภัณฑ์สมุนไพร #ผลิตภัณฑ์อาหารเสริม #สยามไภษัชย์ #วิลิตา #เฮอร์บาติก้า #Siamphaisat #Vilita #Herbatika #thaitimes
    การทานอาหารตามธาตุเจ้าเรือน เป็นศาสตร์แห่งการรักษาสุขภาพด้วยการทานอาหาร ซึ่งตามทฤษฎีการแพทย์แผนไทยได้กล่าวว่า ร่างกายของคนเรานั้นล้วนประกอบขึ้นด้วยธาตุต่างๆ ได้แก่ธาตุไฟ ธาตุลม ธาตุน้ำ ธาตุดิน เมื่อธาตุทั้งสี่ในร่างกายสมดุลแล้ว จะไม่ค่อยเจ็บป่วย แต่หากขาดสมดุลแล้วจะเกิดการเจ็บป่วยจากจุดอ่อนด้านสุขภาพของคนตามธาตุเจ้าเรือน ธาตุไฟ คือ ผู้ที่เกิด (เดือนมกราคม-กุมภาพันธ์-มีนาคม) ผู้ที่เกิดธาตุนี้ขี้ร้อน หงุดหงิดง่าย เป็นลมพิษ ปวดหัวบ่อย ผิวแห้งและท้องผูกบ่อย ดังนั้นควรรับประทานควรเป็นรสเย็น รสขม รสจืด เพื่อช่วยลดความร้อนในร่างกาย โดยเมนูตัวอย่างที่แนะนำ เช่น ต้มจืดฟักหมู ต้มจืดตำลึง แตงกวาผัดไข่ น้ำเก๊กฮวย เป็นต้น ธาตุลม คือ ผู้ที่เกิด (เดือนเมษายน-พฤษภาคม-มิถุนายน) ผู้ที่เกิดธาตุลม มักมีลมอยู่ภายในร่างกายค่อนข้างมาก ก็จะส่งผลให้มีอาการท้องอืด ปวดเส้น หน้ามืด วิงเวียน ปวดหัว นอนไม่หลับ ดังนั้นควรรับประทานควรเป็นรสเผ็ดร้อน เพื่อกระจายและลดธาตุลม ได้แก่ ต้มยำกุ้ง ไก่ผัดขิง ต้มข่าไก่ บัวลอยน้ำขิง เป็นต้น ธาตุน้ำ คือ ผู้ที่เกิด (เดือนกรกฎาคม สิงหาคม กันยายน) ผู้ที่เกิดธาตุน้ำจะมีน้ำเป็นส่วนประกอบหลัก โรคที่พบได้ค่อนข้างบ่อยสำหรับผู้ที่เกิดธาตุน้ำได้แก่ โรคภูมิแพ้ น้ำเหลืองเสีย ขาบวม อ้วน โรคเนื้องอก ซีสต์ ดังนั้นควรรับประทานควรเป็นรสเปรี้ยว รสขม เพื่อปรับสมดุลน้ำในร่างกาย ได้แก่ ต้มจืดมะระ แกงส้มดอกแค ห่อหมกใบยอ น้ำใบบัวบก เป็นต้น ธาตุดิน คือ ผู้ที่เกิด (ตุลาคม-พฤศจิกายน-ธันวาคม) ผู้ที่เกิดธาตุดินควรรับประทานอาหารรส ฝาด หวาน มัน เค็ม เพื่อบำรุงกำลัง ได้แก่ แกงคั่วขนุน สะตอผัดกุ้ง ผัดฟัดทอง ผัดผักหวาน น้ำอ้อย เป็นต้น ---- สนใจผลิตภัณฑ์และขอข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่… Line OA : https://lin.ee/MOFhjQs Facebook : https://www.facebook.com/qr?id=100090076934583 #โปรโมชั่นสุดคุ้ม #ผลิตภัณฑ์สมุนไพร #ผลิตภัณฑ์อาหารเสริม #สยามไภษัชย์ #วิลิตา #เฮอร์บาติก้า #Siamphaisat #Vilita #Herbatika #thaitimes
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 460 มุมมอง 0 รีวิว
  • ฝรั่งเศสยังคงเปิดกว้างให้ยูเครนใช้ขีปนาวุธของฝรั่งเศสโจมตีเป้าหมายในรัสเซีย

    ฌอง-โนเอล บาร์โรต์ รัฐมนตรีต่างประเทศฝรั่งเศส กล่าวเมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมาว่า ปารีสยังคงเปิดกว้างให้ยูเครนใช้ขีปนาวุธพิสัยไกลของฝรั่งเศสโจมตีฐานทัพในรัสเซีย หลังจากมีรายงานว่าสหรัฐอนุญาตให้เคียฟใช้ขีปนาวุธที่สหรัฐฯ จัดหาให้เพื่อจุดประสงค์เดียวกัน

    บาร์โรต์ เน้นย้ำว่าประธานาธิบดีฝรั่งเศส เอ็มมานูเอล มาครง ได้เคยเสนอเรื่องนี้ไปแล้วตั้งแต่เดือนพฤษภาคม ถึงความต้องการของปารีสต่อกรณีดังกล่าว

    "เรากล่าวอย่างเปิดเผยว่านี่เป็นทางเลือกที่เราจะพิจารณาหากจะอนุญาตให้โจมตีเป้าหมายจากที่รัสเซียกำลังรุกรานดินแดนยูเครนอยู่ในขณะนี้" บาร์โรต์กล่าวกับผู้สื่อข่าวในกรุงบรัสเซลส์

    ทางด้านประธานาธิบดีฝรั่งเศส เอ็มมานูเอล มาครง กล่าวระหว่างการประชุม G20 ที่บราซิล ว่ามีความยินดีต่อการอนุมัติของไบเดนให้เคียฟใช้ขีปนาวุธ ATACMS ที่ผลิตโดยสหรัฐฯ โจมตีในดินแดนของรัสเซีย

    ประธานาธิบดีมาครงกล่าวสนับสนุนว่า การตัดสินใจของวอชิงตันเกิดจากการตัดสินใจยกระดับของรัสเซียในการเรียกทหารเกาหลีเหนือเข้ามาร่วมต่อสู้
    ฝรั่งเศสยังคงเปิดกว้างให้ยูเครนใช้ขีปนาวุธของฝรั่งเศสโจมตีเป้าหมายในรัสเซีย ฌอง-โนเอล บาร์โรต์ รัฐมนตรีต่างประเทศฝรั่งเศส กล่าวเมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมาว่า ปารีสยังคงเปิดกว้างให้ยูเครนใช้ขีปนาวุธพิสัยไกลของฝรั่งเศสโจมตีฐานทัพในรัสเซีย หลังจากมีรายงานว่าสหรัฐอนุญาตให้เคียฟใช้ขีปนาวุธที่สหรัฐฯ จัดหาให้เพื่อจุดประสงค์เดียวกัน บาร์โรต์ เน้นย้ำว่าประธานาธิบดีฝรั่งเศส เอ็มมานูเอล มาครง ได้เคยเสนอเรื่องนี้ไปแล้วตั้งแต่เดือนพฤษภาคม ถึงความต้องการของปารีสต่อกรณีดังกล่าว "เรากล่าวอย่างเปิดเผยว่านี่เป็นทางเลือกที่เราจะพิจารณาหากจะอนุญาตให้โจมตีเป้าหมายจากที่รัสเซียกำลังรุกรานดินแดนยูเครนอยู่ในขณะนี้" บาร์โรต์กล่าวกับผู้สื่อข่าวในกรุงบรัสเซลส์ ทางด้านประธานาธิบดีฝรั่งเศส เอ็มมานูเอล มาครง กล่าวระหว่างการประชุม G20 ที่บราซิล ว่ามีความยินดีต่อการอนุมัติของไบเดนให้เคียฟใช้ขีปนาวุธ ATACMS ที่ผลิตโดยสหรัฐฯ โจมตีในดินแดนของรัสเซีย ประธานาธิบดีมาครงกล่าวสนับสนุนว่า การตัดสินใจของวอชิงตันเกิดจากการตัดสินใจยกระดับของรัสเซียในการเรียกทหารเกาหลีเหนือเข้ามาร่วมต่อสู้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 236 มุมมอง 0 รีวิว
  • "ครุฑ" ประดับกุญแจเมืองทองคำที่เห็นนี้ นายกเทศมนตรีเมืองไวท์เพลนส์ สหรัฐอเมริกา ทูลเกล้าฯ ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ เมื่อวันที่ ๒ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๗๔ และปัจจุบันจัดแสดง ณ พิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เชิงสะพานผ่านฟ้า
    "ครุฑ" ประดับกุญแจเมืองทองคำที่เห็นนี้ นายกเทศมนตรีเมืองไวท์เพลนส์ สหรัฐอเมริกา ทูลเกล้าฯ ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ เมื่อวันที่ ๒ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๗๔ และปัจจุบันจัดแสดง ณ พิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เชิงสะพานผ่านฟ้า
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 200 มุมมอง 0 รีวิว
  • ## มหาเทพ ชี้ MOU44 เป็นโมฆะ ##
    ..
    ..
    เจาะเด็ด เผ็ดลึก แสบสัน ทะลุกึ๋น ทะลวงเซี่ยงจี๊...
    .
    วันอังคาร ที่ 12/11/2567 อาจารย์ ปานเทพ ชี้ ไม่ต้องยกเลิก MOU44 เพราะ เป็นโมฆะ มาตั้งแต่ต้น...!!!
    ...
    ...
    ผมเดาว่าผมเข้าใจความหมายของ ทนายนกเขา และ อาจารย์ ปานเทพ นะครับ
    .
    เดี๋ยวผมจะ อธิบายเพิ่มเติมเปรียบเทียบให้เข้าใจง่ายๆนะครับ ยกตัวอย่าง...
    .
    ศักดิ์ของกฎหมายในประเทศไทย ไล่เรียงลำดับลงไปนะครับ คือ
    .
    1.รัฐธรรมนูญ
    2.พระราชบัญญัติ
    3.พระราชกําหนด
    4.พระราชกฎษฎีกา
    5.กฎกระทรวง
    6.ข้อบัญญัติ
    .
    พระราชบัญญัติ จะมีศักดิ์ต่ำกว่า รัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ
    .
    และ พระราชกําหนด จะมีศักดิ์ต่ำกว่า พระราชบัญญัติ
    .
    หลักการคือ กฎหมาย ที่มีศักดิ์ต่ำกว่า จะบัญญัติขึ้น โดยมีเนื้อหา ขัด หรือ แย้ง กับ กฎหมายที่มีศักดิ์สูงกว่า ไม่ได้...
    .
    ซึ่งจะมีผลให้ กฎหมายที่บัญญัติขึ้นนั้น...
    .
    "ใช้บังคับไม่ได้...!!!"
    .
    เช่นเดียวกัน...!!!
    .
    เมื่อมี ประกาศ พระบรมราชโองการ ในหลวงรัชกาลที่ 9 "กำหนดเขตไหล่ทวีป ของประเทศไทย ด้านอ่าวไทย"
    .
    ซึ่งประกาศจริง ในวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ.2516 และ ประกาศ ไว้ใน ราชกิจจานุเบกษา ในวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.2516
    .
    มีสถานะเป็น พระบรมราชโองการ ซึ่งมีข้อความตอนหนึ่งว่า...
    .
    "สำหรับสิทธิอธิปไตยที่เป็นทะเลอาณาเขต ซึ่งต่อเนื่องกับทะเลอาณาเขตของประเทศใกล้เคียง อันจะถือเป็นจุดเริ่มของเส้นแบ่งเขตไหล่ทวีปนั้น จะเป็นไปตามที่จะได้ตกลงกัน โดยยึดถือมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเล อาณาเขต และ เขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ.1958"
    .
    ซึ่งหมายความว่า...
    .
    การเจรจาต่างๆ เกี่ยวสิทธิอธิปไตยที่เป็นทะเลอาณาเขต ต้องเจรจาอยู่บน บทบัญญัติว่าด้วย "อนุสัญญาว่าด้วยทะเล กรุงเจนีวา" ซึ่งเป็นการยึดตามกฎหมายสากลระหว่างประเทศ เท่านั้น...!!!
    .
    เพราะฉะนั้น MOU44 ซึ่งเป็นเพียง หนังสือบันทึกความเข้าใจร่วมกัน ที่ยังไม่ได้ผ่านสภาด้วยซ้ำ
    .
    โดยมีนัยยะว่า รับรู้ถึง การขีดเส้นเขตแดนของ กัมพูชา ซึ่งไม่ได้ยึดหลักกฎหมายสากลอะไรเลย...
    .
    เท่ากับว่า มีเนื้อหา ขัด และ แย้ง กับประกาศ พระบรมราชโองการ ในหลวงรัชกาลที่ 9 "กำหนดเขตไหล่ทวีป ของประเทศไทย ด้านอ่าวไทย"
    .
    ดังนั้น MOU44 จึงจะ "ใช้บังคับไม่ได้" เพราะ เป็น "โมฆะ" มาตั้งแต่ต้น...!!!
    .
    มีผลเสมือน ไม่เคยมี MOU44 เกิดขึ้นบนโลกนี้มาก่อนเลยตั้งแต่แรก...!!!
    ....
    ....
    แต่ในการนี้เราคงจะต้อง Action ให้ใหญ่โตครับ ต้องการทำการให้เป็นประเด็นผ่านหน่วยงานของประเทศ ให้เป็นกิจลักษณะ...
    .
    จะได้ไม่โดนกฎหมายปิดปากเหมือนครั้ง ปราสาทเขาพระวิหาร อีก เพราะ กัมพูชาเขาวางเกมส์มาเป็น 10 ปีแล้ว...
    .
    ประเด็นนี้ เผ็ดร้อน ระดับ พริก 1 ล้าน เม็ด...!!!
    .
    ผมเองก็จะคอยติดตาม ข้อมูล หรือ แนวทางของ "สำนักบ้านพระอาทิตย์" ต่อไป ในงาน "ความจริงมีหนึ่งเดียว" ในวันที่ 24 พฤศจิกายน นี้ครับ
    .
    https://youtu.be/3ke7aL9gKi8?si=0iOYA_b8tW80bhBK
    ## มหาเทพ ชี้ MOU44 เป็นโมฆะ ## .. .. เจาะเด็ด เผ็ดลึก แสบสัน ทะลุกึ๋น ทะลวงเซี่ยงจี๊... . วันอังคาร ที่ 12/11/2567 อาจารย์ ปานเทพ ชี้ ไม่ต้องยกเลิก MOU44 เพราะ เป็นโมฆะ มาตั้งแต่ต้น...!!! ... ... ผมเดาว่าผมเข้าใจความหมายของ ทนายนกเขา และ อาจารย์ ปานเทพ นะครับ . เดี๋ยวผมจะ อธิบายเพิ่มเติมเปรียบเทียบให้เข้าใจง่ายๆนะครับ ยกตัวอย่าง... . ศักดิ์ของกฎหมายในประเทศไทย ไล่เรียงลำดับลงไปนะครับ คือ . 1.รัฐธรรมนูญ 2.พระราชบัญญัติ 3.พระราชกําหนด 4.พระราชกฎษฎีกา 5.กฎกระทรวง 6.ข้อบัญญัติ . พระราชบัญญัติ จะมีศักดิ์ต่ำกว่า รัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ . และ พระราชกําหนด จะมีศักดิ์ต่ำกว่า พระราชบัญญัติ . หลักการคือ กฎหมาย ที่มีศักดิ์ต่ำกว่า จะบัญญัติขึ้น โดยมีเนื้อหา ขัด หรือ แย้ง กับ กฎหมายที่มีศักดิ์สูงกว่า ไม่ได้... . ซึ่งจะมีผลให้ กฎหมายที่บัญญัติขึ้นนั้น... . "ใช้บังคับไม่ได้...!!!" . เช่นเดียวกัน...!!! . เมื่อมี ประกาศ พระบรมราชโองการ ในหลวงรัชกาลที่ 9 "กำหนดเขตไหล่ทวีป ของประเทศไทย ด้านอ่าวไทย" . ซึ่งประกาศจริง ในวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ.2516 และ ประกาศ ไว้ใน ราชกิจจานุเบกษา ในวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.2516 . มีสถานะเป็น พระบรมราชโองการ ซึ่งมีข้อความตอนหนึ่งว่า... . "สำหรับสิทธิอธิปไตยที่เป็นทะเลอาณาเขต ซึ่งต่อเนื่องกับทะเลอาณาเขตของประเทศใกล้เคียง อันจะถือเป็นจุดเริ่มของเส้นแบ่งเขตไหล่ทวีปนั้น จะเป็นไปตามที่จะได้ตกลงกัน โดยยึดถือมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเล อาณาเขต และ เขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ.1958" . ซึ่งหมายความว่า... . การเจรจาต่างๆ เกี่ยวสิทธิอธิปไตยที่เป็นทะเลอาณาเขต ต้องเจรจาอยู่บน บทบัญญัติว่าด้วย "อนุสัญญาว่าด้วยทะเล กรุงเจนีวา" ซึ่งเป็นการยึดตามกฎหมายสากลระหว่างประเทศ เท่านั้น...!!! . เพราะฉะนั้น MOU44 ซึ่งเป็นเพียง หนังสือบันทึกความเข้าใจร่วมกัน ที่ยังไม่ได้ผ่านสภาด้วยซ้ำ . โดยมีนัยยะว่า รับรู้ถึง การขีดเส้นเขตแดนของ กัมพูชา ซึ่งไม่ได้ยึดหลักกฎหมายสากลอะไรเลย... . เท่ากับว่า มีเนื้อหา ขัด และ แย้ง กับประกาศ พระบรมราชโองการ ในหลวงรัชกาลที่ 9 "กำหนดเขตไหล่ทวีป ของประเทศไทย ด้านอ่าวไทย" . ดังนั้น MOU44 จึงจะ "ใช้บังคับไม่ได้" เพราะ เป็น "โมฆะ" มาตั้งแต่ต้น...!!! . มีผลเสมือน ไม่เคยมี MOU44 เกิดขึ้นบนโลกนี้มาก่อนเลยตั้งแต่แรก...!!! .... .... แต่ในการนี้เราคงจะต้อง Action ให้ใหญ่โตครับ ต้องการทำการให้เป็นประเด็นผ่านหน่วยงานของประเทศ ให้เป็นกิจลักษณะ... . จะได้ไม่โดนกฎหมายปิดปากเหมือนครั้ง ปราสาทเขาพระวิหาร อีก เพราะ กัมพูชาเขาวางเกมส์มาเป็น 10 ปีแล้ว... . ประเด็นนี้ เผ็ดร้อน ระดับ พริก 1 ล้าน เม็ด...!!! . ผมเองก็จะคอยติดตาม ข้อมูล หรือ แนวทางของ "สำนักบ้านพระอาทิตย์" ต่อไป ในงาน "ความจริงมีหนึ่งเดียว" ในวันที่ 24 พฤศจิกายน นี้ครับ . https://youtu.be/3ke7aL9gKi8?si=0iOYA_b8tW80bhBK
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 458 มุมมอง 0 รีวิว
  • ✳ ขอให้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข นายสมศักดิ์ เทพสุทินรีบดำเนินการทบทวนการอนุญาตวัคซีนโควิดของบริษัทไฟเซอร์และโมเดอร์นา
    วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๗

    เอกสารแนบ
    ๑. สำเนาหนังสือถึง นายกรัฐมนตรี เรื่อง ขอให้ระงับการฉีดวัคซีน mRNA ของบริษัทไฟเซอร์ และโมเดอร์นา ลงวันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๗
    ๒. สำเนาหนังสือที่กลุ่มคนไทยพิทักษ์สิทธิ์ส่งให้ส่วนราชการภายใต้ความรับผิดชอบของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขเกี่ยวกับปัญหาของวัคซีนโควิด

    ตามที่ท่านเป็นรัฐมนตรีที่รักษาการตามพระราชบัญญัติยา พุทธศักราช ๒๕๑๐ โดยมาตรา ๘๖ ได้บัญญัติไว้ว่า “ยาใดที่ได้ขึ้นทะเบียนตำรับยาไว้แล้ว หากภายหลัง ปรากฏว่ายานั้นไม่มีสรรพคุณตามที่ขึ้นทะเบียนไว้ หรืออาจไม่ปลอดภัยแก่ผู้ใช้ .............ให้รัฐมนตรีโดยคำแนะนำของ คณะกรรมการมีอำนาจสั่งให้เพิกถอนทะเบียนตำรับยานั้นได้ การเพิกถอน ให้กระทำโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา คำสั่งของรัฐมนตรีให้เป็นที่สุด” ปัจจุบันมีข้อมูลยืนยันชัดเจนว่า วัคซีน mRNA ของบริษัทไฟเซอร์และโมเดอร์นา ไม่มีสรรพคุณตามที่ขึ้นทะเบียนไว้ กล่าวคือ ไม่สามารถป้องกันการติดเชื้อ ไม่สามารถป้องกันการแพร่เชื้อ ไม่สามารถลดการป่วยหนัก และไม่สามารถลดการเสียชีวิตลงได้ อีกทั้งอาจก่อให้เกิดผลข้างเคียงที่เป็นอันตรายถึงชีวิตต่อผู้บริโภค อาจไม่ปลอดภัยต่อผู้ใช้ ท่านในฐานะรัฐมนตรีที่รักษาการตามพระราชบัญญัติดังกล่าว จึงมีอำนาจและหน้าที่ ในการสั่งให้เพิกถอนทะเบียนตำรับยาดังกล่าว ทั้งนี้หากท่านไม่รีบดำเนินการทันทีที่ได้รับหนังสือฉบับนี้ อาจเข้าข่ายการกระทำผิดในฐาน ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ ซึ่งส่งผลให้ท่านต้องรับผิดทางอาญาและรับผิดทางละเมิดหากมีผู้ได้รับผลกระทบจากวัคซีนดังกล่าวฟ้องร้องกล่าวโทษท่านในอนาคต ในทางตรงกันข้ามหากท่านดำเนินการเพิกถอนทะเบียนตำรับยาวัคซีน mRNA ท่านจะกลายเป็นวีรบุรุษของประชาชน และยังเปิดโอกาสให้มีการพัฒนาสมุนไพรไทยเพื่อใช้ในการรักษาผลข้างเคียงจากวัคซีนดังกล่าวด้วย

    อนึ่งจากผลการเลือกตั้งในประเทศสหรัฐอเมริกา ว่าที่ประธานาธิบดีทรัมป์ได้ประกาศนโยบายในการปฏิรูปสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (FDA) ของประเทศสหรัฐ พร้อมทั้งฟ้องร้องเอาผิดกับบริษัทยาทั้งสองข้างต้นในข้อหาให้ข้อมูลเท็จเกี่ยวกับประสิทธิภาพและความปลอดภัยของวัคซีน อีกทั้งยังจะทำการสอบสวนสื่อมวลชนในการให้ข้อมูลเท็จ ปกปิดข้อเท็จจริงเกี่ยวกับผลกระทบที่เกิดขึ้นจากวัคซีนโควิดด้วย นโยบายดังกล่าวย่อมสงผลให้ประชาคมโลกรวมทั้งประเทศไทยรับรู้ข้อมูลที่แท้จริงเกี่ยวกับประสิทธิภาพและความปลอดภัยของวัคซีน mRNA อันจะส่งผลให้ ผู้บริโภคที่ได้รับผลกระทบจากวัคซีนดังกล่าวฟ้องร้องเอาผิดกับบริษัทยา และหน่วยงานของรัฐที่มีหน้าที่กำกับดูแลความปลอดภัยของผู้บริโภคในที่สุด
    จึงเรียนมาเพื่อให้ท่านดำเนินการเพิกถอนตำรับยา และแถลงข่าวในเรื่องนี้ให้สาธารณชนได้รับรู้โดยเร็วต่อไป

    กลุ่มแพทย์และจิตอาสาคนไทยพิทักษ์สิทธิ์

    เอกสารแนบ
    🔸️๑. วันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ สำเนาหนังสือถึง นายกรัฐมนตรี ขอให้ระงับการฉีดวัคซีน mRNA ของบริษัทไฟเซอร์ และโมเดอร์นา https://drive.google.com/file/d/194Tdo5zsHVbln0QgcEHR4w0vqQKkKKT8/view?usp=drivesdk

    🔸️๒. วันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๖๗ ขอให้กรมควบคุมโรคให้ข้อมูลที่เป็นจริงกับประชาชน https://docs.google.com/document/d/1UiTSqJLYwCJjMDHVKdLxvsRYSJt-pTkY/edit?usp=drive_link&ouid=114317915619449341642&rtpof=true&sd=true

    วันที่ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ ขอให้ทบทวนการอนุญาตให้ใช้วัคซีนชนิด mRNA
    https://docs.google.com/document/d/1VE4buQ0_cFnq0skvZZBeMsrhKj4Y1WWO/edit?usp=drive_link&ouid=114317915619449341642&rtpof=true&sd=true

    วันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ ขอให้กรมควบคุมโรคเปิดเผย สัญญาทาส ที่ทำไว้กับบริษัทไฟเซอร์
    https://drive.google.com/file/d/1yJ0G2ZYqtSiGLyqfNcYh815zAw4wPt21/view?usp=drivesdk

    วันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๖๗ ขอให้ชี้แจงกับสังคมว่ายาฉีด mRNA เป็นวัคซีนหรือพันธุกรรมบำบัด (gene therapy) https://drive.google.com/file/d/1ywJleVBY-n4azNvy-Vq8VZXkX16J8gP2/view?usp=drivesdk

    วันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๗ ขอให้เพิกถอนกสนอนุญาตผลิตภัณฑ์ยาฉีด ชนิด mRNA
    https://drive.google.com/file/d/19mD3aUoAB3t-ciwUXNS9QY4EqtWS7LJ5/view?usp=drivesdk

    วันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๗ ขอให้สอบสวนพฤติกรรมการเอื้อประโยชน์ให้กับบริษัทยากรณีปัญหาผลกระทบจากวัคซีนโคเมอร์เนตี้
    https://drive.google.com/file/d/17-QJnIzFImsBVN2ELU_3NxOIQxo5pzW3/view?usp=drivesdk

    วันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๖๗ ขอให้ทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ค่านิยมองค์กร ตลอดจนแนวนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขเสียใหม่ https://drive.google.com/file/d/1GIDGcv1jafx3O9bwgDUOgfohvuxNat0q/view?usp=drivesdk

    วันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๖๗ ข้อมูลจากกระทรวงสาธารณสุขยืนยันการเสียชีวิตเพิ่มขึ้นอย่างผิดปกติของคนไทย
    https://drive.google.com/file/d/1lvGImexMXmKdpRPdvJSq9Oqm3wrVovKK/view?usp=drivesdk

    วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๗ กระทรวงสาธารณสุขมีเจตนาที่จะบิดเบือนความจริงเกี่ยวกับการเสียชีวิตที่เพิ่มขึ้นอย่างผิดปกติของคนไทย https://drive.google.com/file/d/1uuKi_PTKtO48LBRbcLV_JbsVHTo6zKzI/view?usp=drive_link

    วันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๖๗ ขอให้สอบสวนการกระทำผิดสัญญาของบริษัทไฟเซอร์
    https://drive.google.com/file/d/1bGwVKoRQUyNt7dXpWbTJJ_AzRyRRsgMH/view?usp=drivesdk

    วันที่ ๙ สิงหาคม ๒๕๖๗ ขอติดตามความคืบหน้าในการเพิกถอนการอนุญาตผลิตภัณฑ์ยาฉีด mRNA (modified RNA) https://drive.google.com/file/d/1AFg_Ilr8vyPjJtUeM277UX6tl3yGNB5c/view?usp=drivesdk

    วันที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๖๗ คำเตือนครั้งสุดท้ายถึงผู้มีอำนาจหน้าที่ในกระทรวงสาธารณสุข “ขอให้ระงับการฉีด mRNA ทุกชนิดทันที”
    https://drive.google.com/file/d/1cugBtvCskQFxw8VdwqJs8jEwZNjhhFVh/view?usp=drivesdk

    วันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ ขอให้รมต.สธ. ระงับการฉีดวัคซีน mRNA ของบริษัทไฟเซอร์ และโมเดอร์นา
    https://drive.google.com/file/d/1BR1vKiDPMrlXMykJqZUVgj3aAK-KkyjH/view?usp=drivesdk

    รวมจดหมายเปิดผนึกและหนังสือต่างๆที่ทางกลุ่มฯได้ยื่นให้หน่วยงานภาครัฐ
    https://drive.google.com/drive/folders/1xAV-r3WhU5mt1WvTp8DBZktDPRatYrna
    ✳ ขอให้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข นายสมศักดิ์ เทพสุทินรีบดำเนินการทบทวนการอนุญาตวัคซีนโควิดของบริษัทไฟเซอร์และโมเดอร์นา วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ เอกสารแนบ ๑. สำเนาหนังสือถึง นายกรัฐมนตรี เรื่อง ขอให้ระงับการฉีดวัคซีน mRNA ของบริษัทไฟเซอร์ และโมเดอร์นา ลงวันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ ๒. สำเนาหนังสือที่กลุ่มคนไทยพิทักษ์สิทธิ์ส่งให้ส่วนราชการภายใต้ความรับผิดชอบของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขเกี่ยวกับปัญหาของวัคซีนโควิด ตามที่ท่านเป็นรัฐมนตรีที่รักษาการตามพระราชบัญญัติยา พุทธศักราช ๒๕๑๐ โดยมาตรา ๘๖ ได้บัญญัติไว้ว่า “ยาใดที่ได้ขึ้นทะเบียนตำรับยาไว้แล้ว หากภายหลัง ปรากฏว่ายานั้นไม่มีสรรพคุณตามที่ขึ้นทะเบียนไว้ หรืออาจไม่ปลอดภัยแก่ผู้ใช้ .............ให้รัฐมนตรีโดยคำแนะนำของ คณะกรรมการมีอำนาจสั่งให้เพิกถอนทะเบียนตำรับยานั้นได้ การเพิกถอน ให้กระทำโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา คำสั่งของรัฐมนตรีให้เป็นที่สุด” ปัจจุบันมีข้อมูลยืนยันชัดเจนว่า วัคซีน mRNA ของบริษัทไฟเซอร์และโมเดอร์นา ไม่มีสรรพคุณตามที่ขึ้นทะเบียนไว้ กล่าวคือ ไม่สามารถป้องกันการติดเชื้อ ไม่สามารถป้องกันการแพร่เชื้อ ไม่สามารถลดการป่วยหนัก และไม่สามารถลดการเสียชีวิตลงได้ อีกทั้งอาจก่อให้เกิดผลข้างเคียงที่เป็นอันตรายถึงชีวิตต่อผู้บริโภค อาจไม่ปลอดภัยต่อผู้ใช้ ท่านในฐานะรัฐมนตรีที่รักษาการตามพระราชบัญญัติดังกล่าว จึงมีอำนาจและหน้าที่ ในการสั่งให้เพิกถอนทะเบียนตำรับยาดังกล่าว ทั้งนี้หากท่านไม่รีบดำเนินการทันทีที่ได้รับหนังสือฉบับนี้ อาจเข้าข่ายการกระทำผิดในฐาน ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ ซึ่งส่งผลให้ท่านต้องรับผิดทางอาญาและรับผิดทางละเมิดหากมีผู้ได้รับผลกระทบจากวัคซีนดังกล่าวฟ้องร้องกล่าวโทษท่านในอนาคต ในทางตรงกันข้ามหากท่านดำเนินการเพิกถอนทะเบียนตำรับยาวัคซีน mRNA ท่านจะกลายเป็นวีรบุรุษของประชาชน และยังเปิดโอกาสให้มีการพัฒนาสมุนไพรไทยเพื่อใช้ในการรักษาผลข้างเคียงจากวัคซีนดังกล่าวด้วย อนึ่งจากผลการเลือกตั้งในประเทศสหรัฐอเมริกา ว่าที่ประธานาธิบดีทรัมป์ได้ประกาศนโยบายในการปฏิรูปสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (FDA) ของประเทศสหรัฐ พร้อมทั้งฟ้องร้องเอาผิดกับบริษัทยาทั้งสองข้างต้นในข้อหาให้ข้อมูลเท็จเกี่ยวกับประสิทธิภาพและความปลอดภัยของวัคซีน อีกทั้งยังจะทำการสอบสวนสื่อมวลชนในการให้ข้อมูลเท็จ ปกปิดข้อเท็จจริงเกี่ยวกับผลกระทบที่เกิดขึ้นจากวัคซีนโควิดด้วย นโยบายดังกล่าวย่อมสงผลให้ประชาคมโลกรวมทั้งประเทศไทยรับรู้ข้อมูลที่แท้จริงเกี่ยวกับประสิทธิภาพและความปลอดภัยของวัคซีน mRNA อันจะส่งผลให้ ผู้บริโภคที่ได้รับผลกระทบจากวัคซีนดังกล่าวฟ้องร้องเอาผิดกับบริษัทยา และหน่วยงานของรัฐที่มีหน้าที่กำกับดูแลความปลอดภัยของผู้บริโภคในที่สุด จึงเรียนมาเพื่อให้ท่านดำเนินการเพิกถอนตำรับยา และแถลงข่าวในเรื่องนี้ให้สาธารณชนได้รับรู้โดยเร็วต่อไป กลุ่มแพทย์และจิตอาสาคนไทยพิทักษ์สิทธิ์ เอกสารแนบ 🔸️๑. วันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ สำเนาหนังสือถึง นายกรัฐมนตรี ขอให้ระงับการฉีดวัคซีน mRNA ของบริษัทไฟเซอร์ และโมเดอร์นา https://drive.google.com/file/d/194Tdo5zsHVbln0QgcEHR4w0vqQKkKKT8/view?usp=drivesdk 🔸️๒. วันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๖๗ ขอให้กรมควบคุมโรคให้ข้อมูลที่เป็นจริงกับประชาชน https://docs.google.com/document/d/1UiTSqJLYwCJjMDHVKdLxvsRYSJt-pTkY/edit?usp=drive_link&ouid=114317915619449341642&rtpof=true&sd=true วันที่ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ ขอให้ทบทวนการอนุญาตให้ใช้วัคซีนชนิด mRNA https://docs.google.com/document/d/1VE4buQ0_cFnq0skvZZBeMsrhKj4Y1WWO/edit?usp=drive_link&ouid=114317915619449341642&rtpof=true&sd=true วันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ ขอให้กรมควบคุมโรคเปิดเผย สัญญาทาส ที่ทำไว้กับบริษัทไฟเซอร์ https://drive.google.com/file/d/1yJ0G2ZYqtSiGLyqfNcYh815zAw4wPt21/view?usp=drivesdk วันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๖๗ ขอให้ชี้แจงกับสังคมว่ายาฉีด mRNA เป็นวัคซีนหรือพันธุกรรมบำบัด (gene therapy) https://drive.google.com/file/d/1ywJleVBY-n4azNvy-Vq8VZXkX16J8gP2/view?usp=drivesdk วันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๗ ขอให้เพิกถอนกสนอนุญาตผลิตภัณฑ์ยาฉีด ชนิด mRNA https://drive.google.com/file/d/19mD3aUoAB3t-ciwUXNS9QY4EqtWS7LJ5/view?usp=drivesdk วันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๗ ขอให้สอบสวนพฤติกรรมการเอื้อประโยชน์ให้กับบริษัทยากรณีปัญหาผลกระทบจากวัคซีนโคเมอร์เนตี้ https://drive.google.com/file/d/17-QJnIzFImsBVN2ELU_3NxOIQxo5pzW3/view?usp=drivesdk วันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๖๗ ขอให้ทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ค่านิยมองค์กร ตลอดจนแนวนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขเสียใหม่ https://drive.google.com/file/d/1GIDGcv1jafx3O9bwgDUOgfohvuxNat0q/view?usp=drivesdk วันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๖๗ ข้อมูลจากกระทรวงสาธารณสุขยืนยันการเสียชีวิตเพิ่มขึ้นอย่างผิดปกติของคนไทย https://drive.google.com/file/d/1lvGImexMXmKdpRPdvJSq9Oqm3wrVovKK/view?usp=drivesdk วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๗ กระทรวงสาธารณสุขมีเจตนาที่จะบิดเบือนความจริงเกี่ยวกับการเสียชีวิตที่เพิ่มขึ้นอย่างผิดปกติของคนไทย https://drive.google.com/file/d/1uuKi_PTKtO48LBRbcLV_JbsVHTo6zKzI/view?usp=drive_link วันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๖๗ ขอให้สอบสวนการกระทำผิดสัญญาของบริษัทไฟเซอร์ https://drive.google.com/file/d/1bGwVKoRQUyNt7dXpWbTJJ_AzRyRRsgMH/view?usp=drivesdk วันที่ ๙ สิงหาคม ๒๕๖๗ ขอติดตามความคืบหน้าในการเพิกถอนการอนุญาตผลิตภัณฑ์ยาฉีด mRNA (modified RNA) https://drive.google.com/file/d/1AFg_Ilr8vyPjJtUeM277UX6tl3yGNB5c/view?usp=drivesdk วันที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๖๗ คำเตือนครั้งสุดท้ายถึงผู้มีอำนาจหน้าที่ในกระทรวงสาธารณสุข “ขอให้ระงับการฉีด mRNA ทุกชนิดทันที” https://drive.google.com/file/d/1cugBtvCskQFxw8VdwqJs8jEwZNjhhFVh/view?usp=drivesdk วันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๗ ขอให้รมต.สธ. ระงับการฉีดวัคซีน mRNA ของบริษัทไฟเซอร์ และโมเดอร์นา https://drive.google.com/file/d/1BR1vKiDPMrlXMykJqZUVgj3aAK-KkyjH/view?usp=drivesdk รวมจดหมายเปิดผนึกและหนังสือต่างๆที่ทางกลุ่มฯได้ยื่นให้หน่วยงานภาครัฐ https://drive.google.com/drive/folders/1xAV-r3WhU5mt1WvTp8DBZktDPRatYrna
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 748 มุมมอง 0 รีวิว
  • สหรัฐฯกำลังพิจารณาจัดการเลือกตั้งในยูเครนในปีหน้า สำหรับเป็นหนทางที่ชอบธรรมในการหาคนมาแทนรัฐบาลของประธานาธิบดีโวโลดิมีร์ เซเลนสกี จากคำกล่าวของหน่วยข่าวกรองต่างประเทศแห่งรัสเซีย (SVR)
    .
    เซเลนสกี ยังคงอยู่ในอำนาจในยูเครน แม้สมัยการดำรงตำแหน่งของเขาหมดวาระลงไปอย่างเป็นทางการแล้วตั้งแต่เดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา เขาประกาศเลื่อนศึกเลือกตั้งประธานาธิบดี โดยอ้างกฎอัยการศึกที่เขาประกาศบังคับใช้ในปี 2022
    .
    หน่วยข่าวกรองต่างประเทศแห่งรัสเซียระบุในถ้อยแถลง กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯเชื่อว่า เซเลนสกี ใช้สิทธิ์ที่เลยเถิดเกินไป และอาจจัดการเลือกตั้งประธานาธิบดีและรัฐสภายูเครน เพื่อเขี่ยเขาพ้นจากอำนาจในปี 2025 แม้ยังอยู่ระหว่างการทำศึกสงครามก็ตาม
    .
    ข้อมูลตามคำกล่าวอ้างของหน่วยข่าวกรองต่างประเทศรัสเซีย ระบุว่ารัสเซียตัดสินใจเริ่มทำงานในขั้นต้นแล้ว โดยมีเป้าหมายสร้างสภาพแวดล้อมต่างๆสำหรับเปิดแคมเปญรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งในยูเครน
    .
    ในขั้นแรกของแผนดังกล่าว จะได้เห็นบรรดาเอ็นจีโอที่ได้รับการสนับสนุนทางการเงินจากสหรัฐฯ ใช้โครงสร้างประชาสังคมยูเครนที่อยู่ภายใต้การควบคุมของพวกเขา ผลักดันให้มีการเดินหน้าริเริ่มจัดการเลือกตั้ง
    .
    ถ้อยแถลงระบุต่อว่า หลังจากได้รับการสนับสนุนจากประชาชนในวงกว้างแล้ว บรรดาแคนดิเดทที่จะลงสมัครรับเลือกตั้ง จะถูกเลือกภายใต้การประสานงานกับกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ นอกจากนี้แล้วบรรดาผู้สังเกตการณ์การเลือกตั้งนั้น จะเป็นกลุ่มคนที่ได้รับการแต่งตั้งจากเอ็นจีโอทั้งหลาย ที่มีความเกี่ยวข้องกับวอชิงตัน
    .
    หน่วยข่าวกรองต่างประเทศแห่งรัสเซีย อ้างด้วยว่าสหรัฐฯได้เริ่มพูดคุยหารือกันในเบื้องต้นกันไปแล้ว สำหรับการจัดตั้งพรรคการเมืองฝักใฝ่อเมริกาพรรคใหม่ในยูเครน นอกเหนือจากบรรดานักเคลื่อนไหวยูเครนที่กินเงินเดือนของพวกเขา
    .
    กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯคาดหวังว่าพรรคการเมืองพรรคนี้ จะสามารถผงาดก้าวเข้าสู่รัฐสภา และช่วยทำให้ประธานาธิบดีรายหนึ่งรายใดของยูเครนในอนาคต ยังคงอยู่ภายใต้การควบคุมของอเมริกาต่อไป จากคำกล่าวอ้างของหน่วยข่าวกรองต่างประเทศแห่งรัสเซีย
    .
    ทั้งนี้หน่วยข่าวกรองต่างประเทศแห่งรัสเซีย บ่งชี้ว่าความเคลื่อนไหวต่างๆนานาเหล่านี้ เป็นเครื่องพิสูจน์ว่าวาทกรรม "ไม่มีอะไรเกี่ยวกับยูเครน หากปราศจากยูเครน" ที่พวกเจ้าหน้าที่อเมริกามักพูดซ้ำๆตลอดความขัดแย้ง เป็นเพียงแต่คำพูดที่ว่างเปล่า และในความเป็นจริงคือ ชะตากรรมของประเทศนี้และบรรดาผู้นำหุ่นเชิดของพวกเขา จะยังขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของเหล่าเจ้าหน้าที่ระดับสูงในวอชิงตัน
    .
    เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว เซเลนสกีขยายกรอบเวลากฎอัยการศึกออกไปอีก และประกาศระดมพลในยูเครนจนถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2025 ถือเป็นการแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องเป็นครั้งที่ 13 แล้ว นับตั้งแต่ความขัดแย้งกับรัสเซีย ลุกลามบานปลายในเดือนกุมภาพันธ์ 2022
    .
    โดนัลด์ ทรัมป์ ว่าที่ประธานาธิบดีสหรัฐฯ ให้สัญญาหลายต่อหลายครั้งระหว่างหาเสียงเลือกตั้ง ว่าจะจบความขัดแย้งระหว่างมอสโกกับเคียฟอย่างรวดเร็ว ขณะที่แหล่งข่าวใกล้ชิดกับทำเนียบประธานาธิบดียูเครน ให้สัมภาษณ์กับสำนักข่าวท้องถิ่นเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว ว่าเซเลนสกี จะไร้ซึ่งอำนาจในการขัดขืนใดๆ หากว่า ทรัมป์ ต้องการให้ผู้นำยูเครนรายนี้ หยุดการสู้รบและเสาะหาสันติภาพกับรัสเซีย
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000108689
    ..............
    Sondhi X
    สหรัฐฯกำลังพิจารณาจัดการเลือกตั้งในยูเครนในปีหน้า สำหรับเป็นหนทางที่ชอบธรรมในการหาคนมาแทนรัฐบาลของประธานาธิบดีโวโลดิมีร์ เซเลนสกี จากคำกล่าวของหน่วยข่าวกรองต่างประเทศแห่งรัสเซีย (SVR) . เซเลนสกี ยังคงอยู่ในอำนาจในยูเครน แม้สมัยการดำรงตำแหน่งของเขาหมดวาระลงไปอย่างเป็นทางการแล้วตั้งแต่เดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา เขาประกาศเลื่อนศึกเลือกตั้งประธานาธิบดี โดยอ้างกฎอัยการศึกที่เขาประกาศบังคับใช้ในปี 2022 . หน่วยข่าวกรองต่างประเทศแห่งรัสเซียระบุในถ้อยแถลง กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯเชื่อว่า เซเลนสกี ใช้สิทธิ์ที่เลยเถิดเกินไป และอาจจัดการเลือกตั้งประธานาธิบดีและรัฐสภายูเครน เพื่อเขี่ยเขาพ้นจากอำนาจในปี 2025 แม้ยังอยู่ระหว่างการทำศึกสงครามก็ตาม . ข้อมูลตามคำกล่าวอ้างของหน่วยข่าวกรองต่างประเทศรัสเซีย ระบุว่ารัสเซียตัดสินใจเริ่มทำงานในขั้นต้นแล้ว โดยมีเป้าหมายสร้างสภาพแวดล้อมต่างๆสำหรับเปิดแคมเปญรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งในยูเครน . ในขั้นแรกของแผนดังกล่าว จะได้เห็นบรรดาเอ็นจีโอที่ได้รับการสนับสนุนทางการเงินจากสหรัฐฯ ใช้โครงสร้างประชาสังคมยูเครนที่อยู่ภายใต้การควบคุมของพวกเขา ผลักดันให้มีการเดินหน้าริเริ่มจัดการเลือกตั้ง . ถ้อยแถลงระบุต่อว่า หลังจากได้รับการสนับสนุนจากประชาชนในวงกว้างแล้ว บรรดาแคนดิเดทที่จะลงสมัครรับเลือกตั้ง จะถูกเลือกภายใต้การประสานงานกับกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ นอกจากนี้แล้วบรรดาผู้สังเกตการณ์การเลือกตั้งนั้น จะเป็นกลุ่มคนที่ได้รับการแต่งตั้งจากเอ็นจีโอทั้งหลาย ที่มีความเกี่ยวข้องกับวอชิงตัน . หน่วยข่าวกรองต่างประเทศแห่งรัสเซีย อ้างด้วยว่าสหรัฐฯได้เริ่มพูดคุยหารือกันในเบื้องต้นกันไปแล้ว สำหรับการจัดตั้งพรรคการเมืองฝักใฝ่อเมริกาพรรคใหม่ในยูเครน นอกเหนือจากบรรดานักเคลื่อนไหวยูเครนที่กินเงินเดือนของพวกเขา . กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯคาดหวังว่าพรรคการเมืองพรรคนี้ จะสามารถผงาดก้าวเข้าสู่รัฐสภา และช่วยทำให้ประธานาธิบดีรายหนึ่งรายใดของยูเครนในอนาคต ยังคงอยู่ภายใต้การควบคุมของอเมริกาต่อไป จากคำกล่าวอ้างของหน่วยข่าวกรองต่างประเทศแห่งรัสเซีย . ทั้งนี้หน่วยข่าวกรองต่างประเทศแห่งรัสเซีย บ่งชี้ว่าความเคลื่อนไหวต่างๆนานาเหล่านี้ เป็นเครื่องพิสูจน์ว่าวาทกรรม "ไม่มีอะไรเกี่ยวกับยูเครน หากปราศจากยูเครน" ที่พวกเจ้าหน้าที่อเมริกามักพูดซ้ำๆตลอดความขัดแย้ง เป็นเพียงแต่คำพูดที่ว่างเปล่า และในความเป็นจริงคือ ชะตากรรมของประเทศนี้และบรรดาผู้นำหุ่นเชิดของพวกเขา จะยังขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของเหล่าเจ้าหน้าที่ระดับสูงในวอชิงตัน . เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว เซเลนสกีขยายกรอบเวลากฎอัยการศึกออกไปอีก และประกาศระดมพลในยูเครนจนถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2025 ถือเป็นการแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องเป็นครั้งที่ 13 แล้ว นับตั้งแต่ความขัดแย้งกับรัสเซีย ลุกลามบานปลายในเดือนกุมภาพันธ์ 2022 . โดนัลด์ ทรัมป์ ว่าที่ประธานาธิบดีสหรัฐฯ ให้สัญญาหลายต่อหลายครั้งระหว่างหาเสียงเลือกตั้ง ว่าจะจบความขัดแย้งระหว่างมอสโกกับเคียฟอย่างรวดเร็ว ขณะที่แหล่งข่าวใกล้ชิดกับทำเนียบประธานาธิบดียูเครน ให้สัมภาษณ์กับสำนักข่าวท้องถิ่นเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว ว่าเซเลนสกี จะไร้ซึ่งอำนาจในการขัดขืนใดๆ หากว่า ทรัมป์ ต้องการให้ผู้นำยูเครนรายนี้ หยุดการสู้รบและเสาะหาสันติภาพกับรัสเซีย . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000108689 .............. Sondhi X
    Like
    Haha
    11
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 912 มุมมอง 0 รีวิว
  • สนธิสัญญาองค์การอนามัยโลก

    ประเทศไทยควรต้องสนใจกับข้อกำหนดสนธิสัญญากับองค์การอนามัยโลก

    รายชื่อคัดค้าน และรายละเอียด สนธิสัญญาขององค์การอนามัยโลกที่ เมื่อตกลง ต้องทำตาม
    อย่าง บิดพริ้วไม่ได้

    ปัจจุบันมีการลงขื่อ 60,000 ราย และ รวมทั้ง มีการคัดค้านจาก สมาพันธ์เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย
    ซึ่งถือว่าเป็นประชาชนรากหญ้าและได้รับผลกระทบ
    อย่างสูงเมื่อการดำรงชีวิต การเข้าถึงยาและสมุนไพรวิถีไทยจะถูกห้าม

    รายละเอียดเหล่านี้ ส่งถึง ท่าน รมต ประธานสภา และ กระทรวง สาธารณสุข
    ตั้งแต่พฤษภาคม 2567 จนถึงปัจจุบันนี้ คนไทยยังไม่ทราบว่าเกิดอะไรขึ้น

    และทางการ และรัฐบาล ควร ต้องชี้แจงให้คนไทยทุกคนทราบ

    และ รัฐบาล ทราบหรือไม่ว่า ควรต้องทำอะไร ทั้งๆที่ประเทศต่างๆทั่วโลกกังวล

    ทั้งนี้ ต้องไม่ลืมว่าประเทศไทยมีทรัพยากรสมุนไพรธรรมชาติที่ใช้กันมาเนิ่นนานแล้ว แต่ถูกด้อยค่าไปตามลำดับ

    และต้องตระหนักว่าสมุนไพรเหล่านี้ปัจจุบันมีการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาเป็นยาและส่งกลับมาขาย ทั้งนี้ไม่ว่าจะเป็นขมิ้นชัน ฟ้าทะลายโจร และตัวอื่นๆ โดยศึกษาในขั้นโมเลกุลและผลตรงกับที่บรรพบุรุษไทยได้จารึกสรรพคุณไว้ตั้งแต่สมัยต้นรัชกาล ด้วยซ้ำ
    ในตำราแพทย์ไทยนั้น

    ยกตัวอย่างเช่นรูปลักษณะของฝีดาษได้บรรยายไว้ 12 ชนิด ซึ่งตรงกับ 12 ไวรัสในตระกูลฝีดาษที่เราทราบกันในปัจจุบัน และมีการระบุสมุนไพรแต่ละประเภทตามความรุนแรงของชนิดฝีดาษ

    ข้อมูลรายละเอียดของการคัดค้าน WHO 24 พค.67
    https://drive.google.com/drive/folders/1GyWC2OcVnUkglL7YUtFRum8S_TqZvmIU

    ความสำคัญของ สนธิสัญญาขององค์การอนามัยโลกต่อภาคีเครือข่ายรวมกระทั่งถึงประเทศไทย
    ถ้าอยู่ภายใต้ สนธิสัญญานี้ จะบิดพริ้วมิได้
    และจะเกิด ผลกระทบติดตามมากมาย หลายเรื่อง เช่น
    1- องค์การอนามัยโลกสามารถประกาศโรคระบาดใดให้เป็น สถานการณ์โรค ระบาดทั้งโลกได้ โดยไม่ต้องฟัง ข้อมูลรายละเอียดจากพื้นที่ให้ครบทุกด้าน
    2- เมื่อประกาศแล้วเราต้องทำตามทุกอย่าง และไม่สามารถทำอะไรที่ควรจะทำได้
    3- วัคซีนต้องฉีดตามองค์การอนามัยโลกสั่ง โดย องค์การอนามัยโลก ไม่ต้อง มีความรับผิดชอบ ถ้าเกิดมีผลข้างเคียง ไม่ว่าจะรุนแรงเท่าใด เพราะถือว่า ได้รับสิทธิ์และถืออำนาจสั่งการได้อย่างสมบูรณ์
    4-ยา ต้องใช้ตามที่สั่งโดยไม่บิดพลิ้ว นั่นคือยาต้องสั่งจากต่างประเทศอย่างเดียว และยาที่ผลิตจากวัตถุดิบจากประเทศในเอเชียจะถูกมองว่าไม่มีประสิทธิภาพไม่ได้มาตรฐานและมีอันตรายทันที หรือไม่
    5- สมุนไพรที่พิสูจน์แล้วว่าใช้ได้ เป็นไปไม่ได้ที่จะมีการใช้และจะมีการออกประกาศโดยกระทรวงทบวงกรมสถาบันโรงเรียนแพทย์โดยถือว่าเป็นคำสั่งหรือข้อแนะนำจากองค์การอนามัยโลกและผ่านมาทาง อย สหรัฐ ศูนย์ควบคุมป้องกันโรคของสหรัฐ
    6- สามารถที่จะเซ็นเซอร์ทุกอย่างได้ที่เกี่ยวกับข้อมูลที่ควรจะเป็น ไม่ว่าเป็นผลข้างเคียงผลแทรกซ้อนของวัคซีนและยาที่องค์การอนามัยโลกสั่ง
    ประชาชนไม่สามารถสื่อสารการใช้ยาที่คนไทยใช้อยู่แล้วในพื้นที่ และมีหน่วยงานที่เซ็นเซอร์โดยจัดให้เป็นข้อมูลเท็จ misinformation ผ่านทางหน่วยงานของรัฐ จากองค์กร และสู่ประชาชนทั้งประเทศให้เชื่อฟัง

    ทั้งนี้จะมีหน่วยงานที่สอดส่องโดยใช้ปัญญาประดิษฐ์และทำการถอดถอนข้อมูล ดิสเครดิต ผู้ที่ให้ข้อมูลทันที มีหน่วยงานลักษณะนี้ รวมทั้งกระทรวงของรัฐที่ทำตามกระบวนการนี้

    สิ่งที่กล่าวนี้เกิดขึ้นแล้ว ในช่วงโควิด และเป็นที่ประจักษ์ในเรื่องของผลกระทบผลข้างเคียง ของสิ่งที่ฉีด

    โดยที่ทางการของประเทศ ไทยเองประกาศทั่วประเทศเมื่อต้นปี 2567 ว่า
    ผลกระทบร้ายแรงและถึงแก่ชีวิตทั้งประเทศมีเพียงห้าราย
    โดยที่ตัวเลขห้ารายนี้ จะเทียบกับหนึ่งในล้าน ซึ่ง
    เป็นตัวเลขที่ยอมรับได้ตามประกาศขององค์การอนามัยโลก
    ทั้งๆที่รายอื่นเป็น 10,000 เป็น 100,000 ถูกปัดว่าไม่มีความเกี่ยวข้อง และถึงกระทั่งให้หาข้อพิสูจน์มา เอง โดยที่การพิสูจน์ หรือชันสูตรศพ ทาง วิทยาศาสตร์นั้นต้องการทุนไม่ต่ำกว่า 500,000 บาท

    สิ่งเหล่านี้ปรากฏขึ้นแล้วและจะรุนแรงขึ้นอีกหลายเท่าถ้าตกอยู่ในสนธิสัญญานี้

    วัคซีนในปัจจุบันและต่อจากนี้ในมนุษย์และสัตว์ใช้เทคโนโลยี ที่ใช้กับโควิด ทั้งนี้โดยอ้างว่า ได้ใช้กับประชาชนทั่วโลกแล้วและผลกระทบไม่ได้เกิดจากวัคซีน

    นสพ มติชน ฉบับพิมพ์
    ท็อล์กออฟเดอะทาวน์
    10 พย 2567

    กระบวนการรวบรวมรายชื่อคัดค้านและนำส่งทางการของประเทศไทยโดยกลุ่มแพทย์และประชาชนไทยพิทักษ์สิทธิ์

    รวบรวมข้อมูลโดย
    ศ นพ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา
    ที่ปรึกษาวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก
    มหาวิทยาลัยรังสิต
    สนธิสัญญาองค์การอนามัยโลก ประเทศไทยควรต้องสนใจกับข้อกำหนดสนธิสัญญากับองค์การอนามัยโลก รายชื่อคัดค้าน และรายละเอียด สนธิสัญญาขององค์การอนามัยโลกที่ เมื่อตกลง ต้องทำตาม อย่าง บิดพริ้วไม่ได้ ปัจจุบันมีการลงขื่อ 60,000 ราย และ รวมทั้ง มีการคัดค้านจาก สมาพันธ์เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย ซึ่งถือว่าเป็นประชาชนรากหญ้าและได้รับผลกระทบ อย่างสูงเมื่อการดำรงชีวิต การเข้าถึงยาและสมุนไพรวิถีไทยจะถูกห้าม รายละเอียดเหล่านี้ ส่งถึง ท่าน รมต ประธานสภา และ กระทรวง สาธารณสุข ตั้งแต่พฤษภาคม 2567 จนถึงปัจจุบันนี้ คนไทยยังไม่ทราบว่าเกิดอะไรขึ้น และทางการ และรัฐบาล ควร ต้องชี้แจงให้คนไทยทุกคนทราบ และ รัฐบาล ทราบหรือไม่ว่า ควรต้องทำอะไร ทั้งๆที่ประเทศต่างๆทั่วโลกกังวล ทั้งนี้ ต้องไม่ลืมว่าประเทศไทยมีทรัพยากรสมุนไพรธรรมชาติที่ใช้กันมาเนิ่นนานแล้ว แต่ถูกด้อยค่าไปตามลำดับ และต้องตระหนักว่าสมุนไพรเหล่านี้ปัจจุบันมีการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาเป็นยาและส่งกลับมาขาย ทั้งนี้ไม่ว่าจะเป็นขมิ้นชัน ฟ้าทะลายโจร และตัวอื่นๆ โดยศึกษาในขั้นโมเลกุลและผลตรงกับที่บรรพบุรุษไทยได้จารึกสรรพคุณไว้ตั้งแต่สมัยต้นรัชกาล ด้วยซ้ำ ในตำราแพทย์ไทยนั้น ยกตัวอย่างเช่นรูปลักษณะของฝีดาษได้บรรยายไว้ 12 ชนิด ซึ่งตรงกับ 12 ไวรัสในตระกูลฝีดาษที่เราทราบกันในปัจจุบัน และมีการระบุสมุนไพรแต่ละประเภทตามความรุนแรงของชนิดฝีดาษ ข้อมูลรายละเอียดของการคัดค้าน WHO 24 พค.67 https://drive.google.com/drive/folders/1GyWC2OcVnUkglL7YUtFRum8S_TqZvmIU ความสำคัญของ สนธิสัญญาขององค์การอนามัยโลกต่อภาคีเครือข่ายรวมกระทั่งถึงประเทศไทย ถ้าอยู่ภายใต้ สนธิสัญญานี้ จะบิดพริ้วมิได้ และจะเกิด ผลกระทบติดตามมากมาย หลายเรื่อง เช่น 1- องค์การอนามัยโลกสามารถประกาศโรคระบาดใดให้เป็น สถานการณ์โรค ระบาดทั้งโลกได้ โดยไม่ต้องฟัง ข้อมูลรายละเอียดจากพื้นที่ให้ครบทุกด้าน 2- เมื่อประกาศแล้วเราต้องทำตามทุกอย่าง และไม่สามารถทำอะไรที่ควรจะทำได้ 3- วัคซีนต้องฉีดตามองค์การอนามัยโลกสั่ง โดย องค์การอนามัยโลก ไม่ต้อง มีความรับผิดชอบ ถ้าเกิดมีผลข้างเคียง ไม่ว่าจะรุนแรงเท่าใด เพราะถือว่า ได้รับสิทธิ์และถืออำนาจสั่งการได้อย่างสมบูรณ์ 4-ยา ต้องใช้ตามที่สั่งโดยไม่บิดพลิ้ว นั่นคือยาต้องสั่งจากต่างประเทศอย่างเดียว และยาที่ผลิตจากวัตถุดิบจากประเทศในเอเชียจะถูกมองว่าไม่มีประสิทธิภาพไม่ได้มาตรฐานและมีอันตรายทันที หรือไม่ 5- สมุนไพรที่พิสูจน์แล้วว่าใช้ได้ เป็นไปไม่ได้ที่จะมีการใช้และจะมีการออกประกาศโดยกระทรวงทบวงกรมสถาบันโรงเรียนแพทย์โดยถือว่าเป็นคำสั่งหรือข้อแนะนำจากองค์การอนามัยโลกและผ่านมาทาง อย สหรัฐ ศูนย์ควบคุมป้องกันโรคของสหรัฐ 6- สามารถที่จะเซ็นเซอร์ทุกอย่างได้ที่เกี่ยวกับข้อมูลที่ควรจะเป็น ไม่ว่าเป็นผลข้างเคียงผลแทรกซ้อนของวัคซีนและยาที่องค์การอนามัยโลกสั่ง ประชาชนไม่สามารถสื่อสารการใช้ยาที่คนไทยใช้อยู่แล้วในพื้นที่ และมีหน่วยงานที่เซ็นเซอร์โดยจัดให้เป็นข้อมูลเท็จ misinformation ผ่านทางหน่วยงานของรัฐ จากองค์กร และสู่ประชาชนทั้งประเทศให้เชื่อฟัง ทั้งนี้จะมีหน่วยงานที่สอดส่องโดยใช้ปัญญาประดิษฐ์และทำการถอดถอนข้อมูล ดิสเครดิต ผู้ที่ให้ข้อมูลทันที มีหน่วยงานลักษณะนี้ รวมทั้งกระทรวงของรัฐที่ทำตามกระบวนการนี้ สิ่งที่กล่าวนี้เกิดขึ้นแล้ว ในช่วงโควิด และเป็นที่ประจักษ์ในเรื่องของผลกระทบผลข้างเคียง ของสิ่งที่ฉีด โดยที่ทางการของประเทศ ไทยเองประกาศทั่วประเทศเมื่อต้นปี 2567 ว่า ผลกระทบร้ายแรงและถึงแก่ชีวิตทั้งประเทศมีเพียงห้าราย โดยที่ตัวเลขห้ารายนี้ จะเทียบกับหนึ่งในล้าน ซึ่ง เป็นตัวเลขที่ยอมรับได้ตามประกาศขององค์การอนามัยโลก ทั้งๆที่รายอื่นเป็น 10,000 เป็น 100,000 ถูกปัดว่าไม่มีความเกี่ยวข้อง และถึงกระทั่งให้หาข้อพิสูจน์มา เอง โดยที่การพิสูจน์ หรือชันสูตรศพ ทาง วิทยาศาสตร์นั้นต้องการทุนไม่ต่ำกว่า 500,000 บาท สิ่งเหล่านี้ปรากฏขึ้นแล้วและจะรุนแรงขึ้นอีกหลายเท่าถ้าตกอยู่ในสนธิสัญญานี้ วัคซีนในปัจจุบันและต่อจากนี้ในมนุษย์และสัตว์ใช้เทคโนโลยี ที่ใช้กับโควิด ทั้งนี้โดยอ้างว่า ได้ใช้กับประชาชนทั่วโลกแล้วและผลกระทบไม่ได้เกิดจากวัคซีน นสพ มติชน ฉบับพิมพ์ ท็อล์กออฟเดอะทาวน์ 10 พย 2567 กระบวนการรวบรวมรายชื่อคัดค้านและนำส่งทางการของประเทศไทยโดยกลุ่มแพทย์และประชาชนไทยพิทักษ์สิทธิ์ รวบรวมข้อมูลโดย ศ นพ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ที่ปรึกษาวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต
    Like
    Love
    13
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 671 มุมมอง 0 รีวิว
  • โฉมหน้าเจ้าตัวร้าย
    “กฤษฎีกากัมพูชา 1972”
    รุกล้ำอธิปไตยเกาะ/น่านน้ำไทย !
    ________
    .
    ใครที่บอกว่ากัมพูชาไม่เคย ”พูด“ อ้างกรรมสิทธิเหนือเกาะกูด และบรรดาคนไทยที่นำเรื่องนี้มาเป็นประเด็นคือพวกคลั่งชาติ ลองพิจารณาอ่านเรื่องนี้สักนิด…
    .
    กัมพูชาอาจจะไม่เคย ”พูด“ อย่างเป็นทางการในนามรัฐบาล ไม่ว่าในยุคไหนระบอบอะไร แต่กัมพูชาลงมือ “ทำ” เลยอย่างไม่มีปี่ไม่มีขลุ่ยเมื่อ 52 ปีก่อนในช่วงสั้น ๆ ของรัฐบาลระบอบสาธารณรัฐ
    .
    และ “ผลแห่งการกระทำ” นั้นยังคงอยู่ !
    .
    “กฤษฎีกาที่ 439/72/PRK กำหนดเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย ค.ศ. 1972”
    .
    วันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1972
    .
    จอมพลลอนนอลลงนามในฐานะประธานาธิบดีสาธารณรัฐกัมพูชา หลังรัฐประหารโค่นล้มระบอบกษัตริย์ 2 ปี และก่อนพนมเปญแตกพ่ายแพ้ต่อคอมมิวนิสต์เขมรแดง 3 ปี
    .
    สารัตถะสำคัญอยู่ในมาตราแรก (Article Premier) ผมสรุปมาจากที่ดร.ประจิตต์ โรจนพฤกษ์เขียนไว้ในบทความของท่านเมื่อปี 2554 รวมทั้งการเสวนาที่สยามสมาคมในปีเดียวกันนั้น
    .
    วรรคแรกเป็นการอ้างฐานทางกฎหมาย
    .
    (1) อนุสัญญาเจนีวาว่าด้วยไหล่ทวีปลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958
    .
    (2) สนธิสัญญาสยามฝรั่งเศสลงวันที่ 23 มีนาคม ค.ศ. 1907 และ…
    .
    (3) บันทึกการปักปันเขตแดนสยามฝรั่งเศสลงวันที่ 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1908 รวมทั้ง…
    .
    (4) แผนที่เดินเรือของฝรั่งเศส 1972 มาตราส่วน 1:1,096,000
    .
    กฤษฎีกา 1972 ระบุพิกัดของเขตไหล่ทวีปตามจุดอ้างอิงที่เกี่ยวกับ “เกาะกูด” รวมทั้ง “ทะเลอาณาเขต(ของไทย)“ โดยตรง
    .
    โดยในวรรคสอง (ย่อหน้าล่างสุดของกฤษฎีกาหน้าแรก) กล่าวว่าได้มีการปักปันเขตไหล่ทวีประหว่างไทยกับฝรั่งเศสแล้ว โดยทางทิศเหนือ ใช้เส้นตรงเชื่อมจุดชายแดนแผ่นดินที่จุด “A” (ทำให้เข้าใจได้ว่าเป็นที่ตั้งหลักเขตที่ 73) มายังจุดสูงสุดบนเกาะกูดที่เรียกว่าจุด “S” (ทำให้เข้าใจได้ว่าเป็นการอ้างอิงจากหนังสือแนบท้ายสนธิสัญญาสยามฝรั่งเศส ค.ศ. 1907 ข้อ 1) และลากต่อออกทะเลไปยังกึ่งกลางอ่าวไทยที่เรียกว่าจุด “P”
    .
    โดยในตารางท้ายมาตราแรก (อยู่ตอนต้นของกฤษฎีกาหน้า 2) ได้กำหนดรายละเอียดของจุด “A“ และ “P” ไว้
    .
    จุด ”A” คือจุดใต้สุดของการแบ่งเขตแดนทางบกตามสนธิสัญญาค.ศ. 1907 ก็คือหลักเขตที่ 73 นั่นเอง
    .
    จุด “P” กึ่งกลางอ่าวไทยนั้น กฤษฎีการะบุว่าเป็นจุดมัธยะ (หรือกึ่งกลาง) ระหว่างไหล่ทวีปของกัมพูชากับไทย
    .
    มาตราแรกโดยเฉพาะวรรคสองนี่แหละ “เท็จ” โดยสิ้นเชิง
    .
    เพราะไม่เคยมีการปักปันเขตแดนทางทะเลระหว่างสยามกับอินโดจีนของฝรั่งเศสกันมาก่อน โดยเฉพาะในช่วงค.ศ. 1907 หรือ 1908 ไม่เคยมีสนธิสัญญาเกี่ยวกับการนี้ ประวัติศาสตร์ฉบับไหนก็ไม่เคยระบุ กฎหมายระหว่างประเทศหรือกฎเกณฑ์เกี่ยวกับอาณาเขตทางทะเลที่นานาชาติยึดถือกันเมื่อ 127 ปีก่อนก็ต่างกับปัจจุบัน ยุคนั้นยังไม่มีสิ่งที่นานาชาติกำหนดอาณาเขตทางทะเลขึ้นมาให้รัฐชายฝั่งมีสิทธิอธิปไตยเหนือแล้วเรียกว่า “ไหล่ทวีป” เสียด้วยซ้ำ ไม่มีเขตต่อเนื่อง ไม่มีเขตเศรษฐกิจจำเพาะ มีแค่ทะเลอาณาเขตระยะ 3 ไมล์ทะเลจากชายฝั่ง พ้นออกมาเป็นเขตทะเลหลวงที่เป็นเขตทะเลเสรีไม่มีประเทศใดมีสิทธิถือครองเป็นเจ้าของได้
    .
    แต่สมมติแม้จะยึดกฎเกณฑ์ในยุคสมัยค.ศ. 1907 หากจะปักปันเขตแดนทางทะเลกัน การขีดเส้นแนว “A-S-P” เป็นอาณาเขตทางทะเลของอินโดจีนฝรั่งเศสก็ไม่ถูกและไม่มีกฎเกณฑ์ใดรองรับอยู่ดี เพราะระยะทางจากชายฝั่งถึงเกาะกูดประมาณ 19 ไมล์ทะเล เกิน 3 ไมล์ทะเลตั้งเยอะ อินโดจีนฝรั่งเศสจะไปถือสิทธิครอบครองเขตทะเลหลวงได้อย่างไร
    .
    การจงใจระบุพิกัดเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาเมื่อค.ศ. 1972 เช่นนี้คือการกระทำที่ละเมิดอธิปไตยไทยเหนือเกาะกูด ทั้งตัวเกาะ และทะเลอาณาเขต
    .
    ดร.ประจิตต์ โรจนพฤกษ์ กล่าวไว้ในงานเขียนของท่านว่าเป็นไปไม่ได้ที่จะมีการแบ่งเขตไหล่ทวีปโดยเส้นผ่าเกาะกูดซึ่งเป็นดินแดนทางบก เพราะไหล่ทวีปหมายถึงพื้นดินใต้ทะเลและใต้พื้นดินใต้ทะเล
    .
    ดังนั้น โอกาสที่แนว “A-S-P” จะถูกต้องมีอยู่เงื่อนไขเดียวเท่านั้น…
    .
    คือตัวเกาะกูดต้องเป็นของกัมพูชาครึ่งหนึ่ง !
    .
    ขอย้ำอีกครั้งว่า แนว “A-S-P” อันเป็นเส้นเขตไหล่ทวีปด้านเหนือของกัมพูชาตามกฤษฎีกา 1972 จะถูกต้องก็ต่อเมื่อตัวเกาะกูดเป็นของกัมพูชาครึ่งหนึ่งเท่านั้น !!
    .
    แล้วประเทศไทยผู้ถูกรุกล้ำอธิปไตยจะ “ยอมรับ” ได้อย่างไร ?
    .
    แม้จะไม่ใช่การยอมรับใน “ความถูกต้อง” แค่ยอมรับ “การมีอยู่”, “การคงอยู่” เพื่อเป็นเพียง “กรอบ” ในการ “เจรจาเรื่องอื่น” ก็เถอะ !!
    .
    ตรงนี้จำเป็นต้องมีการพูดถึงแผนที่หรือแผนผัง 2 (+1) ฉบับที่นำมาลงเป็นภาพประกอบไว้
    .
    ฉบับที่ 1 คือแผนที่เดินเรือฝรั่งเศสที่ใช้แนบท้ายกฤษฎีกา 1972 ไม่ได้มีการเขียนลากเส้นบนแผนที่พาดผ่านตัวเกาะกูดโดยตรง หากแต่ลากเป็นเส้นตรงออกมาจากชายฝั่งทะเลจังหวัดตราดสุดเขตแดนทางบกของไทยกับกัมพูชามาหยุดที่ตัวเกาะกูดด้านทิศตะวันออก แล้วลากเส้นตรงใหม่จากตัวเกาะกูดด้านทิศตะวันตกตรงไปกลางอ่าวไทย แผนที่ทำนองนี้โดยทั่วไปเป็นแผนที่ใช้สำหรับกิจการในกองทัพเรือรวมถึงการเดินเรือไม่ใช่แผนที่แสดงเขตแดนใด ๆ ทั้งสิ้น เส้นตรงที่ลากผ่านเกาะกูดไปยังกลางอ่าวไทยในแผนที่นี้ก็ไม่ได้ระบุว่าเป็นเส้นอะไร แต่กระนั้นตรงชื่อเกาะกูด (Koh Kut) ก็ยังมีวงเล็บต่อท้ายว่า “(Siam)” อย่างที่พอเห็นได้ จึงแสดงให้เห็นว่าในปีค.ศ. 1907 จนกระทั่งถึงวันคืนเอกราชให้ 3 ประเทศอินโดจีน ฝรั่งเศสไม่ได้มีความพยายาม “เคลม” กรรมสิทธิ์เหนือเกาะกูดแต่ประการใด เพราะในสนธิสัญญา 1907 ข้อ 2 อันเป็นสัญญาหลัก ระบุไว้ชัดเจนแล้วว่าเขายกให้เรา แลกกับ 3 มณฑลใหญ่ของกัมพูชาดังที่ทราบกันดี
    .
    ฉบับที่ 2 เป็นแผนที่ที่กระทรวงการต่างประเทศกัมพูชาจัดทำขึ้นแจกแก่ผู้สื่อข่าวเพื่อชี้แจงกฤษฎีกา 1972 ให้ชัดเจนขึ้น คราวนี้นอกจากตัดรายละเอียดที่ไม่จำเป็นออกไปเพื่อขับเน้นเฉพาะเส้นที่เสกสรรค์ปั้นแต่งว่าเป็นเขตไหล่ทวีปของตนแล้ว ยังเขียนเส้นพาดผ่านผ่ากลางแบ่งครึ่งเกาะกูดโดยตรง
    .
    แผนที่ฉบับหลังนี้เข้าใจว่าเมื่อกระทรวงการต่างประเทศไทยได้รับ ก็นำมาทำใหม่เพื่อประกอบการศึกษาภายใน มีภาษาไทยกำกับ ยังคงแสดงเส้นพาดผ่านผ่ากลางแบ่งครึ่งเกาะกูดโดยตรงตามเจตนาของต้นฉบับที่ฝ่ายกันพูชาจัดทำ
    .
    เช่นนี้แล้ว ใครที่ออกตัวรับรองว่ากัมพูชาไม่เคย “พูด” ไม่เคยอ้างสิทธิเหนือเกาะกูดน่ะจะว่าอย่างไร ?
    .
    เพราะการที่กัมพูชาลงมือ “ทำ” โดยกฤษฎีกา 1972 ตามที่เล่ามานี้มันยิ่งกว่า “พูด” เสียอีก !
    .
    ไม่เคยได้ยินภาษิตที่ว่า “การกระทำดังกว่าคำพูด” หรือ ?!!
    .
    ณ ปีค.ศ. 1907 มีแต่การปักปันเขตแดนทางบกระหว่างสยามกับอินโดจีนฝรั่งเศส
    .
    แต่แน่ละ มีการกล่าวถึงเกาะกูดไว้ในหนังสือติดท้ายสนธิสัญญา ค.ศ. 1907 ข้อ 1 จริง แต่ก็เพียงเพื่อใช้เป็นจุดเล็งไปยังจุดใดจุดหนึ่งบนแผ่นดินชายหาดที่จะกำหนดให้ป็นหลักเขตที่ 73 เพราะบนแผ่นดินชายหาดบริเวณนั้นไม่มีภูมิประเทศใดที่ยั่งยืนพอให้เป็นที่สังเกตได้
    .
    “เขตแดนในระหว่างกรุงสยามกับอินโดจีนฝรั่งเศสนั้น ตั้งแต่ชายทะเลที่ตรงข้ามกับยอดเขาสูงที่สุดของเกาะกูดเป็นหลักแล้ว ตั้งแต่นี้ต่อไปทางตะวันออกเฉียงเหนือถึงสันเขาพนมกระวาน….“
    .
    แค่ข้อความที่ระบุว่า “ตั้งแต่ชายทะเล…” วิญญูชนย่อมเข้าใจได้ว่าหมายถึงแผ่นดิน-ไม่ใช่ทะเล แต่กัมพูชาในยุคจอมพลลอนนอลในปีค.ศ. 1972 ไปตีขลุมว่ามีการปักปันเขตแดนทางทะเลแล้วในอดีต แล้วก็ตีเส้นตามอำเภอใจ เพื่อตีกินพื้นที่ทรัพยากรในอ่าวไทย
    .
    โดยในอีกทางหนึ่งก็ไปหยิบเอา ”เส้นประ“ (- - - - - - -) ระหว่างเกาะกูดกับแผ่นดินชายหาดจังหวัดตราดในแผนที่ประกอบหนังสือติดท้ายสนธิสัญญาค.ศ. 1907 มาเป็นประเด็นอธิบายการแถระดับโลกของตัวเอง
    .
    หากดูภาพสุดท้ายจะพบมีเส้น ++++++ อันเป็นสัญลักษณ์สากลของเส้นแบ่งเขตแดน (boundary line) ตลอดแนวเขตแดนทางบกไทยกัมพูชา ขณะที่เส้นประ (dotted line) - - - - - - มีอยู่เพียงสั้น ๆ ระหว่างเกาะกูดกับแผ่นดินชายทะเลจังหวัดตราดเท่านั้น ซึ่งเมื่อดูในบริบทของสนธิสัญญาสยามฝรั่งเศส ค.ศ. 1907 วิญญูชนก็ย่อมเข้าใจได้ไม่ยากอีกเช่นกันว่าเป็นการแสดงจุดเล็งไปยังแผ่นดินเพื่อหาจุดที่ตั้งหลักเขตที่ 73
    .
    การแถดังกล่าวกลายเป็นกรณีศึกษาทางวิชาการกันพอสมควรหลังปีค.ศ. 1972 และก็มีการยืนยันในข้อเท็จจริงแล้วอย่างมีนัยสำคัญ โดยเฉพาะจากบุคคลระดับชนชั้นนำของกัมพูชาเอง
    .
    ไม่ว่าจะอย่างไรก็ตาม ขอย้ำว่ากฤษฎีกา 1972 ของกัมพูชานี้ยังคงดำรงอยู่จนถึงปัจจุบัน ในฐานะที่เป็นประกาศของประมุขแห่งรัฐ
    .
    การที่แผนผังแนบท้าย MOU 2544 มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญ คือเส้นแนว “A-S-P” กำหนดเขตไหล่ทวีปด้านบนของกัมพูชาไม่ได้เขียนแบบลากพาดผ่าน หรือเขียนแบบหยุดเว้นตัวเกาะ แต่เขียนประชิดติดตัวเกาะเว้าเป็นรูปตัว ”U” ทางทิศใต้แล้วก็ตาม นั่นหาเป็นผลแปรเปลี่ยนใด ๆ ไม่ เพราะด้านหนึ่งตัวกฤษฎีกา 1972 ยังคงอยู่ อีกด้านหนึ่งแนวเส้น “A-S-P” ยังคงอยู่ การละเมิดอธิปไตยเหนือตัวเกาะกูดและทะเลอาณาเขตของไทยยังคงอยู่
    .
    มีหนำซ้ำเนื้อหาใน MOU 2544 ข้อ 5 ก็ระบุไว้ว่าการตกลงใด ๆ หากจะมีขึ้นไม่กระทบกระเทือนการอ้างสิทธิของแต่ละฝ่าย
    .
    พระอัจฉริยภาพและพระมหากรุณาธิคุณต่อคนไทยจังหวัดจันทบุรีและตราดในองค์พระปิยมหาราชเจ้าช่วงวิกฤตกับฝรั่งเศสระหว่าง ร.ศ. 112 - 125 ทำให้ประเทศไทย ณ วันนี้มีฝั่งทะเลตะวันออกด้านอ่าวไทยยาวเหยียดจนแทบจะโอบล้อมแหล่งทรัพยากรไว้ได้ทั้งหมด - คนไทยต้องรักษาไว้
    .
    ประกาศพระบรมราชโองการกำหนดเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 ของล้นเกล้าฯในหลวงรัชกาลที่ 9 สืบทอดพระราชปณิธานของสมเด็จพระอัยกา - คนไทยต้องรักษาไว้
    .
    .
    คำนูณ สิทธิสมาน
    4 พฤศจิกายน 2567

    ที่มา https://www.facebook.com/share/p/15CSsZXGkk/?mibextid=CTbP7E

    #Thaitimes
    โฉมหน้าเจ้าตัวร้าย “กฤษฎีกากัมพูชา 1972” รุกล้ำอธิปไตยเกาะ/น่านน้ำไทย ! ________ . ใครที่บอกว่ากัมพูชาไม่เคย ”พูด“ อ้างกรรมสิทธิเหนือเกาะกูด และบรรดาคนไทยที่นำเรื่องนี้มาเป็นประเด็นคือพวกคลั่งชาติ ลองพิจารณาอ่านเรื่องนี้สักนิด… . กัมพูชาอาจจะไม่เคย ”พูด“ อย่างเป็นทางการในนามรัฐบาล ไม่ว่าในยุคไหนระบอบอะไร แต่กัมพูชาลงมือ “ทำ” เลยอย่างไม่มีปี่ไม่มีขลุ่ยเมื่อ 52 ปีก่อนในช่วงสั้น ๆ ของรัฐบาลระบอบสาธารณรัฐ . และ “ผลแห่งการกระทำ” นั้นยังคงอยู่ ! . “กฤษฎีกาที่ 439/72/PRK กำหนดเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย ค.ศ. 1972” . วันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1972 . จอมพลลอนนอลลงนามในฐานะประธานาธิบดีสาธารณรัฐกัมพูชา หลังรัฐประหารโค่นล้มระบอบกษัตริย์ 2 ปี และก่อนพนมเปญแตกพ่ายแพ้ต่อคอมมิวนิสต์เขมรแดง 3 ปี . สารัตถะสำคัญอยู่ในมาตราแรก (Article Premier) ผมสรุปมาจากที่ดร.ประจิตต์ โรจนพฤกษ์เขียนไว้ในบทความของท่านเมื่อปี 2554 รวมทั้งการเสวนาที่สยามสมาคมในปีเดียวกันนั้น . วรรคแรกเป็นการอ้างฐานทางกฎหมาย . (1) อนุสัญญาเจนีวาว่าด้วยไหล่ทวีปลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 . (2) สนธิสัญญาสยามฝรั่งเศสลงวันที่ 23 มีนาคม ค.ศ. 1907 และ… . (3) บันทึกการปักปันเขตแดนสยามฝรั่งเศสลงวันที่ 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1908 รวมทั้ง… . (4) แผนที่เดินเรือของฝรั่งเศส 1972 มาตราส่วน 1:1,096,000 . กฤษฎีกา 1972 ระบุพิกัดของเขตไหล่ทวีปตามจุดอ้างอิงที่เกี่ยวกับ “เกาะกูด” รวมทั้ง “ทะเลอาณาเขต(ของไทย)“ โดยตรง . โดยในวรรคสอง (ย่อหน้าล่างสุดของกฤษฎีกาหน้าแรก) กล่าวว่าได้มีการปักปันเขตไหล่ทวีประหว่างไทยกับฝรั่งเศสแล้ว โดยทางทิศเหนือ ใช้เส้นตรงเชื่อมจุดชายแดนแผ่นดินที่จุด “A” (ทำให้เข้าใจได้ว่าเป็นที่ตั้งหลักเขตที่ 73) มายังจุดสูงสุดบนเกาะกูดที่เรียกว่าจุด “S” (ทำให้เข้าใจได้ว่าเป็นการอ้างอิงจากหนังสือแนบท้ายสนธิสัญญาสยามฝรั่งเศส ค.ศ. 1907 ข้อ 1) และลากต่อออกทะเลไปยังกึ่งกลางอ่าวไทยที่เรียกว่าจุด “P” . โดยในตารางท้ายมาตราแรก (อยู่ตอนต้นของกฤษฎีกาหน้า 2) ได้กำหนดรายละเอียดของจุด “A“ และ “P” ไว้ . จุด ”A” คือจุดใต้สุดของการแบ่งเขตแดนทางบกตามสนธิสัญญาค.ศ. 1907 ก็คือหลักเขตที่ 73 นั่นเอง . จุด “P” กึ่งกลางอ่าวไทยนั้น กฤษฎีการะบุว่าเป็นจุดมัธยะ (หรือกึ่งกลาง) ระหว่างไหล่ทวีปของกัมพูชากับไทย . มาตราแรกโดยเฉพาะวรรคสองนี่แหละ “เท็จ” โดยสิ้นเชิง . เพราะไม่เคยมีการปักปันเขตแดนทางทะเลระหว่างสยามกับอินโดจีนของฝรั่งเศสกันมาก่อน โดยเฉพาะในช่วงค.ศ. 1907 หรือ 1908 ไม่เคยมีสนธิสัญญาเกี่ยวกับการนี้ ประวัติศาสตร์ฉบับไหนก็ไม่เคยระบุ กฎหมายระหว่างประเทศหรือกฎเกณฑ์เกี่ยวกับอาณาเขตทางทะเลที่นานาชาติยึดถือกันเมื่อ 127 ปีก่อนก็ต่างกับปัจจุบัน ยุคนั้นยังไม่มีสิ่งที่นานาชาติกำหนดอาณาเขตทางทะเลขึ้นมาให้รัฐชายฝั่งมีสิทธิอธิปไตยเหนือแล้วเรียกว่า “ไหล่ทวีป” เสียด้วยซ้ำ ไม่มีเขตต่อเนื่อง ไม่มีเขตเศรษฐกิจจำเพาะ มีแค่ทะเลอาณาเขตระยะ 3 ไมล์ทะเลจากชายฝั่ง พ้นออกมาเป็นเขตทะเลหลวงที่เป็นเขตทะเลเสรีไม่มีประเทศใดมีสิทธิถือครองเป็นเจ้าของได้ . แต่สมมติแม้จะยึดกฎเกณฑ์ในยุคสมัยค.ศ. 1907 หากจะปักปันเขตแดนทางทะเลกัน การขีดเส้นแนว “A-S-P” เป็นอาณาเขตทางทะเลของอินโดจีนฝรั่งเศสก็ไม่ถูกและไม่มีกฎเกณฑ์ใดรองรับอยู่ดี เพราะระยะทางจากชายฝั่งถึงเกาะกูดประมาณ 19 ไมล์ทะเล เกิน 3 ไมล์ทะเลตั้งเยอะ อินโดจีนฝรั่งเศสจะไปถือสิทธิครอบครองเขตทะเลหลวงได้อย่างไร . การจงใจระบุพิกัดเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาเมื่อค.ศ. 1972 เช่นนี้คือการกระทำที่ละเมิดอธิปไตยไทยเหนือเกาะกูด ทั้งตัวเกาะ และทะเลอาณาเขต . ดร.ประจิตต์ โรจนพฤกษ์ กล่าวไว้ในงานเขียนของท่านว่าเป็นไปไม่ได้ที่จะมีการแบ่งเขตไหล่ทวีปโดยเส้นผ่าเกาะกูดซึ่งเป็นดินแดนทางบก เพราะไหล่ทวีปหมายถึงพื้นดินใต้ทะเลและใต้พื้นดินใต้ทะเล . ดังนั้น โอกาสที่แนว “A-S-P” จะถูกต้องมีอยู่เงื่อนไขเดียวเท่านั้น… . คือตัวเกาะกูดต้องเป็นของกัมพูชาครึ่งหนึ่ง ! . ขอย้ำอีกครั้งว่า แนว “A-S-P” อันเป็นเส้นเขตไหล่ทวีปด้านเหนือของกัมพูชาตามกฤษฎีกา 1972 จะถูกต้องก็ต่อเมื่อตัวเกาะกูดเป็นของกัมพูชาครึ่งหนึ่งเท่านั้น !! . แล้วประเทศไทยผู้ถูกรุกล้ำอธิปไตยจะ “ยอมรับ” ได้อย่างไร ? . แม้จะไม่ใช่การยอมรับใน “ความถูกต้อง” แค่ยอมรับ “การมีอยู่”, “การคงอยู่” เพื่อเป็นเพียง “กรอบ” ในการ “เจรจาเรื่องอื่น” ก็เถอะ !! . ตรงนี้จำเป็นต้องมีการพูดถึงแผนที่หรือแผนผัง 2 (+1) ฉบับที่นำมาลงเป็นภาพประกอบไว้ . ฉบับที่ 1 คือแผนที่เดินเรือฝรั่งเศสที่ใช้แนบท้ายกฤษฎีกา 1972 ไม่ได้มีการเขียนลากเส้นบนแผนที่พาดผ่านตัวเกาะกูดโดยตรง หากแต่ลากเป็นเส้นตรงออกมาจากชายฝั่งทะเลจังหวัดตราดสุดเขตแดนทางบกของไทยกับกัมพูชามาหยุดที่ตัวเกาะกูดด้านทิศตะวันออก แล้วลากเส้นตรงใหม่จากตัวเกาะกูดด้านทิศตะวันตกตรงไปกลางอ่าวไทย แผนที่ทำนองนี้โดยทั่วไปเป็นแผนที่ใช้สำหรับกิจการในกองทัพเรือรวมถึงการเดินเรือไม่ใช่แผนที่แสดงเขตแดนใด ๆ ทั้งสิ้น เส้นตรงที่ลากผ่านเกาะกูดไปยังกลางอ่าวไทยในแผนที่นี้ก็ไม่ได้ระบุว่าเป็นเส้นอะไร แต่กระนั้นตรงชื่อเกาะกูด (Koh Kut) ก็ยังมีวงเล็บต่อท้ายว่า “(Siam)” อย่างที่พอเห็นได้ จึงแสดงให้เห็นว่าในปีค.ศ. 1907 จนกระทั่งถึงวันคืนเอกราชให้ 3 ประเทศอินโดจีน ฝรั่งเศสไม่ได้มีความพยายาม “เคลม” กรรมสิทธิ์เหนือเกาะกูดแต่ประการใด เพราะในสนธิสัญญา 1907 ข้อ 2 อันเป็นสัญญาหลัก ระบุไว้ชัดเจนแล้วว่าเขายกให้เรา แลกกับ 3 มณฑลใหญ่ของกัมพูชาดังที่ทราบกันดี . ฉบับที่ 2 เป็นแผนที่ที่กระทรวงการต่างประเทศกัมพูชาจัดทำขึ้นแจกแก่ผู้สื่อข่าวเพื่อชี้แจงกฤษฎีกา 1972 ให้ชัดเจนขึ้น คราวนี้นอกจากตัดรายละเอียดที่ไม่จำเป็นออกไปเพื่อขับเน้นเฉพาะเส้นที่เสกสรรค์ปั้นแต่งว่าเป็นเขตไหล่ทวีปของตนแล้ว ยังเขียนเส้นพาดผ่านผ่ากลางแบ่งครึ่งเกาะกูดโดยตรง . แผนที่ฉบับหลังนี้เข้าใจว่าเมื่อกระทรวงการต่างประเทศไทยได้รับ ก็นำมาทำใหม่เพื่อประกอบการศึกษาภายใน มีภาษาไทยกำกับ ยังคงแสดงเส้นพาดผ่านผ่ากลางแบ่งครึ่งเกาะกูดโดยตรงตามเจตนาของต้นฉบับที่ฝ่ายกันพูชาจัดทำ . เช่นนี้แล้ว ใครที่ออกตัวรับรองว่ากัมพูชาไม่เคย “พูด” ไม่เคยอ้างสิทธิเหนือเกาะกูดน่ะจะว่าอย่างไร ? . เพราะการที่กัมพูชาลงมือ “ทำ” โดยกฤษฎีกา 1972 ตามที่เล่ามานี้มันยิ่งกว่า “พูด” เสียอีก ! . ไม่เคยได้ยินภาษิตที่ว่า “การกระทำดังกว่าคำพูด” หรือ ?!! . ณ ปีค.ศ. 1907 มีแต่การปักปันเขตแดนทางบกระหว่างสยามกับอินโดจีนฝรั่งเศส . แต่แน่ละ มีการกล่าวถึงเกาะกูดไว้ในหนังสือติดท้ายสนธิสัญญา ค.ศ. 1907 ข้อ 1 จริง แต่ก็เพียงเพื่อใช้เป็นจุดเล็งไปยังจุดใดจุดหนึ่งบนแผ่นดินชายหาดที่จะกำหนดให้ป็นหลักเขตที่ 73 เพราะบนแผ่นดินชายหาดบริเวณนั้นไม่มีภูมิประเทศใดที่ยั่งยืนพอให้เป็นที่สังเกตได้ . “เขตแดนในระหว่างกรุงสยามกับอินโดจีนฝรั่งเศสนั้น ตั้งแต่ชายทะเลที่ตรงข้ามกับยอดเขาสูงที่สุดของเกาะกูดเป็นหลักแล้ว ตั้งแต่นี้ต่อไปทางตะวันออกเฉียงเหนือถึงสันเขาพนมกระวาน….“ . แค่ข้อความที่ระบุว่า “ตั้งแต่ชายทะเล…” วิญญูชนย่อมเข้าใจได้ว่าหมายถึงแผ่นดิน-ไม่ใช่ทะเล แต่กัมพูชาในยุคจอมพลลอนนอลในปีค.ศ. 1972 ไปตีขลุมว่ามีการปักปันเขตแดนทางทะเลแล้วในอดีต แล้วก็ตีเส้นตามอำเภอใจ เพื่อตีกินพื้นที่ทรัพยากรในอ่าวไทย . โดยในอีกทางหนึ่งก็ไปหยิบเอา ”เส้นประ“ (- - - - - - -) ระหว่างเกาะกูดกับแผ่นดินชายหาดจังหวัดตราดในแผนที่ประกอบหนังสือติดท้ายสนธิสัญญาค.ศ. 1907 มาเป็นประเด็นอธิบายการแถระดับโลกของตัวเอง . หากดูภาพสุดท้ายจะพบมีเส้น ++++++ อันเป็นสัญลักษณ์สากลของเส้นแบ่งเขตแดน (boundary line) ตลอดแนวเขตแดนทางบกไทยกัมพูชา ขณะที่เส้นประ (dotted line) - - - - - - มีอยู่เพียงสั้น ๆ ระหว่างเกาะกูดกับแผ่นดินชายทะเลจังหวัดตราดเท่านั้น ซึ่งเมื่อดูในบริบทของสนธิสัญญาสยามฝรั่งเศส ค.ศ. 1907 วิญญูชนก็ย่อมเข้าใจได้ไม่ยากอีกเช่นกันว่าเป็นการแสดงจุดเล็งไปยังแผ่นดินเพื่อหาจุดที่ตั้งหลักเขตที่ 73 . การแถดังกล่าวกลายเป็นกรณีศึกษาทางวิชาการกันพอสมควรหลังปีค.ศ. 1972 และก็มีการยืนยันในข้อเท็จจริงแล้วอย่างมีนัยสำคัญ โดยเฉพาะจากบุคคลระดับชนชั้นนำของกัมพูชาเอง . ไม่ว่าจะอย่างไรก็ตาม ขอย้ำว่ากฤษฎีกา 1972 ของกัมพูชานี้ยังคงดำรงอยู่จนถึงปัจจุบัน ในฐานะที่เป็นประกาศของประมุขแห่งรัฐ . การที่แผนผังแนบท้าย MOU 2544 มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญ คือเส้นแนว “A-S-P” กำหนดเขตไหล่ทวีปด้านบนของกัมพูชาไม่ได้เขียนแบบลากพาดผ่าน หรือเขียนแบบหยุดเว้นตัวเกาะ แต่เขียนประชิดติดตัวเกาะเว้าเป็นรูปตัว ”U” ทางทิศใต้แล้วก็ตาม นั่นหาเป็นผลแปรเปลี่ยนใด ๆ ไม่ เพราะด้านหนึ่งตัวกฤษฎีกา 1972 ยังคงอยู่ อีกด้านหนึ่งแนวเส้น “A-S-P” ยังคงอยู่ การละเมิดอธิปไตยเหนือตัวเกาะกูดและทะเลอาณาเขตของไทยยังคงอยู่ . มีหนำซ้ำเนื้อหาใน MOU 2544 ข้อ 5 ก็ระบุไว้ว่าการตกลงใด ๆ หากจะมีขึ้นไม่กระทบกระเทือนการอ้างสิทธิของแต่ละฝ่าย . พระอัจฉริยภาพและพระมหากรุณาธิคุณต่อคนไทยจังหวัดจันทบุรีและตราดในองค์พระปิยมหาราชเจ้าช่วงวิกฤตกับฝรั่งเศสระหว่าง ร.ศ. 112 - 125 ทำให้ประเทศไทย ณ วันนี้มีฝั่งทะเลตะวันออกด้านอ่าวไทยยาวเหยียดจนแทบจะโอบล้อมแหล่งทรัพยากรไว้ได้ทั้งหมด - คนไทยต้องรักษาไว้ . ประกาศพระบรมราชโองการกำหนดเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 ของล้นเกล้าฯในหลวงรัชกาลที่ 9 สืบทอดพระราชปณิธานของสมเด็จพระอัยกา - คนไทยต้องรักษาไว้ . . คำนูณ สิทธิสมาน 4 พฤศจิกายน 2567 ที่มา https://www.facebook.com/share/p/15CSsZXGkk/?mibextid=CTbP7E #Thaitimes
    Like
    Sad
    5
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 1161 มุมมอง 0 รีวิว
  • พระบรมราชโองการ ในหลวงรัชกาลที่ 9 "กำหนดเขตไหล่ทวีป ของประเทศไทย ด้านอ่าวไทย"
    .
    โดยได้ประกาศจริง ในวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ.2516 และ ประกาศ ไว้ใน ราชกิจจานุเบกษา ในวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.2516
    .
    ซึ่งเป็นการ ปฏิเสธ เส้นเขตแดนที่ กัมพูชา วาดขึ้นตามอำเภอใจ
    .
    โดยไม่ได้สน บทบัญญัติของ "อนุสัญญาว่าด้วยทะเล อาณาเขต และ เขตต่อเนื่อง" ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา หรือ กฎหมายระหว่างประเทศอะไรเลย..!!!
    พระบรมราชโองการ ในหลวงรัชกาลที่ 9 "กำหนดเขตไหล่ทวีป ของประเทศไทย ด้านอ่าวไทย" . โดยได้ประกาศจริง ในวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ.2516 และ ประกาศ ไว้ใน ราชกิจจานุเบกษา ในวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.2516 . ซึ่งเป็นการ ปฏิเสธ เส้นเขตแดนที่ กัมพูชา วาดขึ้นตามอำเภอใจ . โดยไม่ได้สน บทบัญญัติของ "อนุสัญญาว่าด้วยทะเล อาณาเขต และ เขตต่อเนื่อง" ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา หรือ กฎหมายระหว่างประเทศอะไรเลย..!!!
    Like
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 152 มุมมอง 0 รีวิว
  • ## มหาเทพ ซัด "บัวแก้ว" ตัดตอนพระบรมราชโองการ ในหลวงรัชกาลที่ 9 เรื่องเกาะกูด และ พื้นที่ทางทะเล...!!! ##
    ..
    ..
    วันอังคาร ที่ 05/11/2567 อาจารย์ ปานเทพ ละเอียดยิบ ชี้...!!!
    .
    กรมสนธิสัญญา กระทรวงการต่างประเทศ แถลงการณ์
    โดยมีการนำเสนอ ด้วยการ ทำกรอบสีแดง และไฮไลท์เน้นข้อความสีเหลือง
    .
    ซึ่ง อาจารย์ ปานเทพ ไม่สบายใจ ว่านี่ทำให้คนทั่วไป เข้าใจได้ว่าเป็นการ ตัดตอน พระบรมราชโองการ ในหลวงรัชกาลที่ 9...!!!
    .
    และ เป็นการส่งสัญญาณบางอย่างหรือไม่...???
    .
    ซึ่ง พระบรมราชโองการนี้ ประกาศจริง ในวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ.2516 และ ประกาศ ไว้ใน ราชกิจจานุเบกษา ในวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.2516
    .
    โดย ฉบับเต็ม มีใจความตอนหนึ่งว่า...
    .
    "สำหรับสิทธิอธิปไตยที่เป็นทะเลอาณาเขต ซึ่งต่อเนื่องกับทะเลอาณาเขตของประเทศใกล้เคียง อันจะถือเป็นจุดเริ่มของเส้นแบ่งเขตไหล่ทวีปนั้น จะเป็นไปตามที่จะได้ตกลงกัน โดยยึดถือมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเล อาณาเขต และ เขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ.1958"
    .
    และ ตีกรอบ ลงไฮไลท์ ตัดตอนลงเหลือเพียง...
    .
    "...สิทธิอธิปไตย...จุดเริ่มต้นของเส้นแบ่งเขตไหล่ทวีปนั้น จะเป็นไปตามที่จะได้ตกลงกัน..."
    .
    MOU44 เท่ากับประเทศไทยเปลี่ยนจุดยืนจากการปฏิเสธเส้นไหล่ทวีปของ กัมพูชา โดยพระบรมราชโองการ ของ ในหลวงรัชกาลที่ 9
    .
    กลายมาเป็น รับรู้ และ ไม่ปฏิเสธ เส้นเขตแดนที่ กัมพูชา วาดขึ้นตามอำเภอใจ โดยไม่ได้สนกฎหมายระหว่างประเทศอะไรเลย..!!!
    .
    ซ้ำ เปลี่ยนหลักการแบ่งเขตไหล่ทวีป จากการใช้บทบัญญัติของอนุสัญญา กรุงเจนีวา กลายเป็นใช้มูลฐานอื่น
    .
    นี่เป็นการ จงใจ เปิดโอกาส ให้มีการเจรจากัน นอกเหนือจากมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเล อาณาเขต และ เขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ได้ ใช่หรือไม่...???
    .
    ทั้งหมดนี้ ทำไปเพื่ออะไร...???
    .
    ที่แท้ มีเจตนา อะไรกันแน่...???
    .
    ในเมื่อประเทศไทย มีโอกาสที่จะสูญเสียผลประโยชน์ที่พึงมีพึงได้ จาก MOU44 อันเนื่องมาจาก หลักกฎหมายปิดปาก เช่นเดียวกับ กรณี เขาพระวิหาร...
    .
    เมื่อมีคนเสนอให้ยกเลิกไปซะ แต่รัฐบาลกลับ ปฏิเสธว่าทำไมได้...!!!
    .
    หึหึ...
    .
    คนเราผิดแล้ว รู้แก้ไข นั้น ถือเป็นผู้ตื่นรู้ครับ...
    .
    แต่ถ้าหากว่า มีคนเตือนแล้ว รู้ผิดแล้ว คงยังดึงดันที่จะเดินหน้าทำต่อให้ได้...!!!
    .
    แสดงว่าคนผู้นั้นมีเจตนาแอบแฝง ในการที่จะกระทำผิดต่อไป ใช่หรือไม่...???
    .
    นี่ผลประโยชน์ของชาตินะครับ
    ประเด็นนี้ เผ็ดร้อน ระดับ พริก 1 ล้านเม็ด...!!!
    .
    https://youtu.be/yy-kEcRaovY?si=uQ8KFo1yAI9dSdng
    .
    https://mgronline.com/daily/detail/9670000102716
    .
    https://mgronline.com/politics/detail/9670000106616
    ## มหาเทพ ซัด "บัวแก้ว" ตัดตอนพระบรมราชโองการ ในหลวงรัชกาลที่ 9 เรื่องเกาะกูด และ พื้นที่ทางทะเล...!!! ## .. .. วันอังคาร ที่ 05/11/2567 อาจารย์ ปานเทพ ละเอียดยิบ ชี้...!!! . กรมสนธิสัญญา กระทรวงการต่างประเทศ แถลงการณ์ โดยมีการนำเสนอ ด้วยการ ทำกรอบสีแดง และไฮไลท์เน้นข้อความสีเหลือง . ซึ่ง อาจารย์ ปานเทพ ไม่สบายใจ ว่านี่ทำให้คนทั่วไป เข้าใจได้ว่าเป็นการ ตัดตอน พระบรมราชโองการ ในหลวงรัชกาลที่ 9...!!! . และ เป็นการส่งสัญญาณบางอย่างหรือไม่...??? . ซึ่ง พระบรมราชโองการนี้ ประกาศจริง ในวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ.2516 และ ประกาศ ไว้ใน ราชกิจจานุเบกษา ในวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.2516 . โดย ฉบับเต็ม มีใจความตอนหนึ่งว่า... . "สำหรับสิทธิอธิปไตยที่เป็นทะเลอาณาเขต ซึ่งต่อเนื่องกับทะเลอาณาเขตของประเทศใกล้เคียง อันจะถือเป็นจุดเริ่มของเส้นแบ่งเขตไหล่ทวีปนั้น จะเป็นไปตามที่จะได้ตกลงกัน โดยยึดถือมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเล อาณาเขต และ เขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ.1958" . และ ตีกรอบ ลงไฮไลท์ ตัดตอนลงเหลือเพียง... . "...สิทธิอธิปไตย...จุดเริ่มต้นของเส้นแบ่งเขตไหล่ทวีปนั้น จะเป็นไปตามที่จะได้ตกลงกัน..." . MOU44 เท่ากับประเทศไทยเปลี่ยนจุดยืนจากการปฏิเสธเส้นไหล่ทวีปของ กัมพูชา โดยพระบรมราชโองการ ของ ในหลวงรัชกาลที่ 9 . กลายมาเป็น รับรู้ และ ไม่ปฏิเสธ เส้นเขตแดนที่ กัมพูชา วาดขึ้นตามอำเภอใจ โดยไม่ได้สนกฎหมายระหว่างประเทศอะไรเลย..!!! . ซ้ำ เปลี่ยนหลักการแบ่งเขตไหล่ทวีป จากการใช้บทบัญญัติของอนุสัญญา กรุงเจนีวา กลายเป็นใช้มูลฐานอื่น . นี่เป็นการ จงใจ เปิดโอกาส ให้มีการเจรจากัน นอกเหนือจากมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเล อาณาเขต และ เขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ได้ ใช่หรือไม่...??? . ทั้งหมดนี้ ทำไปเพื่ออะไร...??? . ที่แท้ มีเจตนา อะไรกันแน่...??? . ในเมื่อประเทศไทย มีโอกาสที่จะสูญเสียผลประโยชน์ที่พึงมีพึงได้ จาก MOU44 อันเนื่องมาจาก หลักกฎหมายปิดปาก เช่นเดียวกับ กรณี เขาพระวิหาร... . เมื่อมีคนเสนอให้ยกเลิกไปซะ แต่รัฐบาลกลับ ปฏิเสธว่าทำไมได้...!!! . หึหึ... . คนเราผิดแล้ว รู้แก้ไข นั้น ถือเป็นผู้ตื่นรู้ครับ... . แต่ถ้าหากว่า มีคนเตือนแล้ว รู้ผิดแล้ว คงยังดึงดันที่จะเดินหน้าทำต่อให้ได้...!!! . แสดงว่าคนผู้นั้นมีเจตนาแอบแฝง ในการที่จะกระทำผิดต่อไป ใช่หรือไม่...??? . นี่ผลประโยชน์ของชาตินะครับ ประเด็นนี้ เผ็ดร้อน ระดับ พริก 1 ล้านเม็ด...!!! . https://youtu.be/yy-kEcRaovY?si=uQ8KFo1yAI9dSdng . https://mgronline.com/daily/detail/9670000102716 . https://mgronline.com/politics/detail/9670000106616
    Like
    Love
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 593 มุมมอง 0 รีวิว
  • โดนัลด์ ทรัมป์ กำชัยชนะเหนือ กมลา แฮร์ริส อย่างง่ายดายและเด็ดขาดเกินคาดหมายในวันพุธ (6 พ.ย.) หลังกวาดคะแนนจากรัฐสมรภูมิสำคัญ และได้กลับสู่ทำเนียบขาวสมัยที่สองที่มีแนวโน้มสร้างแรงกระเพื่อมทั่วโลก นอกจากนั้น พรรครีพับลิกันของเขายังสามารถชิงอำนาจการควบคุมวุฒิสภาจากเดโมแครตได้สำเร็จ
    .
    ถึงแม้ผลสำรวจจากหลายสำนักก่อนหน้าการเลือกตั้งซึ่งจัดขึ้นในวันอังคาร (5) ต่างระบุว่า การแข่งขันครั้งนี้จะคู่คี่สูสีกันมากและอาจต้องรอนานหลายวันกว่าจะรู้ผล แต่กลายเป็นว่า พวกสื่อยักษ์ใหญ่สหรัฐฯ สามารถประกาศอย่างเป็นเสียงเอกฉันท์ชนิดไม่มีเจ้าไหนแตกแถวตั้งแต่ในวันพุธ (6) ว่า โดนัลด์ ทรัมป์ วัย 78 ปี เป็นผู้ชนะ หลังจากอดีตประธานาธิบดีจากพรรครีพับลิกันผู้นี้สามารถกวาดคะแนนจากคณะผู้เลือกตั้ง (electoral vote) เกิน 270 คะแนนซึ่งเป็นเกณฑ์สำหรับผู้ชนะ และได้เป็นว่าที่ประธานาธิบดีสหรัฐฯ คนที่ 47
    .
    วิสคอนซิน ซึ่งเป็น 1 ใน 7 รัฐสมรภูมิที่ผู้ออกเสียงไม่ได้แสดงความนิยมในผู้สมัครคนไหนหรือพรรคใหญ่พรรคใดอย่างชัดเจน จึงถูกมองว่าจะเป็นตัวชี้ขาดผู้มีชัยในการเลือกตั้งคราวนี้ ได้กลายเป็นรัฐตัดสินไปจริงๆ โดยหลังจากฟ็อกซ์นิวส์ เป็นสื่อยักษ์ใหญ่เจ้าแรกที่คาดการณ์ว่าทรัมป์ชนะในรัฐนี้ แล้วจึงประกาศว่าเขาได้เสียงคณะผู้เลือกตั้งเกิน 270 เสียงและเป็นผู้ชนะได้เป็นประธานาธิบดีคนต่อไปแล้ว ถัดจากนั้นอีกหลายชั่วโมงต่อมา สื่อยักษ์ใหญ่อื่นๆ ได้แก่ เอบีซี ซีบีเอส เอ็นบีซี ซีเอ็นเอ็น เอพี ก็เดินมาในรอยทางเดียวกัน กล่าวคือ ทยอยประกาศคาดการณ์ว่าทรัมป์ได้วิสคอนซินซึ่งมีคะแนนคณะผู้เลือกตั้ง 10 เสียงไป และทำให้เป็นผู้ชนะโดยรวม ถึงแม้ในทางเป็นจริงแล้วยังมีอีกหลายรัฐที่นับคะแนนยังไม่ทันเสร็จสิ้นก็ตามที
    .
    ไม่เพียงชนะด้วยเสียงคณะผู้เลือกตั้ง ในครั้งนี้ทรัมป์ยังได้คะแนนป็อปปูลาร์โหวต หรือเสียงโหวตจากผู้ออกเสียงทั่วประเทศ นำหน้าแฮร์ริสถึงประมาณ 5 ล้านคะแนน แตกต่างจากตอนที่เขาชนะเลือกตั้งได้เป็นประธานาธิบดีสมัยแรกในปี 2016 ซึ่งเขามีชัยด้านเสียงคณะผู้เลือกตั้ง แต่แพ้ป็อปปูลาร์โหวตให้แก่คู่แข่งคือ ฮิลลารี คลินตัน เกือบ 3 ล้านคะแนน
    .
    นอกจากนั้นแล้ว พรรครีพับลิกันของทรัมป์ ยังเข้ายึดวุฒิสภามาจากเดโมแครตได้สำเร็จ โดยชิงที่นั่งซึ่งเดิมเป็นของเดโมแครตมาได้ 2 ที่นั่ง ทำให้พวกเขาเวลานี้เป็นฝ่ายที่มีเสียงเกินกึ่งหนึ่ง ขณะที่ในสภาผู้แทนราษฎรที่ชุดที่แล้วรีพับลิกันครองเสียงข้างมากเกินครึ่งเพียงเล็กน้อยนั้น ยังไม่มีพรรคใดทำท่าชนะอย่างแน่นอนชัดเจน และต้องรอผลการนับคะแนนอย่างละเอียดถี่ถ้วนกว่านี้
    .
    แฮร์ริสที่ถูกเปลี่ยนตัวเข้าแทนที่ โจ ไบเดน และมีเวลาในการรณรงค์หาเสียงเพียง 15 สัปดาห์เท่านั้น ทำไม่สำเร็จในการระดมเสียงสนับสนุนให้มากพอเพื่อยับยั้งทรัมป์ โดยเฉพาะในการคลายความกังวลของผู้มีสิทธิเลือกตั้งเกี่ยวกับปัญหาเศรษฐกิจ ซึ่งที่สำคัญที่สุดคือภาวะเงินเฟ้อ และปัญหาผู้อพยพ มิหนำซ้ำผู้ออกเสียงส่วนใหญ่ยังไม่สนใจคำเตือนของแคนดิเดตจากพรรคเดโมแครตผู้นี้ที่ว่า ทรัมป์ต้องการอำนาจแบบไม่มีการตรวจสอบและเป็นตัวอันตรายสำหรับประชาธิปไตย ทำให้ประเด็นหลักในการหาเสียงของแฮร์ริสคือ การสร้างความเป็นเอกภาพและสนับสนุนสิทธิในการทำแท้ง สุดท้ายยังไม่เพียงพอให้เธอสามารถสร้างประวัติศาสตร์ในการเป็นประธานาธิบดีหญิงคนแรกของสหรัฐฯ อีกทั้งเป็นหญิงผิวดำและเชื้อสายเอเชียใต้คนแรกด้วย
    .
    จากโพลสำเร็จของรอยเตอร์/อิปซอสส์ บ่งชี้ว่าพวกผู้มีสิทธิเลือกตั้งมองว่า เรื่องงานและเศรษฐกิจเป็นปัญหาใหญ่ที่สุดของอเมริกา โดยคนอเมริกันจำนวนมากไม่พอใจปัญหาเงินเฟ้อที่เกิดขึ้น ถึงแม้ภาวะเศรษฐกิจด้านอื่นๆ อยู่ในอาการที่ดี ไม่ว่าจะเป็นราคาหุ้นพุ่งทำสถิติ ค่าแรงเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และอัตราว่างงานต่ำ ทั้งนี้นอกจากคนเหล่านั้นมองว่า เรื่องเงินเฟ้อเป็นความผิดของคณะบริหารของประธานาธิบดีโจ ไบเดน จากพรรคเดโมแครตแล้ว พวกเขาส่วนใหญ่ยังบอกว่า ไว้ใจทรัมป์มากกว่าแฮร์ริสในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจ
    .
    กลุ่มฮิสปานิกหรือกลุ่มคนพูดภาษาสเปน ที่เดิมทีเป็นฐานเสียงของเดโมแครต รวมทั้งครัวเรือนที่มีรายได้ต่ำที่ได้รับผลกระทบจากเงินเฟ้อรุนแรงที่สุด กลายเป็นตัวช่วยส่งให้ทรัมป์ได้รับชัยชนะในครั้งนี้ นอกเหนือจากฐานเสียงที่จงรักภักดีเหนียวแน่นกับพวกเขาซึ่งได้แก่กลุ่มคนผิวขาวที่เรียนไม่ถึงระดับมหาวิทยาลัย
    .
    ชัยชนะครั้งนี้เกิดขึ้นมา ถึงแม้ว่า ทรัมป์มีคะแนนนิยมต่ำต่อเนื่อง เคยผ่านกระบวนการถูกพิจารณาถอดถอนถึง 2 ครั้ง ถูกอดีตหัวหน้าคณะทำงานในทำเนียบขาวของตนเองระบุว่าเป็น “ฟาสซิสต์” ถูกฟ้องร้องคดีอาญา 4 คดี และถูกตัดสินว่าผิดในคดีแพ่งจากการล่วงละเมิดทางเพศและการหมิ่นประมาท ในเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมาเขาถูกคณะลูกขุนในนิวยอร์กตัดสินว่า กระทำผิดในการปลอมแปลงข้อมูลธุรกิจเพื่อปกปิดการจ่ายเงินปิดปากดาราหนังปลุกใจเสือป่า
    .
    ด้วยวัย 78 ปี ทรัมป์กำลังจะสร้างสถิติใหม่ในการเป็นประธานาธิบดีที่อายุมากที่สุด
    .
    ชัยชนะของทรัมป์ยังมีนัยสำคัญต่อนโยบายการค้า ผู้อพยพ และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของอเมริกา และสงครามในยูเครน
    .
    นักเศรษฐศาสตร์ชี้ว่า ข้อเสนอขึ้นภาษีศุลกากรอย่างแรงของทรัมป์มีแนวโน้มจุดชนวนสงครามการค้ารุนแรงขึ้นกับจีน ตลอดจนกับพวกประเทศพันธมิตรของอเมริกา นอกจากนั้นเขายังให้สัญญาเนรเทศผู้อพยพผิดกฎหมายครั้งใหญ่
    .
    ท่ามกลางเสียงโห่ร้องแสดงความยินดีของผู้สนับสนุนที่ไปรวมตัวติดตามดูการนับคะแนนอยู่ที่รัฐฟลอริดา ทรัมป์ขึ้นเวทีพร้อมเมลาเนีย ภรรยา และลูกๆ และประกาศว่า นี่คือชัยชนะอันงดงามสำหรับคนอเมริกัน ซึ่งจะเปิดโอกาสให้ตนทำให้อเมริกากลับมายิ่งใหญ่อีกครั้ง
    .
    เขายังกล่าวถึงการรอดชีวิตจากความพยายามลอบสังหารสองครั้งระหว่างช่วงหาเสียงว่า หลายคนบอกว่าพระเจ้าปกป้องเขา
    .
    นอกจากครอบครัวทรัมป์ วุฒิสมาชิก เจดี. แวนซ์ คู่หูในตำแหน่งรองประธานาธิบดี และบรรดาผู้นำพรรครีพับลิกันแล้ว งานนี้ยังมี อีลอน มัสก์ นักธุรกิจและมหาเศรษฐีเบอร์หนึ่งของโลกที่อัดฉีดแคมเปญหาเสียงของทรัมป์ราว 120 ล้านดอลลาร์ เข้าร่วมฉลองด้วย โดยทรัมป์ยกย่องนายใหญ่เอ็กซ์และเทสลาผู้นี้เป็น “ดาวดวงใหม่” และก่อนหน้านี้ยังประกาศว่า จะแต่งตั้งมัสก์เป็นประธานคณะกรรมาธิการตรวจสอบประสิทธิภาพของรัฐบาล
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000107148
    ..............
    Sondhi X
    โดนัลด์ ทรัมป์ กำชัยชนะเหนือ กมลา แฮร์ริส อย่างง่ายดายและเด็ดขาดเกินคาดหมายในวันพุธ (6 พ.ย.) หลังกวาดคะแนนจากรัฐสมรภูมิสำคัญ และได้กลับสู่ทำเนียบขาวสมัยที่สองที่มีแนวโน้มสร้างแรงกระเพื่อมทั่วโลก นอกจากนั้น พรรครีพับลิกันของเขายังสามารถชิงอำนาจการควบคุมวุฒิสภาจากเดโมแครตได้สำเร็จ . ถึงแม้ผลสำรวจจากหลายสำนักก่อนหน้าการเลือกตั้งซึ่งจัดขึ้นในวันอังคาร (5) ต่างระบุว่า การแข่งขันครั้งนี้จะคู่คี่สูสีกันมากและอาจต้องรอนานหลายวันกว่าจะรู้ผล แต่กลายเป็นว่า พวกสื่อยักษ์ใหญ่สหรัฐฯ สามารถประกาศอย่างเป็นเสียงเอกฉันท์ชนิดไม่มีเจ้าไหนแตกแถวตั้งแต่ในวันพุธ (6) ว่า โดนัลด์ ทรัมป์ วัย 78 ปี เป็นผู้ชนะ หลังจากอดีตประธานาธิบดีจากพรรครีพับลิกันผู้นี้สามารถกวาดคะแนนจากคณะผู้เลือกตั้ง (electoral vote) เกิน 270 คะแนนซึ่งเป็นเกณฑ์สำหรับผู้ชนะ และได้เป็นว่าที่ประธานาธิบดีสหรัฐฯ คนที่ 47 . วิสคอนซิน ซึ่งเป็น 1 ใน 7 รัฐสมรภูมิที่ผู้ออกเสียงไม่ได้แสดงความนิยมในผู้สมัครคนไหนหรือพรรคใหญ่พรรคใดอย่างชัดเจน จึงถูกมองว่าจะเป็นตัวชี้ขาดผู้มีชัยในการเลือกตั้งคราวนี้ ได้กลายเป็นรัฐตัดสินไปจริงๆ โดยหลังจากฟ็อกซ์นิวส์ เป็นสื่อยักษ์ใหญ่เจ้าแรกที่คาดการณ์ว่าทรัมป์ชนะในรัฐนี้ แล้วจึงประกาศว่าเขาได้เสียงคณะผู้เลือกตั้งเกิน 270 เสียงและเป็นผู้ชนะได้เป็นประธานาธิบดีคนต่อไปแล้ว ถัดจากนั้นอีกหลายชั่วโมงต่อมา สื่อยักษ์ใหญ่อื่นๆ ได้แก่ เอบีซี ซีบีเอส เอ็นบีซี ซีเอ็นเอ็น เอพี ก็เดินมาในรอยทางเดียวกัน กล่าวคือ ทยอยประกาศคาดการณ์ว่าทรัมป์ได้วิสคอนซินซึ่งมีคะแนนคณะผู้เลือกตั้ง 10 เสียงไป และทำให้เป็นผู้ชนะโดยรวม ถึงแม้ในทางเป็นจริงแล้วยังมีอีกหลายรัฐที่นับคะแนนยังไม่ทันเสร็จสิ้นก็ตามที . ไม่เพียงชนะด้วยเสียงคณะผู้เลือกตั้ง ในครั้งนี้ทรัมป์ยังได้คะแนนป็อปปูลาร์โหวต หรือเสียงโหวตจากผู้ออกเสียงทั่วประเทศ นำหน้าแฮร์ริสถึงประมาณ 5 ล้านคะแนน แตกต่างจากตอนที่เขาชนะเลือกตั้งได้เป็นประธานาธิบดีสมัยแรกในปี 2016 ซึ่งเขามีชัยด้านเสียงคณะผู้เลือกตั้ง แต่แพ้ป็อปปูลาร์โหวตให้แก่คู่แข่งคือ ฮิลลารี คลินตัน เกือบ 3 ล้านคะแนน . นอกจากนั้นแล้ว พรรครีพับลิกันของทรัมป์ ยังเข้ายึดวุฒิสภามาจากเดโมแครตได้สำเร็จ โดยชิงที่นั่งซึ่งเดิมเป็นของเดโมแครตมาได้ 2 ที่นั่ง ทำให้พวกเขาเวลานี้เป็นฝ่ายที่มีเสียงเกินกึ่งหนึ่ง ขณะที่ในสภาผู้แทนราษฎรที่ชุดที่แล้วรีพับลิกันครองเสียงข้างมากเกินครึ่งเพียงเล็กน้อยนั้น ยังไม่มีพรรคใดทำท่าชนะอย่างแน่นอนชัดเจน และต้องรอผลการนับคะแนนอย่างละเอียดถี่ถ้วนกว่านี้ . แฮร์ริสที่ถูกเปลี่ยนตัวเข้าแทนที่ โจ ไบเดน และมีเวลาในการรณรงค์หาเสียงเพียง 15 สัปดาห์เท่านั้น ทำไม่สำเร็จในการระดมเสียงสนับสนุนให้มากพอเพื่อยับยั้งทรัมป์ โดยเฉพาะในการคลายความกังวลของผู้มีสิทธิเลือกตั้งเกี่ยวกับปัญหาเศรษฐกิจ ซึ่งที่สำคัญที่สุดคือภาวะเงินเฟ้อ และปัญหาผู้อพยพ มิหนำซ้ำผู้ออกเสียงส่วนใหญ่ยังไม่สนใจคำเตือนของแคนดิเดตจากพรรคเดโมแครตผู้นี้ที่ว่า ทรัมป์ต้องการอำนาจแบบไม่มีการตรวจสอบและเป็นตัวอันตรายสำหรับประชาธิปไตย ทำให้ประเด็นหลักในการหาเสียงของแฮร์ริสคือ การสร้างความเป็นเอกภาพและสนับสนุนสิทธิในการทำแท้ง สุดท้ายยังไม่เพียงพอให้เธอสามารถสร้างประวัติศาสตร์ในการเป็นประธานาธิบดีหญิงคนแรกของสหรัฐฯ อีกทั้งเป็นหญิงผิวดำและเชื้อสายเอเชียใต้คนแรกด้วย . จากโพลสำเร็จของรอยเตอร์/อิปซอสส์ บ่งชี้ว่าพวกผู้มีสิทธิเลือกตั้งมองว่า เรื่องงานและเศรษฐกิจเป็นปัญหาใหญ่ที่สุดของอเมริกา โดยคนอเมริกันจำนวนมากไม่พอใจปัญหาเงินเฟ้อที่เกิดขึ้น ถึงแม้ภาวะเศรษฐกิจด้านอื่นๆ อยู่ในอาการที่ดี ไม่ว่าจะเป็นราคาหุ้นพุ่งทำสถิติ ค่าแรงเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และอัตราว่างงานต่ำ ทั้งนี้นอกจากคนเหล่านั้นมองว่า เรื่องเงินเฟ้อเป็นความผิดของคณะบริหารของประธานาธิบดีโจ ไบเดน จากพรรคเดโมแครตแล้ว พวกเขาส่วนใหญ่ยังบอกว่า ไว้ใจทรัมป์มากกว่าแฮร์ริสในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจ . กลุ่มฮิสปานิกหรือกลุ่มคนพูดภาษาสเปน ที่เดิมทีเป็นฐานเสียงของเดโมแครต รวมทั้งครัวเรือนที่มีรายได้ต่ำที่ได้รับผลกระทบจากเงินเฟ้อรุนแรงที่สุด กลายเป็นตัวช่วยส่งให้ทรัมป์ได้รับชัยชนะในครั้งนี้ นอกเหนือจากฐานเสียงที่จงรักภักดีเหนียวแน่นกับพวกเขาซึ่งได้แก่กลุ่มคนผิวขาวที่เรียนไม่ถึงระดับมหาวิทยาลัย . ชัยชนะครั้งนี้เกิดขึ้นมา ถึงแม้ว่า ทรัมป์มีคะแนนนิยมต่ำต่อเนื่อง เคยผ่านกระบวนการถูกพิจารณาถอดถอนถึง 2 ครั้ง ถูกอดีตหัวหน้าคณะทำงานในทำเนียบขาวของตนเองระบุว่าเป็น “ฟาสซิสต์” ถูกฟ้องร้องคดีอาญา 4 คดี และถูกตัดสินว่าผิดในคดีแพ่งจากการล่วงละเมิดทางเพศและการหมิ่นประมาท ในเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมาเขาถูกคณะลูกขุนในนิวยอร์กตัดสินว่า กระทำผิดในการปลอมแปลงข้อมูลธุรกิจเพื่อปกปิดการจ่ายเงินปิดปากดาราหนังปลุกใจเสือป่า . ด้วยวัย 78 ปี ทรัมป์กำลังจะสร้างสถิติใหม่ในการเป็นประธานาธิบดีที่อายุมากที่สุด . ชัยชนะของทรัมป์ยังมีนัยสำคัญต่อนโยบายการค้า ผู้อพยพ และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของอเมริกา และสงครามในยูเครน . นักเศรษฐศาสตร์ชี้ว่า ข้อเสนอขึ้นภาษีศุลกากรอย่างแรงของทรัมป์มีแนวโน้มจุดชนวนสงครามการค้ารุนแรงขึ้นกับจีน ตลอดจนกับพวกประเทศพันธมิตรของอเมริกา นอกจากนั้นเขายังให้สัญญาเนรเทศผู้อพยพผิดกฎหมายครั้งใหญ่ . ท่ามกลางเสียงโห่ร้องแสดงความยินดีของผู้สนับสนุนที่ไปรวมตัวติดตามดูการนับคะแนนอยู่ที่รัฐฟลอริดา ทรัมป์ขึ้นเวทีพร้อมเมลาเนีย ภรรยา และลูกๆ และประกาศว่า นี่คือชัยชนะอันงดงามสำหรับคนอเมริกัน ซึ่งจะเปิดโอกาสให้ตนทำให้อเมริกากลับมายิ่งใหญ่อีกครั้ง . เขายังกล่าวถึงการรอดชีวิตจากความพยายามลอบสังหารสองครั้งระหว่างช่วงหาเสียงว่า หลายคนบอกว่าพระเจ้าปกป้องเขา . นอกจากครอบครัวทรัมป์ วุฒิสมาชิก เจดี. แวนซ์ คู่หูในตำแหน่งรองประธานาธิบดี และบรรดาผู้นำพรรครีพับลิกันแล้ว งานนี้ยังมี อีลอน มัสก์ นักธุรกิจและมหาเศรษฐีเบอร์หนึ่งของโลกที่อัดฉีดแคมเปญหาเสียงของทรัมป์ราว 120 ล้านดอลลาร์ เข้าร่วมฉลองด้วย โดยทรัมป์ยกย่องนายใหญ่เอ็กซ์และเทสลาผู้นี้เป็น “ดาวดวงใหม่” และก่อนหน้านี้ยังประกาศว่า จะแต่งตั้งมัสก์เป็นประธานคณะกรรมาธิการตรวจสอบประสิทธิภาพของรัฐบาล . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000107148 .............. Sondhi X
    Like
    6
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1458 มุมมอง 0 รีวิว
  • ผู้บัญชาการกองกำลังอวกาศ IRGC:
    หากเรายิงขีปนาวุธ Khorramshahr มันจะแตกตัวกลายเป็นจรวด 80 ลูก เมื่อถึงเป้าหมาย แล้วถ้าหากเรายิงขีปนาวุธ 100 ลูกล่ะ แน่นอนว่ามันจะกลายเป็นจรวด 8,000 ลูก จะตกลงบนพื้นที่เป้าหมาย

    Khorramshahr เป็นขีปนาวุธพิสัยกลาง ตั้งชื่อตามเมือง Khorramshahr ทางตอนเหนือของอิหร่าน มีพิสัยการยิงระหว่าง 1,000 ถึง 2,000 กม. สามารถบรรทุกหัวรบหนัก 1,800 กก. และมีความยาว 13 ม.

    เริ่มทดสอบครั้งแรกเดือนมกราคม 2017 และประสบผลสำเร็จในเดือนกันยายนปีเดียวกัน และได้เข้าร่วมในพิธีสวนสนามในกรุงเตหะรานเพื่อรำลึกถึงวันครบรอบ 37 ปีของสงครามอิหร่าน-อิรัก ในเดือนกันยายน 2017 อีกด้วย

    ขีปนาวุธ Khorramshahr ได้รับการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง ล่าสุดในปี 2023 ได้เปิดตัวรุ่นที่ 4 หรือเรียกอีกอย่างว่าขีปนาวุธ Kheibar ซึ่งถูกเปิดตัวในพิธีรำลึกครบรอบ 41 ปีการปลดปล่อยเมือง Khorramshahr ในเดือนพฤษภาคม 2023
    ผู้บัญชาการกองกำลังอวกาศ IRGC: หากเรายิงขีปนาวุธ Khorramshahr มันจะแตกตัวกลายเป็นจรวด 80 ลูก เมื่อถึงเป้าหมาย แล้วถ้าหากเรายิงขีปนาวุธ 100 ลูกล่ะ แน่นอนว่ามันจะกลายเป็นจรวด 8,000 ลูก จะตกลงบนพื้นที่เป้าหมาย Khorramshahr เป็นขีปนาวุธพิสัยกลาง ตั้งชื่อตามเมือง Khorramshahr ทางตอนเหนือของอิหร่าน มีพิสัยการยิงระหว่าง 1,000 ถึง 2,000 กม. สามารถบรรทุกหัวรบหนัก 1,800 กก. และมีความยาว 13 ม. เริ่มทดสอบครั้งแรกเดือนมกราคม 2017 และประสบผลสำเร็จในเดือนกันยายนปีเดียวกัน และได้เข้าร่วมในพิธีสวนสนามในกรุงเตหะรานเพื่อรำลึกถึงวันครบรอบ 37 ปีของสงครามอิหร่าน-อิรัก ในเดือนกันยายน 2017 อีกด้วย ขีปนาวุธ Khorramshahr ได้รับการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง ล่าสุดในปี 2023 ได้เปิดตัวรุ่นที่ 4 หรือเรียกอีกอย่างว่าขีปนาวุธ Kheibar ซึ่งถูกเปิดตัวในพิธีรำลึกครบรอบ 41 ปีการปลดปล่อยเมือง Khorramshahr ในเดือนพฤษภาคม 2023
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 131 มุมมอง 0 รีวิว
  • ภาพการ์ตูนสื่อถึงเหตุการณ์เมื่อปี 2565 ช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม โดยมีข้อความเปรียบเปรยว่า

    12 ชั่วโมงที่แล้ว: รัสเซียปิดท่อส่งก๊าซไปยังโปแลนด์และบัลแกเรียเพราะปฏิเสธที่จะชำระเงินเป็นรูเบิล
    10 ชั่วโมงที่แล้ว: โปแลนด์ตกลงจ่ายค่าน้ำมันเป็นรูเบิล
    6 ชั่วโมงที่แล้ว: ออสเตรียและบัลแกเรียตกลงจ่ายค่าแก๊สเป็นรูเบิล
    5 ชั่วโมงที่แล้ว: คณะกรรมาธิการยุโรปอนุญาตให้ประเทศในยุโรปซื้อก๊าซในสกุลเงินรูเบิล

    สาเหตุ: เมื่อ27 เมษายน 2565 บริษัทพลังงานยักษ์ใหญ่ของรัสเซีย Gazprom กล่าวว่าได้หยุดการส่งออกเชื้อเพลิงไปยังโปแลนด์และบัลแกเรียแล้ว ส่งผลให้ความตึงเครียดกับสหภาพยุโรปเพิ่มขึ้นจากสงครามของรัสเซียกับยูเครน

    ในแถลงการณ์ Gazprom ระบุว่าการหยุดจ่ายก๊าซครั้งนี้เป็นผลมาจากการที่บริษัทก๊าซของโปแลนด์และบัลแกเรียปฏิเสธที่จะจ่ายเงินเป็นรูเบิล ซึ่งเป็นสกุลเงินของรัสเซีย โดยก๊าซดังกล่าวถูกส่งผ่านท่อส่งยามาล ซึ่งทอดยาวจากไซบีเรียไปยังยุโรป

    ประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูตินสั่งประเทศต่างๆ ที่รัสเซียมองว่า "ไม่เป็นมิตร" ให้ชำระค่าก๊าซเป็นรูเบิลเมื่อเดือนที่แล้ว ซึ่งเป็นการตอบโต้การคว่ำบาตรรัสเซียของชาติตะวันตกกรณีปฏิบัติการทางทหารในยูเครน

    เคียร์มลินออกมาปกป้องการเปลี่ยนแปลงนี้ว่า "จำเป็น" โดยคำนึงถึงสิ่งที่เรียกว่า "ขั้นตอนที่ไม่เป็นมิตรที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน" ซึ่งรวมถึงการตัดสินใจอายัดเงินสำรองเงินตราต่างประเทศของธนาคารกลางรัสเซีย “พวกเขาปิดกั้นบัญชีของเรา หรือพูดให้เป็นภาษารัสเซียก็คือ พวกเขา ‘ขโมย’ เงินสำรองของเราไปจำนวนมาก” โฆษก Dmitry Peskov กล่าว

    การเคลื่อนไหวครั้งนี้ถูกมองกันอย่างกว้างขวางว่าเป็นความพยายามที่จะพยุงสกุลเงินและตอบโต้ยุโรปท่ามกลางการโจมตีของชาติตะวันตกที่บังคับใช้กับภาคการธนาคารของรัสเซีย

    หลังจากที่ประเทศเหล่านั้นได้อายัดสินทรัพย์สกุลเงินของธนาคารกลางของรัสเซีย เนื่องจากสงครามยูเครน ซึ่นกล่าวว่าการอายัดทรัพย์สินของรัสเซียในรูปเงินดอลลาร์และยูโรนั้น ชาติตะวันตกได้ยึดเงินค่าขนส่งน้ำมันไปฟรีๆ และรัสเซียไม่สามารถเสี่ยงต่อการค้าขายในรูปเงินยูโรและดอลลาร์ต่อไปได้ เนื่องจากการชำระเงินใหม่ก็อาจถูกอายัดได้เช่นกัน

    Agata Łoskot-Strachota นักวิจัยอาวุโสด้านนโยบายพลังงานที่ศูนย์การศึกษาด้านตะวันออกในกรุงวอร์ซอ กล่าวว่า ประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปบางประเทศ เช่น เยอรมนีและฮังการี พึ่งพาการนำเข้าเชื้อเพลิงจากรัสเซียเป็นอย่างมาก และระมัดระวังมากขึ้นในการประณามรัสเซียกรณีที่รัสเซียรุกรานยูเครน

    เธอบอกว่าการปิดก็อกน้ำมันนั้น "สิ่งที่รัสเซียสามารถทำได้คือการแบ่งแยกยุโรป เราต้องทำทุกอย่างเท่าที่ทำได้เพื่อให้แน่ใจว่าสิ่งนั้นจะไม่เกิดขึ้นจริง"

    สหภาพยุโรปมีแผนที่จะค่อยๆ ลดการนำเข้าเชื้อเพลิงจากรัสเซียภายในปี 2030 แต่ยังตั้งเป้าที่จะลดการซื้อก๊าซจากรัสเซียลงอย่างมากภายในสิ้นปีนี้ด้วย นางเออร์ซูลา ฟอน เดอร์ เลเยน ประธานคณะกรรมาธิการยุโรป ทวีตข้อความเมื่อวันพุธว่า สหภาพยุโรปจะตอบสนองต่อการแบล็กเมล์ของ Gazprom ทันที โดยจะดำเนินการอย่างเป็นหนึ่งเดียวและประสานงานกัน

    อย่างไรก็ตามเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2565 คณะกรรมาธิการยุโรปได้ออกแนวทางใหม่เกี่ยวกับวิธีที่บริษัทในสหภาพยุโรปสามารถชำระค่าแก๊สของรัสเซียเป็นรูเบิลได้โดยไม่ละเมิดมาตรการคว่ำบาตรของสหภาพยุโรป เนื่องจากบริษัทต่างๆ จะไม่ทำธุรกรรมกับธนาคารกลางของรัสเซียในขณะที่ชำระเงินค่าซื้อสินค้าด้วยเงินยูโรหรือดอลลาร์ ดังนั้นบริษัทต่างๆ จึงไม่ได้ละเมิดมาตรการคว่ำบาตรของสหภาพยุโรป ตามคำแนะนำดังกล่าว

    ที่มา ภาพจากออนไลน์

    #Thaitimes
    ภาพการ์ตูนสื่อถึงเหตุการณ์เมื่อปี 2565 ช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม โดยมีข้อความเปรียบเปรยว่า 12 ชั่วโมงที่แล้ว: รัสเซียปิดท่อส่งก๊าซไปยังโปแลนด์และบัลแกเรียเพราะปฏิเสธที่จะชำระเงินเป็นรูเบิล 10 ชั่วโมงที่แล้ว: โปแลนด์ตกลงจ่ายค่าน้ำมันเป็นรูเบิล 6 ชั่วโมงที่แล้ว: ออสเตรียและบัลแกเรียตกลงจ่ายค่าแก๊สเป็นรูเบิล 5 ชั่วโมงที่แล้ว: คณะกรรมาธิการยุโรปอนุญาตให้ประเทศในยุโรปซื้อก๊าซในสกุลเงินรูเบิล สาเหตุ: เมื่อ27 เมษายน 2565 บริษัทพลังงานยักษ์ใหญ่ของรัสเซีย Gazprom กล่าวว่าได้หยุดการส่งออกเชื้อเพลิงไปยังโปแลนด์และบัลแกเรียแล้ว ส่งผลให้ความตึงเครียดกับสหภาพยุโรปเพิ่มขึ้นจากสงครามของรัสเซียกับยูเครน ในแถลงการณ์ Gazprom ระบุว่าการหยุดจ่ายก๊าซครั้งนี้เป็นผลมาจากการที่บริษัทก๊าซของโปแลนด์และบัลแกเรียปฏิเสธที่จะจ่ายเงินเป็นรูเบิล ซึ่งเป็นสกุลเงินของรัสเซีย โดยก๊าซดังกล่าวถูกส่งผ่านท่อส่งยามาล ซึ่งทอดยาวจากไซบีเรียไปยังยุโรป ประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูตินสั่งประเทศต่างๆ ที่รัสเซียมองว่า "ไม่เป็นมิตร" ให้ชำระค่าก๊าซเป็นรูเบิลเมื่อเดือนที่แล้ว ซึ่งเป็นการตอบโต้การคว่ำบาตรรัสเซียของชาติตะวันตกกรณีปฏิบัติการทางทหารในยูเครน เคียร์มลินออกมาปกป้องการเปลี่ยนแปลงนี้ว่า "จำเป็น" โดยคำนึงถึงสิ่งที่เรียกว่า "ขั้นตอนที่ไม่เป็นมิตรที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน" ซึ่งรวมถึงการตัดสินใจอายัดเงินสำรองเงินตราต่างประเทศของธนาคารกลางรัสเซีย “พวกเขาปิดกั้นบัญชีของเรา หรือพูดให้เป็นภาษารัสเซียก็คือ พวกเขา ‘ขโมย’ เงินสำรองของเราไปจำนวนมาก” โฆษก Dmitry Peskov กล่าว การเคลื่อนไหวครั้งนี้ถูกมองกันอย่างกว้างขวางว่าเป็นความพยายามที่จะพยุงสกุลเงินและตอบโต้ยุโรปท่ามกลางการโจมตีของชาติตะวันตกที่บังคับใช้กับภาคการธนาคารของรัสเซีย หลังจากที่ประเทศเหล่านั้นได้อายัดสินทรัพย์สกุลเงินของธนาคารกลางของรัสเซีย เนื่องจากสงครามยูเครน ซึ่นกล่าวว่าการอายัดทรัพย์สินของรัสเซียในรูปเงินดอลลาร์และยูโรนั้น ชาติตะวันตกได้ยึดเงินค่าขนส่งน้ำมันไปฟรีๆ และรัสเซียไม่สามารถเสี่ยงต่อการค้าขายในรูปเงินยูโรและดอลลาร์ต่อไปได้ เนื่องจากการชำระเงินใหม่ก็อาจถูกอายัดได้เช่นกัน Agata Łoskot-Strachota นักวิจัยอาวุโสด้านนโยบายพลังงานที่ศูนย์การศึกษาด้านตะวันออกในกรุงวอร์ซอ กล่าวว่า ประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปบางประเทศ เช่น เยอรมนีและฮังการี พึ่งพาการนำเข้าเชื้อเพลิงจากรัสเซียเป็นอย่างมาก และระมัดระวังมากขึ้นในการประณามรัสเซียกรณีที่รัสเซียรุกรานยูเครน เธอบอกว่าการปิดก็อกน้ำมันนั้น "สิ่งที่รัสเซียสามารถทำได้คือการแบ่งแยกยุโรป เราต้องทำทุกอย่างเท่าที่ทำได้เพื่อให้แน่ใจว่าสิ่งนั้นจะไม่เกิดขึ้นจริง" สหภาพยุโรปมีแผนที่จะค่อยๆ ลดการนำเข้าเชื้อเพลิงจากรัสเซียภายในปี 2030 แต่ยังตั้งเป้าที่จะลดการซื้อก๊าซจากรัสเซียลงอย่างมากภายในสิ้นปีนี้ด้วย นางเออร์ซูลา ฟอน เดอร์ เลเยน ประธานคณะกรรมาธิการยุโรป ทวีตข้อความเมื่อวันพุธว่า สหภาพยุโรปจะตอบสนองต่อการแบล็กเมล์ของ Gazprom ทันที โดยจะดำเนินการอย่างเป็นหนึ่งเดียวและประสานงานกัน อย่างไรก็ตามเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2565 คณะกรรมาธิการยุโรปได้ออกแนวทางใหม่เกี่ยวกับวิธีที่บริษัทในสหภาพยุโรปสามารถชำระค่าแก๊สของรัสเซียเป็นรูเบิลได้โดยไม่ละเมิดมาตรการคว่ำบาตรของสหภาพยุโรป เนื่องจากบริษัทต่างๆ จะไม่ทำธุรกรรมกับธนาคารกลางของรัสเซียในขณะที่ชำระเงินค่าซื้อสินค้าด้วยเงินยูโรหรือดอลลาร์ ดังนั้นบริษัทต่างๆ จึงไม่ได้ละเมิดมาตรการคว่ำบาตรของสหภาพยุโรป ตามคำแนะนำดังกล่าว ที่มา ภาพจากออนไลน์ #Thaitimes
    Like
    Haha
    6
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 413 มุมมอง 0 รีวิว
  • ตำแหน่งเอกอัครราชทูตจีนประจำเกาหลีใต้ว่างเว้นมากว่า 3 เดือนแล้ว ถือว่านานที่สุดนับตั้งแต่ชาติทั้งสองสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกัน

    นายซิง ไห่หมิง เอกอัครราชทูตจีนคนก่อนเข้ารับตำแหน่งเมื่อเดือนมกราคม ปี 2563 และพ้นวาระเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคมที่ผ่านมา โดยขณะนี้มีนายฟัง คุน อุปทูตรักษาการไปพลางๆ ก่อน

    อย่างไรก็ตาม การแต่งตั้งล่าช้ามิใช่เพิ่งเกิดขึ้นกับกรณีเกาหลีใต้เท่านั้น

    จีนส่งนายเซี่ย เฟิง อดีต รมช.ต่างประเทศไปเป็นเอกอัครราชทูตที่สหรัฐอเมริกาเมื่อเดือนพฤษภาคมปีที่แล้ว หลังจากตำแหน่งว่างมานานเกือบ 5 เดือน นานที่สุดนับตั้งแต่มีการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกันในปี 2522

    นายไฉ รุ่น อดีตเอกอัครราชทูตประจำอิสราเอลก็เพิ่งได้รับการแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตประจำสหภาพยุโรปคนใหม่เมื่อเดือนที่แล้ว หลังจากตำแหน่งร้างมาตั้งแต่เดือนมีนาคม

    นักสังเกตการณ์มองว่า ความล่าช้าในการแต่งตั้งอาจสะท้อนให้เห็นถึงความท้าทายด้านภูมิรัฐศาสตร์ที่มีมากขึ้น นายชุง แจฮุง ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษาด้านจีนแห่งสถาบันเซจงในกรุงโซลระบุว่า ความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ เกาหลีใต้ และญี่ปุ่นแข็งแกร่งขึ้น ส่วนเกาหลีเหนือกับเกาหลีใต้ก็กลับมาเป็นศัตรูกันอีก จีนจึงต้องพิจารณาปัจจัยต่างๆ อย่างรอบคอบกว่าแต่ก่อน

    นายสือ อิ้นหง อาจารย์ด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของมหาวิทยาลัยเหรินหมินในกรุงปักกิ่งชี้ว่า หากไม่นับความขัดแย้งอย่างหนักกรณีเกาหลีใต้จะนำระบบต่อต้านขีปนาวุธของสหรัฐฯ (THAAD) มาติดตั้งในประเทศ ซึ่งจะเป็นอันตรายต่อจีนเมื่อปี 2559 แล้ว ความสัมพันธ์จีน-เกาหลีใต้ขณะนี้ถือว่าตกต่ำสุดนับตั้งแต่สถาปนาความสัมพันธ์กันในปี 2535 จากสาเหตุสำคัญคือเกาหลีใต้กระชับความร่วมมือด้านความมั่นคงกับสหรัฐฯ ส่วนจีนก็ผ่อนปรนอย่างชัดเจนเรื่องที่เกาหลีเหนือพัฒนาขีปนาวุธนิวเคลียร์

    ในความเห็นของนายจื่อฉวิน จู อาจารย์ด้านรัฐศาสตร์และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของมหาวิทยาลัยบักเนลล์ (Bucknell University) ในสหรัฐฯ นั้น ไม่จำเป็นต้องตีความเรื่องตำแหน่งเอกอัครราชทูตว่างให้มากเกินไป เพราะเมื่อพิจารณาถึงความสำคัญของเกาหลีใต้และคาบสมุทรเกาหลีแล้ว ปักกิ่งน่าจะแต่งตั้งนักการทูตรุ่นเฮฟวีเวต ซึ่งจะได้รับการต้อนรับจากโซลในเร็วๆ นี้อย่างแน่นอน เขายังเห็นว่า มีหลายปัจจัยที่ทำให้การแต่งตั้งล่าช้า เช่น ปักกิ่งมีเรื่องที่ต้องให้ความสำคัญมากกว่าในกรณีสถานการณ์ในช่องแคบไต้หวันและทะเลจีนใต้

    นายจู เฟิง คณบดีบริหารของโรงเรียนการศึกษานานาชาติแห่งมหาวิทยาลัยหนันจิงระบุว่า สำหรับความสัมพันธ์ทวิภาคีแล้ว การที่เอกอัครราชทูตว่างชั่วคราวไม่ใช่ปัญหาใหญ่ เพราะอุปทูตปฏิบัติหน้าที่แทนชั่วคราวได้

    ตำแหน่งอาจว่างไปอีก 2-3 เดือน หลังการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ นายชุง แจฮุง แห่งสถาบันเซจงในกรุงโซลคาดคะเน

    ที่มา : เซาท์ไชน่ามอร์นิงโพสต์

    https://mgronline.com/china/detail/9670000104850

    #Thaitimes
    ตำแหน่งเอกอัครราชทูตจีนประจำเกาหลีใต้ว่างเว้นมากว่า 3 เดือนแล้ว ถือว่านานที่สุดนับตั้งแต่ชาติทั้งสองสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกัน นายซิง ไห่หมิง เอกอัครราชทูตจีนคนก่อนเข้ารับตำแหน่งเมื่อเดือนมกราคม ปี 2563 และพ้นวาระเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคมที่ผ่านมา โดยขณะนี้มีนายฟัง คุน อุปทูตรักษาการไปพลางๆ ก่อน อย่างไรก็ตาม การแต่งตั้งล่าช้ามิใช่เพิ่งเกิดขึ้นกับกรณีเกาหลีใต้เท่านั้น จีนส่งนายเซี่ย เฟิง อดีต รมช.ต่างประเทศไปเป็นเอกอัครราชทูตที่สหรัฐอเมริกาเมื่อเดือนพฤษภาคมปีที่แล้ว หลังจากตำแหน่งว่างมานานเกือบ 5 เดือน นานที่สุดนับตั้งแต่มีการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกันในปี 2522 นายไฉ รุ่น อดีตเอกอัครราชทูตประจำอิสราเอลก็เพิ่งได้รับการแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตประจำสหภาพยุโรปคนใหม่เมื่อเดือนที่แล้ว หลังจากตำแหน่งร้างมาตั้งแต่เดือนมีนาคม นักสังเกตการณ์มองว่า ความล่าช้าในการแต่งตั้งอาจสะท้อนให้เห็นถึงความท้าทายด้านภูมิรัฐศาสตร์ที่มีมากขึ้น นายชุง แจฮุง ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษาด้านจีนแห่งสถาบันเซจงในกรุงโซลระบุว่า ความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ เกาหลีใต้ และญี่ปุ่นแข็งแกร่งขึ้น ส่วนเกาหลีเหนือกับเกาหลีใต้ก็กลับมาเป็นศัตรูกันอีก จีนจึงต้องพิจารณาปัจจัยต่างๆ อย่างรอบคอบกว่าแต่ก่อน นายสือ อิ้นหง อาจารย์ด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของมหาวิทยาลัยเหรินหมินในกรุงปักกิ่งชี้ว่า หากไม่นับความขัดแย้งอย่างหนักกรณีเกาหลีใต้จะนำระบบต่อต้านขีปนาวุธของสหรัฐฯ (THAAD) มาติดตั้งในประเทศ ซึ่งจะเป็นอันตรายต่อจีนเมื่อปี 2559 แล้ว ความสัมพันธ์จีน-เกาหลีใต้ขณะนี้ถือว่าตกต่ำสุดนับตั้งแต่สถาปนาความสัมพันธ์กันในปี 2535 จากสาเหตุสำคัญคือเกาหลีใต้กระชับความร่วมมือด้านความมั่นคงกับสหรัฐฯ ส่วนจีนก็ผ่อนปรนอย่างชัดเจนเรื่องที่เกาหลีเหนือพัฒนาขีปนาวุธนิวเคลียร์ ในความเห็นของนายจื่อฉวิน จู อาจารย์ด้านรัฐศาสตร์และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของมหาวิทยาลัยบักเนลล์ (Bucknell University) ในสหรัฐฯ นั้น ไม่จำเป็นต้องตีความเรื่องตำแหน่งเอกอัครราชทูตว่างให้มากเกินไป เพราะเมื่อพิจารณาถึงความสำคัญของเกาหลีใต้และคาบสมุทรเกาหลีแล้ว ปักกิ่งน่าจะแต่งตั้งนักการทูตรุ่นเฮฟวีเวต ซึ่งจะได้รับการต้อนรับจากโซลในเร็วๆ นี้อย่างแน่นอน เขายังเห็นว่า มีหลายปัจจัยที่ทำให้การแต่งตั้งล่าช้า เช่น ปักกิ่งมีเรื่องที่ต้องให้ความสำคัญมากกว่าในกรณีสถานการณ์ในช่องแคบไต้หวันและทะเลจีนใต้ นายจู เฟิง คณบดีบริหารของโรงเรียนการศึกษานานาชาติแห่งมหาวิทยาลัยหนันจิงระบุว่า สำหรับความสัมพันธ์ทวิภาคีแล้ว การที่เอกอัครราชทูตว่างชั่วคราวไม่ใช่ปัญหาใหญ่ เพราะอุปทูตปฏิบัติหน้าที่แทนชั่วคราวได้ ตำแหน่งอาจว่างไปอีก 2-3 เดือน หลังการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ นายชุง แจฮุง แห่งสถาบันเซจงในกรุงโซลคาดคะเน ที่มา : เซาท์ไชน่ามอร์นิงโพสต์ https://mgronline.com/china/detail/9670000104850 #Thaitimes
    MGRONLINE.COM
    ทำไมจีนยังไม่ส่งทูตคนใหม่มาประจำที่เกาหลีใต้?
    ตำแหน่งเอกอัครราชทูตจีนประจำเกาหลีใต้ว่างเว้นมากว่า 3 เดือนแล้ว ถือว่านานที่สุดนับตั้งแต่ชาติทั้งสองสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกัน
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 524 มุมมอง 0 รีวิว
  • ณ บ้านพระอาทิตย์
    ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์

    การประกาศขีดเส้นเขตไหล่ทวีป และทะเลอาณาเขตของกัมพูชาในปี พ.ศ. 2515 ที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายทะเลสากลนั้น ได้มีการละเมิดสิทธิและอธิปไตยทางทะเลของราชอาณาจักรไทยอย่างชัดเจน และส่งผลทำให้ราชอาณาจักรไทยได้ “ปฏิเสธ” การประกาศขีดเส้นที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายสากลของกัมพูชาไปแล้ว ด้วยการมีพระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516



    นอกจากนั้นในสมัยรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ได้มีมติคณะรัฐมนตรีเห็นชอบในหลักการให้ยกเลิกบันทึกความเข้าใจระหว่างราชอาณาจักไทย-กัมพูชา เกี่ยวกับอ้างสิทธิทับซ้อนทางทะเลในอ่าวไทย ปี พ.ศ. 2544 (MOU 2544) ตั้งแต่วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 อีกด้วย

    โดยมีรายละเอียด ดังนี้

    พระราชกฤษฎีกาของราชอาณาจักรกัมพูชาได้กำหนดแผนที่ “เส้นเขตไหล่ทวีป” ของราชอาณาจักรกัมพูชา ฉบับเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 ที่ลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 มาประชิดเกาะกูดด้านตะวันออก แล้วอ้อมเกาะกูดไปด้านล่างแล้ววกกลับมาเป็นรูปตัว U แล้วลากเส้นต่อเนื่องไปยังทิศตะวันตกของเกาะกูดลึกเข้าไปในอ่าวไทยก็ดี หรือพระราชกฤษฎีกาของราชอาณาจักรกัมพูชาฝ่ายเดียว ซึ่งกำหนดแผนที่แสดงการลาก “เส้นทะเลอาณาเขต” ของกัมพูชาจากหลักเขตที่ 73 ประชิดด้านทิศตะวันตกของเกาะกูด ฉบับเมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ.2515 ก็ดี ล้วนเป็นแผนที่กำหนดเส้นเขตแดนทางทะเลที่ “ละเมิดสิทธิและละเมิดอธิปไตยของประเทศไทย“ทั้งสิ้น และยังไม่เป็นไปตามกฎหมายทะเลสากล เพราะไม่เป็นไปตามบทบัญญัติอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 อีกด้วย โดยมีผลตามมาดังนี้

    1.ละเมิด ทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเลของราชอาณาจักรไทยรอบเกาะกูด

    2.ละเมิดเขตทะเลต่อเนื่อง 24 ไมล์ทะเลของราชอาณาจักรไทยรอบเกาะกูด

    3.ละเมิดเขตเศรษฐกิจจำเพาะของราชอาณาจักรไทยที่มีการแบ่งครึ่งมุมระหว่างเกาะกูดกับเกาะกงจากหลักเขตที่ 73 จึงเป็นการละเมิดเส้นแบ่งที่ระยะทางเท่ากันระหว่างไทยและกัมพูชา (Equidistant Line)

    อย่างไรก็ตาม ราชอาณาจักรไทยได้เคย “ปฏิเสธ” การขีดเส้นทางทะเลของกัมพูชาที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายสากลไปแล้วในเวลาต่อมา

    โดยราชอาณาจักรไทยได้มีพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยของราชอาณาจักรไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 ลงราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2516 โดยมีจอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ

    “พระบรมราชโองการ” ตรงกับภาษาอังกฤษคำว่า “Royal Command” ซึ่งมีความหมายว่า “คำสั่งราชการของพระมหากษัตริย์”

    พระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 เป็นพระราชอำนาจภายใต้ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2515 ที่เกี่ยวพันกับสถานภาพกำหนดเขตแดนทางทะเลของ “ราชอาณาจักรไทย” กับ “จอมทัพไทย” และองค์พระมหากษัตริย์ไทยผู้ทรงเป็นประมุขแห่งราชอาณาจักรไทยภายใต้รัฐธรรมนูญ ดังนี้

    “มาตรา 1 ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวจะแบ่งแยกมิได้

    พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย

    มาตรา 18 บรรดาบทกฎหมาย พระราชหัตถเลขา และพระบรมราชโองการใดๆ อันเกี่ยวกับราชการแผ่นดิน ต้องมีนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ”

    ดังนั้น พระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 เป็นพระบรมราชโองการที่เกี่ยวกับราชการแผ่นดิน จึงมีผลตามกฎหมายและต้องมีการบังคับใช้จนถึงปัจจุบัน หากมีการเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่นต้องมีการแก้ไขด้วยพระบรมราชโองการเช่นกัน ดังนั้นจะอาศัยนักการเมืองไปตกลงกันเองตามอำเภอใจโดยขัดต่อพระบรมราชโองการนั้นไม่ได้

    ความสำคัญของพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ที่ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 นอกจากจะมีความหมายถึงการ “ปฏิเสธ” เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาที่รุกล้ำราชอาณาเขตทะเลไทยแล้ว ยังได้ประกาศถึงเรื่อง “สิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติ” อย่างชัดเจนดังปรากฏเป็นข้อความในพระบรมราชโองการความว่า



    “เพื่อความมุ่งประสงค์ในการใช้สิทธิอธิปไตยของประเทศไทยในการสำรวจและการแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในอ่าวไทย จึงกำหนดให้เขตไหล่ทวีปตามแผนที่และพิกัดภูมิศาสตร์ของแต่ละจุดที่ประกอบเป็นเขตไหล่ทวีปของไทย ซึ่งแนบท้ายประกาศนี้เป็นเขตไหล่ทวีปของประเทศไทยด้านอ่าวไทย“

    อย่างไรก็ตาม ก่อนที่จะมีพระบรมราชโองการฉบับนี้เป็นเวลา 2 ปี คือปี พ.ศ. 2514 และ พ.ศ. 2515 รัฐบาลราชอาณาจักรไทยได้ทำการให้สัมปทานปิโตรเลียมให้กับต่างชาติไปแล้วหลายแปลง โดยเฉพาะกลุ่มทุนจาก สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และญี่ปุ่น ที่ยึดถือการซื้อขายปิโตรเลียมเป็นเงินดอลลาร์สหรัฐ หรือที่เรียกว่า ปิโตรดอลลาร์

    ดังนั้น การที่กัมพูชาตราพระราชกฤษฎีกาของราชอาณาจักรกัมพูชาได้กำหนดแผนที่ “เส้นเขตไหล่ทวีป” ของราชอาณาจักรกัมพูชา ฉบับเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 ย่อมทำให้ผู้รับสัมปทานในประเทศไทยยังไม่สามารถดำเนินการให้สำรวจและแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในอ่าวไทยได้ และอาจทำให้แหล่งปิโตรเลียมของราชอาณาจักรไทยกลายเป็นของกัมพูชาได้ด้วย

    ประกอบกับในเวลานั้นประเทศไทยได้ผ่านบทเรียนราคาแพงมาเป็นเวลา 10 ปีที่ได้สูญเสียปราสาทพระวิหารไปแล้วตั้งแต่ปี พ.ศ. 2505 ที่คำตัดสินของศาลโลกให้ประเทศไทยแพ้คดีด้วยเพราะ “กฎหมายปิดปาก” โดยอ้างว่าฝ่ายไทยนิ่งเฉยไม่ปฏิเสธต่อแผนที่ฝรั่งเศส อ้างว่าฝ่ายไทยนิ่งเฉยต่อการสำแดงอธิปไตยของกัมพูชา ทั้งๆ ที่ปราสาทพระวิหารตั้งอยู่บนยอดหน้าผาฝั่งราชอาณาจักรไทยซึ่งเป็นเส้นเขตแดนตามธรรมชาติที่ชัดเจน

    ดังนั้น ประเทศไทยจะดำเนินการปฏิเสธเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาฉบับปี พ.ศ. 2515 จึงต้องมีความรอบคอบ รัดกุม และคำนึงถึงการปกป้องสิทธิและอธิปไตยของชาติ ไม่ให้ถูกแย่งชิงแหล่งสัมปทานปิโตรเลียมในอ่าวไทยให้ไปเป็นของกัมพูชา ไม่ให้ซ้ำรอยการสูญเสียปราสาทพระวิหารของไทยในปี พ.ศ. 2505 ด้วย

    ดังนั้น เพื่อความสมบูรณ์และชอบธรรมในการ “ปฏิเสธ” แผนที่เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาที่ไม่กระทำการตามกฎหมายทะเลสากล พระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 จึงอยู่บน “มูลฐานของกฎหมายทะเลสากล” ดังความปรากฎในพระบรมราชโองการว่า

    “ในการกำหนดเขตไหล่ทวีปนี้ ได้ยึดถือมูลฐานแห่งสิทธิตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศ อันเป็นที่ยอมรับนับถือกันทั่วไป และตามอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 และประเทศไทยได้ให้สัตยาบันไว้แล้วเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2511”

    แม้ราชอาณาจักรไทยจะมีพระบรมราชโองการประกาศเส้นเขตไหล่ทวีปที่อยู่บนมูลฐานของกฎหมายสากล แต่ก็ยังมีความตระหนักด้วยว่าอาจจะต้องมีความเสี่ยงที่จะเกิดข้อพิพาท “ในอนาคต” กับเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาอย่างแน่นอน

    ราชอาณาจักรไทยจึงได้ประกาศโดยพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 กำหนดเส้นเขตไหล่ทวีปนั้น ได้วางหลักในอนาคตว่าหากจะมีการตกลงกันในวันข้างหน้าจะต้องใช้มูลฐานของกฎหมายสากลเท่านั้น

    ซึ่งแปลว่าฝ่ายราชอาณาจักรไทยนอกจากจะประกาศ “ปฏิเสธ” เส้นเขตไหล่ทวีปที่ละเมิดสิทธิและอธิปไตย ณ วันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 แล้ว ยังจะต้อง “ปฏิเสธ” เส้นเขตไหล่ทวีปที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายสากลทุกกรณีใน “อนาคต” ด้วย ดังข้อความปรากฏในพระบรมราชโองการความว่า

    “สำหรับสิทธิอธิปไตยในส่วนที่เป็นทะเลอาณาเขตซึ่งต่อเนื่องกับทะเลอาณาเขตใกล้เคียงอันจะถือเป็นจุดเริ่มของเส้นแบ่งเขตไหล่ทวีปนั้นจะเป็นไปตามที่จะได้ตกลงกัน โดยยึดถือมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเล อาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958“



    หมายความว่าหากราชอาณาจักรไทยมีข้อพิพาทในอาณาเขตใกล้เคียงกันแล้วก็เปิดทางให้ตกลงกันได้ แต่ต้อง “ยึดถือมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเล อาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958” เท่านั้น

    ดังเช่นกรณีพื้นที่ทับซ้อนทางทะเลระหว่างไทย-มาเลเซีย ที่ต่างฝ่ายต่างอ้างเส้นเขตไหล่ทวีปของประเทศตัวเองให้ได้เปรียบที่สุด

    แต่เมื่อทั้ง 2 ประเทศได้ตกลงกันโดยอาศัยมูลฐานของกฎหมายทะเลสากล จึงสามารถยอมรับการอ้างสิทธิทับซ้อนเหลื่อมล้ำกันของพื้นที่ซึ่งกันและกันได้ และยังคงเป็นการดำเนินรอยตามพระบรมราชโองการสมัยรัชกาลที่ 9 ที่ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516

    ด้วยเหตุนี้จึงทำให้เกิดพื้นที่พัฒนาร่วมไทย-มาเลเซียในการแบ่งปันผลผลิตปิโตรเลียม โดยการจัดตั้งองค์กรร่วมเพื่อแสวงหาผลประโยชน์จากทรัพยากรในพื้นดินใต้ทะเลในบริเวณที่กำหนดของไหล่ทวีปของไทย-มาเลเซียในอ่าวไทย

    แต่เมื่อจะมีบันทึกความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดตั้งองค์กรร่วมเพื่อแสวงหาผลประโยชน์จากทรัพยากรในพื้นดินใต้ทะเลในบริเวณที่กำหนดของไหล่ทวีปของประเทศทั้งสองในอ่าวไทยแล้ว ก็ยังต้องอาศัยพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ประกาศใช้บันทีกความเข้าใจฉบับดังกล่าว เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2523 และรับสนองพระบรมราชโองการโดย พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรี

    แต่กรณีของเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาซึ่งไม่อยู่บนฐานของมูลฐานของกฎหมายทะเลสากล ซึ่งราชอาณาจักรไทย ได้ “ปฏิเสธ” ไปแล้วโดยมีพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ที่ได้ทรงประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยของราชอาณาจักรไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 และได้ “ปฏิเสธ” การตกลงกันในอนาคตด้วย เพราะการขีดเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาดังกล่าวไม่ได้อยู่บนมูลฐานของมูลฐานแห่งบทบัญญัติของกฎหมายทะเลสากล

    ดังนั้น บันทึกความเข้าใจระหว่างไทย-กัมพูชาเรื่องพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อนทางทะเลในอ่าวไทย ปี พ.ศ. 2544 (MOU 2544) ในสมัยรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร ลงนามกันเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2544 ได้เปลี่ยนสถานภาพในหลักการสำคัญ จากการ “ปฏิเสธ“ เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาที่ละเมิดสิทธิและอธิปไตยของราชอาณาจักรไทย มากลายเป็น “รับรู้” และ “ไม่ปฏิเสธ” พื้นที่อ้างสิทธิเขตไหล่ทวีปของประเทศกัมพูชาที่ขีดเส้นตามอำเภอใจและไม่เป็นไปตามกฎหมายสากล

    การที่ประเทศไทย “ไม่ปฏิเสธ” การลากเส้นเขตไหล่ทวีปที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายสากลของกัมพูชา ย่อมเท่ากับประเทศไทยเข้าสู่ภาวะสุ่มเสี่ยงที่ถูกตีความได้ว่าราชอาณาจักรไทยได้ “สละสิทธิ” จุดแข็งที่สุดคือการลากเส้นไหล่ทวีปตามกฎหมายสากลเพียงอย่างเดียว ให้กลายเป็นการยอมรับการเกิดพื้นที่ไม่แน่ชัดเหลื่อมซ้อนกันระหว่างการลากเส้นตามกฎหมายสากลของราชอาณาจักรไทย กับการลากเส้นตามอำเภอใจของกัมพูชาที่ละเมิดสิทธิและอธิปไตยของราชอาณาจักรไทย

    MOU 2544 จึงอาจเข้าข่ายการฝ่าฝืนพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยของราชอาณาจักรไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 เนื่องด้วยมีการ “รับรู้” และ “ไม่ปฏิเสธ” การอ้างสิทธิทับซ้อนโดยอาศัยการขีดเส้นไหล่ทวีปของกัมพูชาซึ่งไม่อยู่บน ”มูลฐานของกฎหมายทะเลสากล“

    เรากำลังขาดสติเดินตามรอย “กฎหมายปิดปาก”เสี่ยงสูญเสียเกาะกูดในอนาคตได้เหมือนการสูญเสียปราสาทพระวิหารในอดีตหรือไม่?

    ความสุ่มเสี่ยงดังกล่าวได้เคยเป็นปัญหาที่มีการถกเถียงกันอย่างมากระหว่างรัฐบาลไทยและภาคประชาชนต่อเนื่องมาก่อนแล้วเมื่อ 16 ปีก่อน

    จนในที่สุดในสมัยรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี ได้มีการประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบในหลักการให้ยกเลิก MOU 2544 ไปแล้ว ดังปรากฏหลักฐานของ นายกษิต ภิรมย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ได้ตอบกระทู้ของนายคำนูณ สิทธิสมาน สมาชิกวุฒิสภา เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2553 ความตอนหนึ่งว่า

    “ขอกราบเรียนดังนี้ คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2552 เห็นชอบในหลักการให้กระทรวงการต่างประเทศดำเนินการยกเลิกบันทึกความเข้าใจระหว่างไทยและกัมพูชาว่าด้วยพื้นที่ที่ไทยและกัมพูชาอ้างสิทธิในไหล่ทวีปทับซ้อนกัน ฉบับวันที่ 18 มิถุนายน 2554 แต่โดยที่เรื่องดังกล่าวต้องนำเสนอรัฐสภาเพื่อขอความเห็นชอบ

    จึงมอบหมายให้กระทรวงการต่างประเทศพิจารณาข้อกฎหมายให้รอบคอบก่อนดำเนินการต่อไป แล้วก็กระทรวงการต่างประเทศโดยกรมสนธิสัญญาและกฎหมายกำลังดำเนินการศึกษาและพิจารณาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องโดยละเอียดก่อนนำเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณา แล้วก็เพื่อเสนอต่อรัฐสภาต่อไป”

    โดยพรรคร่วมรัฐบาลในขณะนั้นที่เห็นชอบในหลักการให้ยกเลิก MOU 2544 ประกอบไปด้วย พรรคประชาธิปัตย์ พรรคภูมิใจไทย พรรคชาติไทยพัฒนา พรรคเพื่อแผ่นดิน พรรครวมชาติพัฒนา พรรคกิจสังคม และพรรคมาตุภูมิ

    จริงอยู่ที่ว่าการยกเลิก MOU 2544 จนปัจจุบันยังไม่แล้วเสร็จ แต่มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 มีผลผูกพันทางกฎหมายอย่างแน่นอน และยังมีผลจนถึงปัจจุบันหากยังไม่มีมติคณะรัฐมนตรีเป็นอย่างอื่น

    ดังนั้น การปฏิบัติหน้าที่ของทุกกระทรวงจะดำเนินการไปในหลักการอื่นโดยฝ่าฝืนต่อมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 จะทำต่อไปได้อย่างไร ยกเว้นเสียแต่ว่ามีการขอความเห็นชอบต่อคณะรัฐมนตรีเสียใหม่ จริงหรือไม่?

    ดังนั้น การเดินหน้าในการแบ่งผลประโยชน์ระหว่างไทย-กัมพูชาตาม MOU 2544 ต่อไป อาจเข้าข่ายไม่เพียงเป็นการฝ่าฝืนพระบรมราชโองการสมัยรัชกาลที่ 9 ที่ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 เท่านั้น แต่ยังฝ่าฝืนต่อมติคณะรัฐมนตรีเมื่อ วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 อีกด้วย

    สำหรับ นายภูมิธรรม เวชชยชัย รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม แทนที่จะมากล่าวหาว่าประชาชนผู้ที่ไม่เห็นด้วยกับการเดินหน้า MOU 2544 ว่าเป็นพวกคลั่งชาตินั้น ก็ควรจะสำรวจรัฐบาลตัวเองด้วยว่ากำลังขายชาติอยู่หรือไม่

    ด้วยจิตคารวะ
    ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์
    คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต

    https://mgronline.com/daily/detail/9670000105530

    #Thaitimes
    ณ บ้านพระอาทิตย์ ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ การประกาศขีดเส้นเขตไหล่ทวีป และทะเลอาณาเขตของกัมพูชาในปี พ.ศ. 2515 ที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายทะเลสากลนั้น ได้มีการละเมิดสิทธิและอธิปไตยทางทะเลของราชอาณาจักรไทยอย่างชัดเจน และส่งผลทำให้ราชอาณาจักรไทยได้ “ปฏิเสธ” การประกาศขีดเส้นที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายสากลของกัมพูชาไปแล้ว ด้วยการมีพระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 นอกจากนั้นในสมัยรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ได้มีมติคณะรัฐมนตรีเห็นชอบในหลักการให้ยกเลิกบันทึกความเข้าใจระหว่างราชอาณาจักไทย-กัมพูชา เกี่ยวกับอ้างสิทธิทับซ้อนทางทะเลในอ่าวไทย ปี พ.ศ. 2544 (MOU 2544) ตั้งแต่วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 อีกด้วย โดยมีรายละเอียด ดังนี้ พระราชกฤษฎีกาของราชอาณาจักรกัมพูชาได้กำหนดแผนที่ “เส้นเขตไหล่ทวีป” ของราชอาณาจักรกัมพูชา ฉบับเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 ที่ลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 มาประชิดเกาะกูดด้านตะวันออก แล้วอ้อมเกาะกูดไปด้านล่างแล้ววกกลับมาเป็นรูปตัว U แล้วลากเส้นต่อเนื่องไปยังทิศตะวันตกของเกาะกูดลึกเข้าไปในอ่าวไทยก็ดี หรือพระราชกฤษฎีกาของราชอาณาจักรกัมพูชาฝ่ายเดียว ซึ่งกำหนดแผนที่แสดงการลาก “เส้นทะเลอาณาเขต” ของกัมพูชาจากหลักเขตที่ 73 ประชิดด้านทิศตะวันตกของเกาะกูด ฉบับเมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ.2515 ก็ดี ล้วนเป็นแผนที่กำหนดเส้นเขตแดนทางทะเลที่ “ละเมิดสิทธิและละเมิดอธิปไตยของประเทศไทย“ทั้งสิ้น และยังไม่เป็นไปตามกฎหมายทะเลสากล เพราะไม่เป็นไปตามบทบัญญัติอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 อีกด้วย โดยมีผลตามมาดังนี้ 1.ละเมิด ทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเลของราชอาณาจักรไทยรอบเกาะกูด 2.ละเมิดเขตทะเลต่อเนื่อง 24 ไมล์ทะเลของราชอาณาจักรไทยรอบเกาะกูด 3.ละเมิดเขตเศรษฐกิจจำเพาะของราชอาณาจักรไทยที่มีการแบ่งครึ่งมุมระหว่างเกาะกูดกับเกาะกงจากหลักเขตที่ 73 จึงเป็นการละเมิดเส้นแบ่งที่ระยะทางเท่ากันระหว่างไทยและกัมพูชา (Equidistant Line) อย่างไรก็ตาม ราชอาณาจักรไทยได้เคย “ปฏิเสธ” การขีดเส้นทางทะเลของกัมพูชาที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายสากลไปแล้วในเวลาต่อมา โดยราชอาณาจักรไทยได้มีพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยของราชอาณาจักรไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 ลงราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2516 โดยมีจอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ “พระบรมราชโองการ” ตรงกับภาษาอังกฤษคำว่า “Royal Command” ซึ่งมีความหมายว่า “คำสั่งราชการของพระมหากษัตริย์” พระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 เป็นพระราชอำนาจภายใต้ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2515 ที่เกี่ยวพันกับสถานภาพกำหนดเขตแดนทางทะเลของ “ราชอาณาจักรไทย” กับ “จอมทัพไทย” และองค์พระมหากษัตริย์ไทยผู้ทรงเป็นประมุขแห่งราชอาณาจักรไทยภายใต้รัฐธรรมนูญ ดังนี้ “มาตรา 1 ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวจะแบ่งแยกมิได้ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย มาตรา 18 บรรดาบทกฎหมาย พระราชหัตถเลขา และพระบรมราชโองการใดๆ อันเกี่ยวกับราชการแผ่นดิน ต้องมีนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ” ดังนั้น พระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 เป็นพระบรมราชโองการที่เกี่ยวกับราชการแผ่นดิน จึงมีผลตามกฎหมายและต้องมีการบังคับใช้จนถึงปัจจุบัน หากมีการเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่นต้องมีการแก้ไขด้วยพระบรมราชโองการเช่นกัน ดังนั้นจะอาศัยนักการเมืองไปตกลงกันเองตามอำเภอใจโดยขัดต่อพระบรมราชโองการนั้นไม่ได้ ความสำคัญของพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ที่ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 นอกจากจะมีความหมายถึงการ “ปฏิเสธ” เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาที่รุกล้ำราชอาณาเขตทะเลไทยแล้ว ยังได้ประกาศถึงเรื่อง “สิทธิอธิปไตยในการสำรวจและแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติ” อย่างชัดเจนดังปรากฏเป็นข้อความในพระบรมราชโองการความว่า “เพื่อความมุ่งประสงค์ในการใช้สิทธิอธิปไตยของประเทศไทยในการสำรวจและการแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในอ่าวไทย จึงกำหนดให้เขตไหล่ทวีปตามแผนที่และพิกัดภูมิศาสตร์ของแต่ละจุดที่ประกอบเป็นเขตไหล่ทวีปของไทย ซึ่งแนบท้ายประกาศนี้เป็นเขตไหล่ทวีปของประเทศไทยด้านอ่าวไทย“ อย่างไรก็ตาม ก่อนที่จะมีพระบรมราชโองการฉบับนี้เป็นเวลา 2 ปี คือปี พ.ศ. 2514 และ พ.ศ. 2515 รัฐบาลราชอาณาจักรไทยได้ทำการให้สัมปทานปิโตรเลียมให้กับต่างชาติไปแล้วหลายแปลง โดยเฉพาะกลุ่มทุนจาก สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และญี่ปุ่น ที่ยึดถือการซื้อขายปิโตรเลียมเป็นเงินดอลลาร์สหรัฐ หรือที่เรียกว่า ปิโตรดอลลาร์ ดังนั้น การที่กัมพูชาตราพระราชกฤษฎีกาของราชอาณาจักรกัมพูชาได้กำหนดแผนที่ “เส้นเขตไหล่ทวีป” ของราชอาณาจักรกัมพูชา ฉบับเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 ย่อมทำให้ผู้รับสัมปทานในประเทศไทยยังไม่สามารถดำเนินการให้สำรวจและแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในอ่าวไทยได้ และอาจทำให้แหล่งปิโตรเลียมของราชอาณาจักรไทยกลายเป็นของกัมพูชาได้ด้วย ประกอบกับในเวลานั้นประเทศไทยได้ผ่านบทเรียนราคาแพงมาเป็นเวลา 10 ปีที่ได้สูญเสียปราสาทพระวิหารไปแล้วตั้งแต่ปี พ.ศ. 2505 ที่คำตัดสินของศาลโลกให้ประเทศไทยแพ้คดีด้วยเพราะ “กฎหมายปิดปาก” โดยอ้างว่าฝ่ายไทยนิ่งเฉยไม่ปฏิเสธต่อแผนที่ฝรั่งเศส อ้างว่าฝ่ายไทยนิ่งเฉยต่อการสำแดงอธิปไตยของกัมพูชา ทั้งๆ ที่ปราสาทพระวิหารตั้งอยู่บนยอดหน้าผาฝั่งราชอาณาจักรไทยซึ่งเป็นเส้นเขตแดนตามธรรมชาติที่ชัดเจน ดังนั้น ประเทศไทยจะดำเนินการปฏิเสธเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาฉบับปี พ.ศ. 2515 จึงต้องมีความรอบคอบ รัดกุม และคำนึงถึงการปกป้องสิทธิและอธิปไตยของชาติ ไม่ให้ถูกแย่งชิงแหล่งสัมปทานปิโตรเลียมในอ่าวไทยให้ไปเป็นของกัมพูชา ไม่ให้ซ้ำรอยการสูญเสียปราสาทพระวิหารของไทยในปี พ.ศ. 2505 ด้วย ดังนั้น เพื่อความสมบูรณ์และชอบธรรมในการ “ปฏิเสธ” แผนที่เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาที่ไม่กระทำการตามกฎหมายทะเลสากล พระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 จึงอยู่บน “มูลฐานของกฎหมายทะเลสากล” ดังความปรากฎในพระบรมราชโองการว่า “ในการกำหนดเขตไหล่ทวีปนี้ ได้ยึดถือมูลฐานแห่งสิทธิตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศ อันเป็นที่ยอมรับนับถือกันทั่วไป และตามอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 และประเทศไทยได้ให้สัตยาบันไว้แล้วเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2511” แม้ราชอาณาจักรไทยจะมีพระบรมราชโองการประกาศเส้นเขตไหล่ทวีปที่อยู่บนมูลฐานของกฎหมายสากล แต่ก็ยังมีความตระหนักด้วยว่าอาจจะต้องมีความเสี่ยงที่จะเกิดข้อพิพาท “ในอนาคต” กับเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาอย่างแน่นอน ราชอาณาจักรไทยจึงได้ประกาศโดยพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 กำหนดเส้นเขตไหล่ทวีปนั้น ได้วางหลักในอนาคตว่าหากจะมีการตกลงกันในวันข้างหน้าจะต้องใช้มูลฐานของกฎหมายสากลเท่านั้น ซึ่งแปลว่าฝ่ายราชอาณาจักรไทยนอกจากจะประกาศ “ปฏิเสธ” เส้นเขตไหล่ทวีปที่ละเมิดสิทธิและอธิปไตย ณ วันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 แล้ว ยังจะต้อง “ปฏิเสธ” เส้นเขตไหล่ทวีปที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายสากลทุกกรณีใน “อนาคต” ด้วย ดังข้อความปรากฏในพระบรมราชโองการความว่า “สำหรับสิทธิอธิปไตยในส่วนที่เป็นทะเลอาณาเขตซึ่งต่อเนื่องกับทะเลอาณาเขตใกล้เคียงอันจะถือเป็นจุดเริ่มของเส้นแบ่งเขตไหล่ทวีปนั้นจะเป็นไปตามที่จะได้ตกลงกัน โดยยึดถือมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเล อาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958“ หมายความว่าหากราชอาณาจักรไทยมีข้อพิพาทในอาณาเขตใกล้เคียงกันแล้วก็เปิดทางให้ตกลงกันได้ แต่ต้อง “ยึดถือมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเล อาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958” เท่านั้น ดังเช่นกรณีพื้นที่ทับซ้อนทางทะเลระหว่างไทย-มาเลเซีย ที่ต่างฝ่ายต่างอ้างเส้นเขตไหล่ทวีปของประเทศตัวเองให้ได้เปรียบที่สุด แต่เมื่อทั้ง 2 ประเทศได้ตกลงกันโดยอาศัยมูลฐานของกฎหมายทะเลสากล จึงสามารถยอมรับการอ้างสิทธิทับซ้อนเหลื่อมล้ำกันของพื้นที่ซึ่งกันและกันได้ และยังคงเป็นการดำเนินรอยตามพระบรมราชโองการสมัยรัชกาลที่ 9 ที่ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 ด้วยเหตุนี้จึงทำให้เกิดพื้นที่พัฒนาร่วมไทย-มาเลเซียในการแบ่งปันผลผลิตปิโตรเลียม โดยการจัดตั้งองค์กรร่วมเพื่อแสวงหาผลประโยชน์จากทรัพยากรในพื้นดินใต้ทะเลในบริเวณที่กำหนดของไหล่ทวีปของไทย-มาเลเซียในอ่าวไทย แต่เมื่อจะมีบันทึกความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดตั้งองค์กรร่วมเพื่อแสวงหาผลประโยชน์จากทรัพยากรในพื้นดินใต้ทะเลในบริเวณที่กำหนดของไหล่ทวีปของประเทศทั้งสองในอ่าวไทยแล้ว ก็ยังต้องอาศัยพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ประกาศใช้บันทีกความเข้าใจฉบับดังกล่าว เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2523 และรับสนองพระบรมราชโองการโดย พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรี แต่กรณีของเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาซึ่งไม่อยู่บนฐานของมูลฐานของกฎหมายทะเลสากล ซึ่งราชอาณาจักรไทย ได้ “ปฏิเสธ” ไปแล้วโดยมีพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ที่ได้ทรงประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยของราชอาณาจักรไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 และได้ “ปฏิเสธ” การตกลงกันในอนาคตด้วย เพราะการขีดเส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาดังกล่าวไม่ได้อยู่บนมูลฐานของมูลฐานแห่งบทบัญญัติของกฎหมายทะเลสากล ดังนั้น บันทึกความเข้าใจระหว่างไทย-กัมพูชาเรื่องพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อนทางทะเลในอ่าวไทย ปี พ.ศ. 2544 (MOU 2544) ในสมัยรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร ลงนามกันเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2544 ได้เปลี่ยนสถานภาพในหลักการสำคัญ จากการ “ปฏิเสธ“ เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาที่ละเมิดสิทธิและอธิปไตยของราชอาณาจักรไทย มากลายเป็น “รับรู้” และ “ไม่ปฏิเสธ” พื้นที่อ้างสิทธิเขตไหล่ทวีปของประเทศกัมพูชาที่ขีดเส้นตามอำเภอใจและไม่เป็นไปตามกฎหมายสากล การที่ประเทศไทย “ไม่ปฏิเสธ” การลากเส้นเขตไหล่ทวีปที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายสากลของกัมพูชา ย่อมเท่ากับประเทศไทยเข้าสู่ภาวะสุ่มเสี่ยงที่ถูกตีความได้ว่าราชอาณาจักรไทยได้ “สละสิทธิ” จุดแข็งที่สุดคือการลากเส้นไหล่ทวีปตามกฎหมายสากลเพียงอย่างเดียว ให้กลายเป็นการยอมรับการเกิดพื้นที่ไม่แน่ชัดเหลื่อมซ้อนกันระหว่างการลากเส้นตามกฎหมายสากลของราชอาณาจักรไทย กับการลากเส้นตามอำเภอใจของกัมพูชาที่ละเมิดสิทธิและอธิปไตยของราชอาณาจักรไทย MOU 2544 จึงอาจเข้าข่ายการฝ่าฝืนพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยของราชอาณาจักรไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 เนื่องด้วยมีการ “รับรู้” และ “ไม่ปฏิเสธ” การอ้างสิทธิทับซ้อนโดยอาศัยการขีดเส้นไหล่ทวีปของกัมพูชาซึ่งไม่อยู่บน ”มูลฐานของกฎหมายทะเลสากล“ เรากำลังขาดสติเดินตามรอย “กฎหมายปิดปาก”เสี่ยงสูญเสียเกาะกูดในอนาคตได้เหมือนการสูญเสียปราสาทพระวิหารในอดีตหรือไม่? ความสุ่มเสี่ยงดังกล่าวได้เคยเป็นปัญหาที่มีการถกเถียงกันอย่างมากระหว่างรัฐบาลไทยและภาคประชาชนต่อเนื่องมาก่อนแล้วเมื่อ 16 ปีก่อน จนในที่สุดในสมัยรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี ได้มีการประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบในหลักการให้ยกเลิก MOU 2544 ไปแล้ว ดังปรากฏหลักฐานของ นายกษิต ภิรมย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ได้ตอบกระทู้ของนายคำนูณ สิทธิสมาน สมาชิกวุฒิสภา เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2553 ความตอนหนึ่งว่า “ขอกราบเรียนดังนี้ คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2552 เห็นชอบในหลักการให้กระทรวงการต่างประเทศดำเนินการยกเลิกบันทึกความเข้าใจระหว่างไทยและกัมพูชาว่าด้วยพื้นที่ที่ไทยและกัมพูชาอ้างสิทธิในไหล่ทวีปทับซ้อนกัน ฉบับวันที่ 18 มิถุนายน 2554 แต่โดยที่เรื่องดังกล่าวต้องนำเสนอรัฐสภาเพื่อขอความเห็นชอบ จึงมอบหมายให้กระทรวงการต่างประเทศพิจารณาข้อกฎหมายให้รอบคอบก่อนดำเนินการต่อไป แล้วก็กระทรวงการต่างประเทศโดยกรมสนธิสัญญาและกฎหมายกำลังดำเนินการศึกษาและพิจารณาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องโดยละเอียดก่อนนำเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณา แล้วก็เพื่อเสนอต่อรัฐสภาต่อไป” โดยพรรคร่วมรัฐบาลในขณะนั้นที่เห็นชอบในหลักการให้ยกเลิก MOU 2544 ประกอบไปด้วย พรรคประชาธิปัตย์ พรรคภูมิใจไทย พรรคชาติไทยพัฒนา พรรคเพื่อแผ่นดิน พรรครวมชาติพัฒนา พรรคกิจสังคม และพรรคมาตุภูมิ จริงอยู่ที่ว่าการยกเลิก MOU 2544 จนปัจจุบันยังไม่แล้วเสร็จ แต่มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 มีผลผูกพันทางกฎหมายอย่างแน่นอน และยังมีผลจนถึงปัจจุบันหากยังไม่มีมติคณะรัฐมนตรีเป็นอย่างอื่น ดังนั้น การปฏิบัติหน้าที่ของทุกกระทรวงจะดำเนินการไปในหลักการอื่นโดยฝ่าฝืนต่อมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 จะทำต่อไปได้อย่างไร ยกเว้นเสียแต่ว่ามีการขอความเห็นชอบต่อคณะรัฐมนตรีเสียใหม่ จริงหรือไม่? ดังนั้น การเดินหน้าในการแบ่งผลประโยชน์ระหว่างไทย-กัมพูชาตาม MOU 2544 ต่อไป อาจเข้าข่ายไม่เพียงเป็นการฝ่าฝืนพระบรมราชโองการสมัยรัชกาลที่ 9 ที่ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 เท่านั้น แต่ยังฝ่าฝืนต่อมติคณะรัฐมนตรีเมื่อ วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 อีกด้วย สำหรับ นายภูมิธรรม เวชชยชัย รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม แทนที่จะมากล่าวหาว่าประชาชนผู้ที่ไม่เห็นด้วยกับการเดินหน้า MOU 2544 ว่าเป็นพวกคลั่งชาตินั้น ก็ควรจะสำรวจรัฐบาลตัวเองด้วยว่ากำลังขายชาติอยู่หรือไม่ ด้วยจิตคารวะ ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต https://mgronline.com/daily/detail/9670000105530 #Thaitimes
    Like
    Love
    8
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 868 มุมมอง 0 รีวิว
  • แฉความจริง*อันตรายจากวัคซีนCovid-19 ร้ายแรงกว่าที่คิด



    Live!! คลิปเต็ม4ชม.แฉความจริงอันตรายจากสิ่งที่ฉีดไปแล้วร้ายแรงกว่าที่คิด

    รีบดูก่อนถูกปิดกั้นอีก!!
    หัวข้อ : แฉความจริงอันตรายจากสิ่งที่ฉีดไปแล้วร้ายแรงกว่าที่คิด
    จากโครงการจัดเสวนาและหน่วยแพทย์เคลื่อนที่สำหรับภาวะ Long Covid-19 และผลกระทบจากวัคซีน
    วันที่ 3 พฤษภาคม 2567
    เวลา 13:00 น.ถึง 18:00 น.
    ณ.หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร



    https://www.thaipithaksith.com/side-effect-covid19-vaccine?fbclid=IwY2xjawGRq1JleHRuA2FlbQIxMQABHYe_OcD2Bvlo3tzM7U3CpW2atu0E_mcgp46MZOVRzjoLCL0qHmcOMn745w_aem_lBAg9fGKtbNlQaXqWUPqpw

    แฉความจริง*อันตรายจากวัคซีนCovid-19 ร้ายแรงกว่าที่คิด Live!! คลิปเต็ม4ชม.แฉความจริงอันตรายจากสิ่งที่ฉีดไปแล้วร้ายแรงกว่าที่คิด รีบดูก่อนถูกปิดกั้นอีก!! หัวข้อ : แฉความจริงอันตรายจากสิ่งที่ฉีดไปแล้วร้ายแรงกว่าที่คิด จากโครงการจัดเสวนาและหน่วยแพทย์เคลื่อนที่สำหรับภาวะ Long Covid-19 และผลกระทบจากวัคซีน วันที่ 3 พฤษภาคม 2567 เวลา 13:00 น.ถึง 18:00 น. ณ.หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร https://www.thaipithaksith.com/side-effect-covid19-vaccine?fbclid=IwY2xjawGRq1JleHRuA2FlbQIxMQABHYe_OcD2Bvlo3tzM7U3CpW2atu0E_mcgp46MZOVRzjoLCL0qHmcOMn745w_aem_lBAg9fGKtbNlQaXqWUPqpw
    WWW.THAIPITHAKSITH.COM
    แฉความจริง*อันตรายจากวัคซีนCovid-19 ร้ายแรงกว่าที่คิด
    รายงานการบาดเจ็บจากวัคซีนของคุณที่นี่ และรับความช่วยเหลือจากแพทย์ของเรา
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 149 มุมมอง 0 รีวิว
  • อดีตวุฒิสมาชิก นายคำนูณ สิทธิสมาน เขียนบทความสำคัญเรื่อง “เกาะกูดเป็นของไทย ทั้งตัวเกาะ-ทะเลอาณาเขต รัฐอื่นจะลากเส้นผ่ากลางไม่ได้” เนื้อหาระบุว่า

    “ เกาะกูดเป็นของไทยมา 127 ปีแล้ว !

    ตามหนังสือสัญญาระหว่างกรุงสยามกับกรุงฝรั่งเศส ลงวันที่ 23 มีนาคม ค.ศ. 1907 ข้อ 2

    แต่ต้องเข้าใจให้ตรงกันว่าไม่ใช่เพียงแค่ตัวเกาะที่เป็นแผ่นดินโผล่พ้นน้ำและมีน้ำล้อมรอบเท่านั้น หากหมายรวมถึงผืนน้ำโดยรอบทั้งหมด ทั้งส่วนที่ไม่ว่าจะเป็น “ทะเลอาณาเขต”, “เขตต่อเนื่อง”, “เขตเศรษฐกิจจำเพาะ” หรือ “ไหล่ทวีป” ด้วย

    นี่คือประเด็นสำคัญที่สุดของเรื่องนี้

    เพราะเกาะกูดแม้จะเป็น “เกาะ” แต่ในทางกฎหมายระหว่างประเทศที่ยึดถือกันอยู่ในปัจจุบันมีค่าเท่ากับ “แผ่นดิน(ของรัฐชายฝั่ง)” มีอาณาเขตทางทะเลของตนเหมือนกันทุกประการ

    ทั้งนี้ ตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (UNCLOS 1982) ข้อ 121

    การที่กัมพูชาประกาศกฤษฎีกา 439/72/PRK กำหนดเขตไหล่ทวีป เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1972 (พ.ศ. 2515) โดยลากเส้นเขตไหล่ทวีปด้านทิศเหนือผ่ากลางเกาะกูดตรงมายังจุดกึ่งกลางอ่าวไทย ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเขียนแผนที่หรือแผนผังแบบไหนก็ตามใน 3 แบบนี้

    - แบบลากพาดผ่านตัวเกาะตรง ๆ (ก.ต่างประเทศกัมพูชาจัดทำขึ้นประกอบการแถลงข่าวชี้แจงกฤษฎีกา 1972)

    - แบบลากมาหยุดอยู่ที่ตัวเกาะด้านทิศตะวันออก/เว้นตัวเกาะ/แล้วลากต่อออกจากตัวเกาะด้านทิศตะวันตกไปยังกลางอ่าวไทย (แผนที่เดินเรือของกรมอุทกศาสตร์ฝรั่งเศสที่ใช้เป็นแผนที่แนบท้ายกฤษฎีกาฯ 1972)

    - หรือล่าสุด จะเขียนเส้นโค้งเว้าอ้อมประชิดตัวเกาะด้านทิศใต้เป็นรูปตัว U (แผนผังแนบท้าย MOU 2544)

    ล้วนมีค่าเสมอกันทั้งสิ้น

    ผิดทั้งหมด !

    เพราะเป็นการจงใจละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพเหนือดินแดนของประเทศไทย

    รวมทั้งอาจเป็นการแสดงออกทางกฎหมายถึงการรับรู้หรือยอมรับโดยปริยายซึ่งการมีอยู่และคงอยู่ของการจงใจละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพเหนือดินแดนของประเทศไทยดังกล่าว

    การที่ประกาศกฤษฎีกา 1972 ของกัมพูชาอ้างหนังสือสัญญาระหว่างกรุงสยามกับกรุงฝรั่งเศส ค.ศ. 1907 และสัญญาว่าด้วยการปักปันเขตร์แดนติดท้ายหนังสือสัญญา ค.ศ. 1907 ที่มีแผนที่หรือแผนผังต่อท้ายปรากฎเส้นประ (dotted line) จากเกาะกูดถึงแผ่นดินชายฝั่งทะเลจังหวัดตราดเพื่อแสดงจุดเล็งหาหลักเขตที่ 73 อันเป็นหลักเขตสุดท้ายด้านทิศใต้ของการปักปันเขตแดนทางบกระหว่างสยามกับกัมพูขา (อินโดจีนของฝรั่งเศสในปี 1907) โดยระบุเท็จว่ามีการปักปันเขตแดนทางทะเลระหว่างสยามกับฝรั่งเศสแล้ว จากนั้นบนพื้นฐานเท็จดังกล่าวกฤษฎีกาก็กำหนดให้ยอดเขาสูงสุดของเกาะกูดเป็นจุด “S” เพื่อรับช่วงเชื่อมต่อเส้นจากหลักเขตที่ 73 ที่กำหนดไว้เป็นจุด “A” เจือสมให้รับกับความมุ่งหวังให้เขตไหล่ทวีปของประเทศเขามีเส้นฐานตรง (Straight baseline) ลากตรงไปยังกึ่งกลางอ่าวไทยที่จุด ”P” ด้านหนึ่งเป็นการบิดเบือนข้อเท็จจริงโดยสิ้นเชิง แต่อีกด้านหนึ่งก็เป็นการเปลือยให้เห็นเจตนาที่แท้จริงของรัฐบาลเพื่อนบ้านเราเมื่อ 52 ปีก่อน

    แท้จริงแล้ว เป็นการเสกสรรค์ปั้นแต่งเรื่องหาช่องเพื่อสนองเจตนาหวัง “ฮุบ” ทรัพยากรปิโตรเลี่ยมใต้อ่าวไทยเป็นสำคัญ !

    ถ้าไม่มีเส้นเขตไหล่ทวีปแนว “A-S-P” ที่ผ่ากลางเกาะกูดมาจบที่กึ่งกลางอ่าวไทยก่อนวกลงใต้ ก็ไม่สามารถสนองเจตนา ”ฮุบ“ ทรัพยากรกลางอ่าวไทยได้

    นายพลลอนนอล ประธานาธิบดีกัมพูชายุคนั้น เคยชี้แจงกับจอมพลประภาส จารุเสถียรเมื่อปี 2515-2516 ว่าเป็นการลากเส้นที่เจ้าหน้าที่ทางเทคนิคและบริษัทเอกชนตะวันตกที่ขอสัมปทานผลิตปิโตรเลี่ยมเสนอมา ทั้งนี้ จากการบอกเล่าของพล.ร.อ.ถนอม เจริญลาภ ผู้เชี่ยวชาญด้านเขตแดนไทย-กัมพูชาที่อยู่ในคณะกรรมการพลายชุด (ปัจจุบันเสียชีวิตแล้ว) ต่อสาธารณะ ณ สยามสมาคม เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2554

    นี่คือกระดุมเม็ดแรกที่จงใจกลัดผิด !

    ประเทศไทยดำเนินการตอบโต้มาโดยตลอดเป็นขั้นตอน เริ่มตั้งแต่มีประกาศพระบรมราชโองการกำหนดเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 (ค.ศ. 1973) ตามด้วยการตั้งประภาคารและกระโจมไฟบนเกาะกูดรวม 6 จุด เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2517 รวมทั้งการส่งกำลังทางทหารเข้าประจำการและลาดตระเวนเพื่อรักษาอธิปไตยทั้งบนตัวเกาะและน่านน้ำโดยรอบ กำลังทหารยังคงทำหน้าที่อย่างเข้มแข็งมาจนทุกวันนี้ โดยกองทัพเรือได้จัดตั้งหน่วยตรวจการพิเศษที่ 1 ขึ้นบนเกาะกูดเมื่อปี 2521 และเปลี่ยนชื่อเป็น “หน่วยปฏิบัติการเกาะกูด” (อักษรย่อ “นปก.”) เมื่อปี 2529 เป็นกองกำลังเฉพาะกิจอยู่ภายใต้หน่วยบัญชาการต่อสู้อากาศยานและรักษาฝั่ง (สอ.รฝ.) ขึ้นตรงทางยุทธการกับกองบัญชาการป้องกันชายแดนจันทบุรีและตราด

    “นปก.เกาะกูด” มีการซ้อมรบทางยุทธวิธีเป็นประจำทุกปี ล่าสุดก็เมื่อเดือนมีนาคม 2567 นี้

    อย่างไรก็ดี การที่ทั้งกัมพูชาและไทยต่างประกาศเขตพื้นที่ไหล่ทวีปของตนออกมาในปี 1972 และ 1973 โดยมีความแตกต่างกันจึงก่อให้เกิดผลโดยธรรมชาติในประการสำคัญ

    เกิดสิ่งที่เรียกว่า “พื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อน” หรือ OCA ขึ้นมา

    แต่แม้จะเป็นผลที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ แต่ประเทศไทยก็ไม่เคยยอมรับอย่างเป็นทางการที่สามารถนำไปอ้างอิงทางกฎหมายได้ว่ามีพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อนในอ่าวไทย

    จาก “ฮุบ” กัมพูชาแปรมาเป็น “ฮั้ว” ในเวลาต่อมา !

    นั่นคือนับแต่มีความสงบในแผ่นดินตามสมควรในช่วงทศวรรษที่ 2530 กัมพูชาได้เริ่มกระบวนการเจรจาปัญหาเขตพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อนกับประเทศไทย

    โดยหลักคือขอแบ่งผลประโยชน์กัน ไม่ต้องพูดเรื่องเขตแดน

    ไม่ใช่แบ่งตัวเกาะกูดที่เป็นแผ่นดินโผล่พ้นน้ำและมีน้ำล้อมรอบ แต่เป็นการแบ่งทรัพยาการปิโตรเลี่ยมใต้ท้องทะเลในพื้นที่อ้างสิทธิในเขตไหล่ทวีปที่แตกต่างและทับซ้อนกันของ 2 ประเทศ ระหว่างเส้น 1972 ของกัมพูชา กับเส้น 1973 ของไทย เป็นพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 26,000 ตารางกิโลเมตร

    ไทยตอบสนองยอมรับการเจรจาด้วยเหตุผลอย่างน้อย 3 ประการ ประการหนึ่ง เป็นประเทศเพื่อนบ้านพรมแดนประชิดติดกันเมื่อมีปัญหาใดก็ต้องพูดคุยกัน ประการสอง ไทยเองทางฟากฝั่งหน่วยงานด้านพลังงานก็ต้องการนำทรัพยากรปิโตรเลี่ยมขึ้นมาใช้เช่นกัน และประการสุดท้ายที่สำคัญมากเช่นกัน คือ ไทยทางฟากฝั่งกระทรวงการต่างประเทศต้องการเคลียร์เรื่องเส้นกำหนดเขตไหล่ทวีป 1972 ของกัมพูชาที่ผ่ากลางเกาะกูดตรงไปกลางอ่าวไทย ภาษาของคนทำงานด้านการต่างประเทศคือ…

    “พยายามเอาเส้น 1972 ลงให้ได้”

    การเจรจาเกิดขึ้นหลายยก

    แต่ไม่คืบหน้า เพราะกัมพูชายืนยันจะพูดแต่เรื่องแบ่งผลประโยชน์ ไม่พูดเรื่องเส้นเขตไหล่ทวีป 1972 ที่ละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพเหนือดินแดนของประเทศไทย

    โดนรุกหนัก ๆ ก็บอกว่าตามรัฐธรรมนูญกัมพูชา ค.ศ. 1993 ห้ามเปลี่ยนแปลงเขตแดน

    พอจะกล่าวได้ว่าคืบหน้ามากที่สุดคือเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2544 (ค.ศ. 2001) ไทยกับกัมพูชาได้ลงนามใน “บันทึกความเข้าใจร่วมระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแห่งราขอาณาจักรกัมพูชาว่าด้วยพื้นที่ที่ไทยและกัมพูชาอ้างสิทธิในไหล่ทวีปทับซ้อนกัน พ.ศ. 2544“ หรือ “MOU 2544” ที่มีแผนผังจำลองเส้นเขตไหล่ทวีป 1972 ของกัมพูชาเขียนแบบใหม่อ้อมประชิดเกาะกูดทางทิศใต้เป็นรูปตัว U

    วันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2544 เป็นหมุดหมายทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญมาก เพราะในมุมมองหนึ่งเสมือนเป็นครั้งแรกที่รัฐไทยยอมรับอย่างเป็นทางการถึงการมีอยู่ของพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อน รวมทั้งการมีอยู่ของเขตไหล่ทวีป 1972 ของกัมพูชา

    MOU 2544 จะเป็นความคืบหน้าในทางบวกหรือลบกับประเทศไทย ถูกหรือผิด นี่เป็นประเด็นวิวาทะกันมายาวนานกว่า 20 ปี

    แม้แต่คณะรัฐมนตรีก็เคยมีมติเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2552 ให้ยกเลิก MOU 2544 ไปแล้วครั้งหนึ่ง แต่ไม่ได้ดำเนินการยกเลิกจริง ๆ ในที่สุด

    หมุดหมายทางประวัติศาสตร์ที่มีนัยสำคัญของปัญหานี้ผ่านมา 23 ปี ลูกสาวของนายกรัฐมนตรีคนที่ทำ MOU 2544 กับกัมพูชาได้ขึ้นมาเป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย วิวาทะเดิมเกิดขึ้นอีกครั้ง

    ไม่ว่าจะอย่างไร MOU 2544 คือทางตัน ไม่ใช่ทางออกของปัญหาแน่ แต่อาจเป็นได้แค่ทางออกจากตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีด้วยซ้ำ

    หากถามแบรวบยอดขอข้อสรุปสั้น ๆ ว่าทางออกของปัญหาคืออะไร

    ขอฟันธงว่าต้องแก้ที่ต้นเหตุ !

    ทางแก้มีหนึ่งเดียวเป็นปฐมบท คือก่อนเดินหน้าเจรจาใด ๆ เกี่ยวกับทรัพยากรปิโตรเลี่ยมใต้อ่าวไทย ประเทศไทยต้องขอตรง ๆ ให้กัมพูชาปลดกระดุมเม็ดแรกที่จงใจกลัดผิดเมื่อปี 1972 ออกเสียก่อน

    ยกเลิกกฤษฎีกา 439/72/PRK กำหนดเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย ค.ศ. 1972 เสีย

    แล้วดำเนินการประกาศกฤษฎีกากำหนดเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาด้านอ่าวไทยเสียใหม่ที่ไม่เป็นการละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพเหนือดินแดนของไทย โดยให้เป็นไปตามหลักการในบทบัญญัติแห่งอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982

    หากเขตไหล่ทวีปที่กำหนดใหม่นั้นยังคงมีความแตกต่างกับเขตไหล่ทวีปของประเทศไทยที่มีประกาศพระบรมราชโองการไว้เมื่อปี 2516 และยังคงมีพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อนเหลืออยู่ หากไทยพิจารณาแล้วเห็นว่าประกาศกฤษฎีกากำหนดเขตไหล่ทวีปใหม่นั้นไม่เป็นการละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพแห่งดินแดนของประเทศไทย จึงค่อยพิจารณาหาหนทางเจรจากัน ทั้งการปักปันเขตแดนทางทะเล รวมทั้งการบริหารจัดการทรัพยากรปิโตรเลี่ยมใต้ทะเลในบริเวณพื้นที่ทับซ้อนที่ยังเหลืออยู่นั้น

    เอาเส้นฮุบปิโตรเลี่ยม 1972 ลงก่อน แล้วค่อยคุยกัน - ว่างั้นเถอะ !

    หากกัมพูชาไม่อาจแก้ไขการกระทำที่ผิดในอดีต ก็ไม่มีเหตุใดให้ประเทศไทยต้องไปเจรจาด้วยในเรื่องนี้

    ที่มา https://www.isranews.org/article/isranews-article/132953-thai-3.html?fbclid=IwZXh0bgNhZW0CMTEAAR0Y2pOmFG6gs__qtC3DLdEJhxo-f2CSzSda_vFloiUYKIrhaV-5FbhP3-k_aem_SPiVtR0CAy5ruurc2LQGTA

    #Thaitimes
    อดีตวุฒิสมาชิก นายคำนูณ สิทธิสมาน เขียนบทความสำคัญเรื่อง “เกาะกูดเป็นของไทย ทั้งตัวเกาะ-ทะเลอาณาเขต รัฐอื่นจะลากเส้นผ่ากลางไม่ได้” เนื้อหาระบุว่า “ เกาะกูดเป็นของไทยมา 127 ปีแล้ว ! ตามหนังสือสัญญาระหว่างกรุงสยามกับกรุงฝรั่งเศส ลงวันที่ 23 มีนาคม ค.ศ. 1907 ข้อ 2 แต่ต้องเข้าใจให้ตรงกันว่าไม่ใช่เพียงแค่ตัวเกาะที่เป็นแผ่นดินโผล่พ้นน้ำและมีน้ำล้อมรอบเท่านั้น หากหมายรวมถึงผืนน้ำโดยรอบทั้งหมด ทั้งส่วนที่ไม่ว่าจะเป็น “ทะเลอาณาเขต”, “เขตต่อเนื่อง”, “เขตเศรษฐกิจจำเพาะ” หรือ “ไหล่ทวีป” ด้วย นี่คือประเด็นสำคัญที่สุดของเรื่องนี้ เพราะเกาะกูดแม้จะเป็น “เกาะ” แต่ในทางกฎหมายระหว่างประเทศที่ยึดถือกันอยู่ในปัจจุบันมีค่าเท่ากับ “แผ่นดิน(ของรัฐชายฝั่ง)” มีอาณาเขตทางทะเลของตนเหมือนกันทุกประการ ทั้งนี้ ตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (UNCLOS 1982) ข้อ 121 การที่กัมพูชาประกาศกฤษฎีกา 439/72/PRK กำหนดเขตไหล่ทวีป เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1972 (พ.ศ. 2515) โดยลากเส้นเขตไหล่ทวีปด้านทิศเหนือผ่ากลางเกาะกูดตรงมายังจุดกึ่งกลางอ่าวไทย ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเขียนแผนที่หรือแผนผังแบบไหนก็ตามใน 3 แบบนี้ - แบบลากพาดผ่านตัวเกาะตรง ๆ (ก.ต่างประเทศกัมพูชาจัดทำขึ้นประกอบการแถลงข่าวชี้แจงกฤษฎีกา 1972) - แบบลากมาหยุดอยู่ที่ตัวเกาะด้านทิศตะวันออก/เว้นตัวเกาะ/แล้วลากต่อออกจากตัวเกาะด้านทิศตะวันตกไปยังกลางอ่าวไทย (แผนที่เดินเรือของกรมอุทกศาสตร์ฝรั่งเศสที่ใช้เป็นแผนที่แนบท้ายกฤษฎีกาฯ 1972) - หรือล่าสุด จะเขียนเส้นโค้งเว้าอ้อมประชิดตัวเกาะด้านทิศใต้เป็นรูปตัว U (แผนผังแนบท้าย MOU 2544) ล้วนมีค่าเสมอกันทั้งสิ้น ผิดทั้งหมด ! เพราะเป็นการจงใจละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพเหนือดินแดนของประเทศไทย รวมทั้งอาจเป็นการแสดงออกทางกฎหมายถึงการรับรู้หรือยอมรับโดยปริยายซึ่งการมีอยู่และคงอยู่ของการจงใจละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพเหนือดินแดนของประเทศไทยดังกล่าว การที่ประกาศกฤษฎีกา 1972 ของกัมพูชาอ้างหนังสือสัญญาระหว่างกรุงสยามกับกรุงฝรั่งเศส ค.ศ. 1907 และสัญญาว่าด้วยการปักปันเขตร์แดนติดท้ายหนังสือสัญญา ค.ศ. 1907 ที่มีแผนที่หรือแผนผังต่อท้ายปรากฎเส้นประ (dotted line) จากเกาะกูดถึงแผ่นดินชายฝั่งทะเลจังหวัดตราดเพื่อแสดงจุดเล็งหาหลักเขตที่ 73 อันเป็นหลักเขตสุดท้ายด้านทิศใต้ของการปักปันเขตแดนทางบกระหว่างสยามกับกัมพูขา (อินโดจีนของฝรั่งเศสในปี 1907) โดยระบุเท็จว่ามีการปักปันเขตแดนทางทะเลระหว่างสยามกับฝรั่งเศสแล้ว จากนั้นบนพื้นฐานเท็จดังกล่าวกฤษฎีกาก็กำหนดให้ยอดเขาสูงสุดของเกาะกูดเป็นจุด “S” เพื่อรับช่วงเชื่อมต่อเส้นจากหลักเขตที่ 73 ที่กำหนดไว้เป็นจุด “A” เจือสมให้รับกับความมุ่งหวังให้เขตไหล่ทวีปของประเทศเขามีเส้นฐานตรง (Straight baseline) ลากตรงไปยังกึ่งกลางอ่าวไทยที่จุด ”P” ด้านหนึ่งเป็นการบิดเบือนข้อเท็จจริงโดยสิ้นเชิง แต่อีกด้านหนึ่งก็เป็นการเปลือยให้เห็นเจตนาที่แท้จริงของรัฐบาลเพื่อนบ้านเราเมื่อ 52 ปีก่อน แท้จริงแล้ว เป็นการเสกสรรค์ปั้นแต่งเรื่องหาช่องเพื่อสนองเจตนาหวัง “ฮุบ” ทรัพยากรปิโตรเลี่ยมใต้อ่าวไทยเป็นสำคัญ ! ถ้าไม่มีเส้นเขตไหล่ทวีปแนว “A-S-P” ที่ผ่ากลางเกาะกูดมาจบที่กึ่งกลางอ่าวไทยก่อนวกลงใต้ ก็ไม่สามารถสนองเจตนา ”ฮุบ“ ทรัพยากรกลางอ่าวไทยได้ นายพลลอนนอล ประธานาธิบดีกัมพูชายุคนั้น เคยชี้แจงกับจอมพลประภาส จารุเสถียรเมื่อปี 2515-2516 ว่าเป็นการลากเส้นที่เจ้าหน้าที่ทางเทคนิคและบริษัทเอกชนตะวันตกที่ขอสัมปทานผลิตปิโตรเลี่ยมเสนอมา ทั้งนี้ จากการบอกเล่าของพล.ร.อ.ถนอม เจริญลาภ ผู้เชี่ยวชาญด้านเขตแดนไทย-กัมพูชาที่อยู่ในคณะกรรมการพลายชุด (ปัจจุบันเสียชีวิตแล้ว) ต่อสาธารณะ ณ สยามสมาคม เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2554 นี่คือกระดุมเม็ดแรกที่จงใจกลัดผิด ! ประเทศไทยดำเนินการตอบโต้มาโดยตลอดเป็นขั้นตอน เริ่มตั้งแต่มีประกาศพระบรมราชโองการกำหนดเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 (ค.ศ. 1973) ตามด้วยการตั้งประภาคารและกระโจมไฟบนเกาะกูดรวม 6 จุด เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2517 รวมทั้งการส่งกำลังทางทหารเข้าประจำการและลาดตระเวนเพื่อรักษาอธิปไตยทั้งบนตัวเกาะและน่านน้ำโดยรอบ กำลังทหารยังคงทำหน้าที่อย่างเข้มแข็งมาจนทุกวันนี้ โดยกองทัพเรือได้จัดตั้งหน่วยตรวจการพิเศษที่ 1 ขึ้นบนเกาะกูดเมื่อปี 2521 และเปลี่ยนชื่อเป็น “หน่วยปฏิบัติการเกาะกูด” (อักษรย่อ “นปก.”) เมื่อปี 2529 เป็นกองกำลังเฉพาะกิจอยู่ภายใต้หน่วยบัญชาการต่อสู้อากาศยานและรักษาฝั่ง (สอ.รฝ.) ขึ้นตรงทางยุทธการกับกองบัญชาการป้องกันชายแดนจันทบุรีและตราด “นปก.เกาะกูด” มีการซ้อมรบทางยุทธวิธีเป็นประจำทุกปี ล่าสุดก็เมื่อเดือนมีนาคม 2567 นี้ อย่างไรก็ดี การที่ทั้งกัมพูชาและไทยต่างประกาศเขตพื้นที่ไหล่ทวีปของตนออกมาในปี 1972 และ 1973 โดยมีความแตกต่างกันจึงก่อให้เกิดผลโดยธรรมชาติในประการสำคัญ เกิดสิ่งที่เรียกว่า “พื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อน” หรือ OCA ขึ้นมา แต่แม้จะเป็นผลที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ แต่ประเทศไทยก็ไม่เคยยอมรับอย่างเป็นทางการที่สามารถนำไปอ้างอิงทางกฎหมายได้ว่ามีพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อนในอ่าวไทย จาก “ฮุบ” กัมพูชาแปรมาเป็น “ฮั้ว” ในเวลาต่อมา ! นั่นคือนับแต่มีความสงบในแผ่นดินตามสมควรในช่วงทศวรรษที่ 2530 กัมพูชาได้เริ่มกระบวนการเจรจาปัญหาเขตพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อนกับประเทศไทย โดยหลักคือขอแบ่งผลประโยชน์กัน ไม่ต้องพูดเรื่องเขตแดน ไม่ใช่แบ่งตัวเกาะกูดที่เป็นแผ่นดินโผล่พ้นน้ำและมีน้ำล้อมรอบ แต่เป็นการแบ่งทรัพยาการปิโตรเลี่ยมใต้ท้องทะเลในพื้นที่อ้างสิทธิในเขตไหล่ทวีปที่แตกต่างและทับซ้อนกันของ 2 ประเทศ ระหว่างเส้น 1972 ของกัมพูชา กับเส้น 1973 ของไทย เป็นพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 26,000 ตารางกิโลเมตร ไทยตอบสนองยอมรับการเจรจาด้วยเหตุผลอย่างน้อย 3 ประการ ประการหนึ่ง เป็นประเทศเพื่อนบ้านพรมแดนประชิดติดกันเมื่อมีปัญหาใดก็ต้องพูดคุยกัน ประการสอง ไทยเองทางฟากฝั่งหน่วยงานด้านพลังงานก็ต้องการนำทรัพยากรปิโตรเลี่ยมขึ้นมาใช้เช่นกัน และประการสุดท้ายที่สำคัญมากเช่นกัน คือ ไทยทางฟากฝั่งกระทรวงการต่างประเทศต้องการเคลียร์เรื่องเส้นกำหนดเขตไหล่ทวีป 1972 ของกัมพูชาที่ผ่ากลางเกาะกูดตรงไปกลางอ่าวไทย ภาษาของคนทำงานด้านการต่างประเทศคือ… “พยายามเอาเส้น 1972 ลงให้ได้” การเจรจาเกิดขึ้นหลายยก แต่ไม่คืบหน้า เพราะกัมพูชายืนยันจะพูดแต่เรื่องแบ่งผลประโยชน์ ไม่พูดเรื่องเส้นเขตไหล่ทวีป 1972 ที่ละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพเหนือดินแดนของประเทศไทย โดนรุกหนัก ๆ ก็บอกว่าตามรัฐธรรมนูญกัมพูชา ค.ศ. 1993 ห้ามเปลี่ยนแปลงเขตแดน พอจะกล่าวได้ว่าคืบหน้ามากที่สุดคือเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2544 (ค.ศ. 2001) ไทยกับกัมพูชาได้ลงนามใน “บันทึกความเข้าใจร่วมระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแห่งราขอาณาจักรกัมพูชาว่าด้วยพื้นที่ที่ไทยและกัมพูชาอ้างสิทธิในไหล่ทวีปทับซ้อนกัน พ.ศ. 2544“ หรือ “MOU 2544” ที่มีแผนผังจำลองเส้นเขตไหล่ทวีป 1972 ของกัมพูชาเขียนแบบใหม่อ้อมประชิดเกาะกูดทางทิศใต้เป็นรูปตัว U วันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2544 เป็นหมุดหมายทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญมาก เพราะในมุมมองหนึ่งเสมือนเป็นครั้งแรกที่รัฐไทยยอมรับอย่างเป็นทางการถึงการมีอยู่ของพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อน รวมทั้งการมีอยู่ของเขตไหล่ทวีป 1972 ของกัมพูชา MOU 2544 จะเป็นความคืบหน้าในทางบวกหรือลบกับประเทศไทย ถูกหรือผิด นี่เป็นประเด็นวิวาทะกันมายาวนานกว่า 20 ปี แม้แต่คณะรัฐมนตรีก็เคยมีมติเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2552 ให้ยกเลิก MOU 2544 ไปแล้วครั้งหนึ่ง แต่ไม่ได้ดำเนินการยกเลิกจริง ๆ ในที่สุด หมุดหมายทางประวัติศาสตร์ที่มีนัยสำคัญของปัญหานี้ผ่านมา 23 ปี ลูกสาวของนายกรัฐมนตรีคนที่ทำ MOU 2544 กับกัมพูชาได้ขึ้นมาเป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย วิวาทะเดิมเกิดขึ้นอีกครั้ง ไม่ว่าจะอย่างไร MOU 2544 คือทางตัน ไม่ใช่ทางออกของปัญหาแน่ แต่อาจเป็นได้แค่ทางออกจากตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีด้วยซ้ำ หากถามแบรวบยอดขอข้อสรุปสั้น ๆ ว่าทางออกของปัญหาคืออะไร ขอฟันธงว่าต้องแก้ที่ต้นเหตุ ! ทางแก้มีหนึ่งเดียวเป็นปฐมบท คือก่อนเดินหน้าเจรจาใด ๆ เกี่ยวกับทรัพยากรปิโตรเลี่ยมใต้อ่าวไทย ประเทศไทยต้องขอตรง ๆ ให้กัมพูชาปลดกระดุมเม็ดแรกที่จงใจกลัดผิดเมื่อปี 1972 ออกเสียก่อน ยกเลิกกฤษฎีกา 439/72/PRK กำหนดเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย ค.ศ. 1972 เสีย แล้วดำเนินการประกาศกฤษฎีกากำหนดเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาด้านอ่าวไทยเสียใหม่ที่ไม่เป็นการละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพเหนือดินแดนของไทย โดยให้เป็นไปตามหลักการในบทบัญญัติแห่งอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 หากเขตไหล่ทวีปที่กำหนดใหม่นั้นยังคงมีความแตกต่างกับเขตไหล่ทวีปของประเทศไทยที่มีประกาศพระบรมราชโองการไว้เมื่อปี 2516 และยังคงมีพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อนเหลืออยู่ หากไทยพิจารณาแล้วเห็นว่าประกาศกฤษฎีกากำหนดเขตไหล่ทวีปใหม่นั้นไม่เป็นการละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพแห่งดินแดนของประเทศไทย จึงค่อยพิจารณาหาหนทางเจรจากัน ทั้งการปักปันเขตแดนทางทะเล รวมทั้งการบริหารจัดการทรัพยากรปิโตรเลี่ยมใต้ทะเลในบริเวณพื้นที่ทับซ้อนที่ยังเหลืออยู่นั้น เอาเส้นฮุบปิโตรเลี่ยม 1972 ลงก่อน แล้วค่อยคุยกัน - ว่างั้นเถอะ ! หากกัมพูชาไม่อาจแก้ไขการกระทำที่ผิดในอดีต ก็ไม่มีเหตุใดให้ประเทศไทยต้องไปเจรจาด้วยในเรื่องนี้ ที่มา https://www.isranews.org/article/isranews-article/132953-thai-3.html?fbclid=IwZXh0bgNhZW0CMTEAAR0Y2pOmFG6gs__qtC3DLdEJhxo-f2CSzSda_vFloiUYKIrhaV-5FbhP3-k_aem_SPiVtR0CAy5ruurc2LQGTA #Thaitimes
    WWW.ISRANEWS.ORG
    เกาะกูดเป็นของไทย ทั้งตัวเกาะ-ทะเลอาณาเขต รัฐอื่นจะลากเส้นผ่ากลางไม่ได้
    ประเทศไทยดำเนินการตอบโต้มาโดยตลอดเป็นขั้นตอน เริ่มตั้งแต่มีประกาศพระบรมราชโองการกำหนดเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 (ค.ศ. 1973) ตามด้วยการตั้งประภาคารและกระโจมไฟบนเกาะกูดรวม 6 จุด เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2517 รวมทั้งการส่งกำลังทางทหารเข้าประจำการและลาดตระเวนเพื่อรักษาอธิปไตยทั้งบนตัวเกาะและน่านน้ำโดยรอบ กำลังทหารยังคงทำหน้าที่อย่างเข้มแข็งมาจนทุกวันนี้ โดยกองทัพเรือได้จัดตั้งหน่วยตรวจการพิเศษที่ 1 ขึ้นบนเกาะกูดเมื่อปี 2521 และเปลี่ยนชื่อเป็น “หน่วยปฏิบัติการเกาะกูด” (อักษรย่อ “นปก.”) เมื่อปี 2529 เป็นกองกำลังเฉพาะกิจอยู่ภายใต้หน่วยบัญชาการต่อสู้อากาศยานและรักษาฝั่ง (สอ.รฝ.) ขึ้นตรงทางยุทธการกับกองบัญชาการป้องกันชายแดนจันทบุรีและตราด
    Love
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 580 มุมมอง 0 รีวิว
  • เกาหลีเหนือส่งรัฐมนตรีต่างประเทศเดินทางไปรัสเซีย หนึ่งวันหลังจากสหรัฐฯ ออกมาระบุ โสมแดงส่งทหาร 10,000 นาย ไปฝึกในแดนหมีขาวและอาจส่งไปร่วมรบในยูเครนในอีกหลายสัปดาห์ข้างหน้า พร้อมประกาศหากเป็นเช่นนั้นจริงจะเลิกตั้งข้อจำกัดเคียฟในการใช้อาวุธโจมตีเข้าไปในรัสเซีย ขณะที่หน่วยข่าวกรองเกาหลีใต้คาดทหารโสมแดงอาจถูกส่งลงสมรภูมิยูเครนเร็วกว่าคาด
    .
    สำนักข่าวทาสส์ของทางการรัสเซียรายงานเมื่อวันอังคาร (29) ว่า โช ซอนฮุย รัฐมนตรีต่างประเทศเกาหลีเหนือ เดินทางถึงเมืองวลาดิวอสต็อก เมืองใหญ่ทางภาคตะวันออกไกลของรัสเซียแล้ว และมีกำหนดจะเดินทางต่อไปยังกรุงมอสโกในวันพุธ (30) เพื่อหารือกับเจ้าหน้าที่รัสเซีย แต่ไม่ได้ระบุว่าเป็นใคร
    .
    รายงานนี้ออกมาหลังจากเมื่อวันจันทร์ (28) ซาบรินา ซิงห์ รองโฆษกของกระทรวงกลาโหมอเมริกา (เพนตากอน) แถลงว่า เกาหลีเหนือจัดส่งทหารราว 10,000 นายไปฝึกในรัสเซีย ซึ่งมากกว่าที่เคยประเมินก่อนหน้านี้ถึง 7,000 นาย และทหารเหล่านั้นอาจถูกส่งไปสู้รบในยูเครนในอีกหลายสัปดาห์ข้างหน้า
    .
    ขณะที่ประธานาธิบดีโจ ไบเดน ระบุว่า สถานการณ์นี้ “อันตรายมาก”
    .
    เพนตากอนยังประกาศว่า หากทหารเกาหลีเหนือเข้าสู่สงครามยูเครน ก็จะไม่ตั้งข้อจำกัดห้ามเคียฟใช้อาวุธของอเมริกา หลังจากก่อนหน้านี้สหรัฐฯ แสดงท่าทียังไม่พร้อมที่จะทำตามคำรบเร้าของเคียฟ ที่ต้องการให้สหรัฐฯ และฝ่ายตะวันตกจัดส่งพวกอาวุธพิสัยทำการไกลๆ ให้แก่ยูเครน รวมทั้งอนุญาตให้ยูเครนนำอาวุธที่ได้รับจากตะวันตกซึ่งมีสมรรถนะเช่นนี้อยู่แล้ว ไปใช้ในการโจมตีลึกเข้าไปแดนหมีขาว
    .
    ขณะที่ แมทธิว มิลเลอร์ โฆษกกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ ระบุว่า สหรัฐฯ ได้แจ้งกับจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรสำคัญของทั้งรัสเซียและเกาหลีเหนือ เกี่ยวกับการดำเนินการของทั้งสองประเทศที่ถือเป็นการบ่อนทำลายเสถียรภาพ
    .
    ด้านมาร์ค รึตเตอ เลขาธิการขององค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (นาโต) ออกมาวิพากษ์วิจารณ์ว่า ความเคลื่อนไหวนี้เป็นการขยายสงครามที่อันตรายของรัสเซีย อีกทั้งเป็นสัญญาณว่า ปูตินสิ้นหวังมากขึ้น
    .
    รึตเตออ้างตัวเลขของฝ่ายตะวันตกที่ระบุว่า ทหารรัสเซียกว่า 600,000 นายเสียชีวิตหรือบาดเจ็บระหว่างสงครามในยูเครนที่เริ่มต้นขึ้นเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2022 และเวลานี้เครมลินไม่สามารถบุกต่อโดยไม่มีการสนับสนุนจากต่างชาติ
    .
    เลขาธิการนาโตแถลงเช่นนี้ในบรัสเซลส์ หลังจากได้ฟังสรุปสถานการณ์จากทางเจ้าหน้าที่ข่าวกรองเกาหลีใต้ว่า ขณะนี้สามารถยืนยันได้ว่า ทหารเกาหลีเหนือถูกส่งไปประจำการภาคสนามในแคว้นคูร์สก์ ทางตะวันตกของรัสเซีย ทั้งนี้ ตั้งแต่เดือนสิงหาคมที่ผ่านมา ยูเครนได้ส่งกำลังบุกเข้าไปในคูร์สก์ และยึดพื้นที่ได้จำนวนหนึ่ง ถึงแม้ทางรัสเซียแถลงในระยะหลังๆ ว่า ได้ยันการบุกของฝ่ายเคียฟเอาไว้ได้แล้ว และกำลังค่อยๆ ช่วงชิงพื้นที่ซึ่งถูกยึดไปกลับคืนมา
    .
    ทางด้านประธานาธิบดียุน ซอกยอน ของเกาหลีใต้ ระบุเมื่อวันอังคาร (29 ต.ค.) ว่า การขยายความร่วมมือทางทหารอย่างผิดกฎหมายระหว่างมอสโกกับเปียงยางเป็นภัยคุกคามใหญ่หลวงด้านความมั่นคงสำหรับนานาชาติ และเตือนว่า โซลกำลังพิจารณามาตรการตอบโต้
    .
    ก่อนหน้านี้ เกาหลีใต้ซึ่งเป็นผู้ส่งออกอาวุธรายใหญ่ เผยว่า กำลังทบทวนการพิจารณาส่งอาวุธให้ยูเครนโดยตรง ซึ่งเป็นสิ่งที่พันธมิตรตะวันตกเรียกร้องมานาน แต่โซลยังคัดค้านเนื่องจากขัดกับนโยบายดั้งเดิมภายในประเทศ
    .
    ประธานาธิบดีเกาหลีใต้ยังกล่าวกับ อัวร์ซูลา ฟอน แดร์ ไลเอิน ประธานของคณะกรรมาธิการยุโรป หรือก็คือองค์กรบริหารของอียู ระหว่างหารือทางโทรศัพท์ว่า ทหารเกาหลีเหนืออาจถูกส่งไปยังแนวรบในยูเครนเร็วกว่าที่คาด
    .
    นอกจากนั้น หน่วยงานข่าวกรองของโซลแถลงต่อสมาชิกรัฐสภาว่า แม้แต่นายพลระดับสูงของเกาหลีเหนือยังถูกส่งไปยังแนวหน้าในสงครามระหว่างรัสเซียกับยูเครน ตอกย้ำการกระชับความร่วมมือทางทหารของสองประเทศนี้
    .
    ลี ซองควน สมาชิกรัฐสภาเกาหลีใต้ กล่าวเช่นนี้หลังได้รับการบรรยายสรุปจากสำนักงานข่าวกรองแห่งชาติ (เอ็นไอเอส) ว่าเกาหลีเหนือกำลังเตรียมปล่อยดาวเทียมสอดแนมอีกครั้งโดยใช้ส่วนประกอบขั้นสูงและความช่วยเหลือด้านเทคโนโลยีจากรัสเซีย หลังจากความพยายามในเดือนพฤษภาคมล้มเหลว
    .
    พวกผู้เชี่ยวชาญระบุว่า เพื่อแลกเปลี่ยนกับการส่งทหารไปช่วยรัสเซีย เกาหลีเหนือมีแนวโน้มต้องการเทคโนโลยีการทหารตั้งแต่ดาวเทียมจนถึงเรือดำน้ำสอดแนม และอาจรวมถึงการรับประกันด้านความมั่นคงจากมอสโก
    .
    ลีเสริมว่า เกาหลีเหนือพยายามปิดข่าวการส่งทหารไปประจำการในรัสเซีย โดยแจ้งกับครอบครัวทหารเหล่านั้นว่า ถูกส่งไปฝึก
    .
    สำหรับท่าทีของ ประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน นั้น ในช่วงหลังๆ นี้ไม่ได้ปฏิเสธข่าวนี้ โดยบอกว่าเรื่องเช่นนี้เป็นเรื่องระหว่างรัสเซียกับเกาหลีเหนือ ขณะที่เปียงยางตอนแรกยืนกรานว่า ไม่ได้ส่งทหารไปรัสเซีย กระทั่งเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว รัฐมนตรีช่วยต่างประเทศจึงแถลงแก้เกี้ยวว่า ถ้าหากจะมีการส่งทหารไปจริงก็จะเป็นไปตามกฎหมายระหว่างประเทศ
    .
    ทางฝ่ายประธานาธิบดีโวโลดิมีร์ เซเลนสกีของยูเครน กล่าวสำทับว่า “เร็วๆ นี้” อาจมีทหารเกาหลีเหนือในรัสเซียถึง 12,000 นาย
    .
    อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000104387
    ..............
    Sondhi X
    เกาหลีเหนือส่งรัฐมนตรีต่างประเทศเดินทางไปรัสเซีย หนึ่งวันหลังจากสหรัฐฯ ออกมาระบุ โสมแดงส่งทหาร 10,000 นาย ไปฝึกในแดนหมีขาวและอาจส่งไปร่วมรบในยูเครนในอีกหลายสัปดาห์ข้างหน้า พร้อมประกาศหากเป็นเช่นนั้นจริงจะเลิกตั้งข้อจำกัดเคียฟในการใช้อาวุธโจมตีเข้าไปในรัสเซีย ขณะที่หน่วยข่าวกรองเกาหลีใต้คาดทหารโสมแดงอาจถูกส่งลงสมรภูมิยูเครนเร็วกว่าคาด . สำนักข่าวทาสส์ของทางการรัสเซียรายงานเมื่อวันอังคาร (29) ว่า โช ซอนฮุย รัฐมนตรีต่างประเทศเกาหลีเหนือ เดินทางถึงเมืองวลาดิวอสต็อก เมืองใหญ่ทางภาคตะวันออกไกลของรัสเซียแล้ว และมีกำหนดจะเดินทางต่อไปยังกรุงมอสโกในวันพุธ (30) เพื่อหารือกับเจ้าหน้าที่รัสเซีย แต่ไม่ได้ระบุว่าเป็นใคร . รายงานนี้ออกมาหลังจากเมื่อวันจันทร์ (28) ซาบรินา ซิงห์ รองโฆษกของกระทรวงกลาโหมอเมริกา (เพนตากอน) แถลงว่า เกาหลีเหนือจัดส่งทหารราว 10,000 นายไปฝึกในรัสเซีย ซึ่งมากกว่าที่เคยประเมินก่อนหน้านี้ถึง 7,000 นาย และทหารเหล่านั้นอาจถูกส่งไปสู้รบในยูเครนในอีกหลายสัปดาห์ข้างหน้า . ขณะที่ประธานาธิบดีโจ ไบเดน ระบุว่า สถานการณ์นี้ “อันตรายมาก” . เพนตากอนยังประกาศว่า หากทหารเกาหลีเหนือเข้าสู่สงครามยูเครน ก็จะไม่ตั้งข้อจำกัดห้ามเคียฟใช้อาวุธของอเมริกา หลังจากก่อนหน้านี้สหรัฐฯ แสดงท่าทียังไม่พร้อมที่จะทำตามคำรบเร้าของเคียฟ ที่ต้องการให้สหรัฐฯ และฝ่ายตะวันตกจัดส่งพวกอาวุธพิสัยทำการไกลๆ ให้แก่ยูเครน รวมทั้งอนุญาตให้ยูเครนนำอาวุธที่ได้รับจากตะวันตกซึ่งมีสมรรถนะเช่นนี้อยู่แล้ว ไปใช้ในการโจมตีลึกเข้าไปแดนหมีขาว . ขณะที่ แมทธิว มิลเลอร์ โฆษกกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ ระบุว่า สหรัฐฯ ได้แจ้งกับจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรสำคัญของทั้งรัสเซียและเกาหลีเหนือ เกี่ยวกับการดำเนินการของทั้งสองประเทศที่ถือเป็นการบ่อนทำลายเสถียรภาพ . ด้านมาร์ค รึตเตอ เลขาธิการขององค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (นาโต) ออกมาวิพากษ์วิจารณ์ว่า ความเคลื่อนไหวนี้เป็นการขยายสงครามที่อันตรายของรัสเซีย อีกทั้งเป็นสัญญาณว่า ปูตินสิ้นหวังมากขึ้น . รึตเตออ้างตัวเลขของฝ่ายตะวันตกที่ระบุว่า ทหารรัสเซียกว่า 600,000 นายเสียชีวิตหรือบาดเจ็บระหว่างสงครามในยูเครนที่เริ่มต้นขึ้นเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2022 และเวลานี้เครมลินไม่สามารถบุกต่อโดยไม่มีการสนับสนุนจากต่างชาติ . เลขาธิการนาโตแถลงเช่นนี้ในบรัสเซลส์ หลังจากได้ฟังสรุปสถานการณ์จากทางเจ้าหน้าที่ข่าวกรองเกาหลีใต้ว่า ขณะนี้สามารถยืนยันได้ว่า ทหารเกาหลีเหนือถูกส่งไปประจำการภาคสนามในแคว้นคูร์สก์ ทางตะวันตกของรัสเซีย ทั้งนี้ ตั้งแต่เดือนสิงหาคมที่ผ่านมา ยูเครนได้ส่งกำลังบุกเข้าไปในคูร์สก์ และยึดพื้นที่ได้จำนวนหนึ่ง ถึงแม้ทางรัสเซียแถลงในระยะหลังๆ ว่า ได้ยันการบุกของฝ่ายเคียฟเอาไว้ได้แล้ว และกำลังค่อยๆ ช่วงชิงพื้นที่ซึ่งถูกยึดไปกลับคืนมา . ทางด้านประธานาธิบดียุน ซอกยอน ของเกาหลีใต้ ระบุเมื่อวันอังคาร (29 ต.ค.) ว่า การขยายความร่วมมือทางทหารอย่างผิดกฎหมายระหว่างมอสโกกับเปียงยางเป็นภัยคุกคามใหญ่หลวงด้านความมั่นคงสำหรับนานาชาติ และเตือนว่า โซลกำลังพิจารณามาตรการตอบโต้ . ก่อนหน้านี้ เกาหลีใต้ซึ่งเป็นผู้ส่งออกอาวุธรายใหญ่ เผยว่า กำลังทบทวนการพิจารณาส่งอาวุธให้ยูเครนโดยตรง ซึ่งเป็นสิ่งที่พันธมิตรตะวันตกเรียกร้องมานาน แต่โซลยังคัดค้านเนื่องจากขัดกับนโยบายดั้งเดิมภายในประเทศ . ประธานาธิบดีเกาหลีใต้ยังกล่าวกับ อัวร์ซูลา ฟอน แดร์ ไลเอิน ประธานของคณะกรรมาธิการยุโรป หรือก็คือองค์กรบริหารของอียู ระหว่างหารือทางโทรศัพท์ว่า ทหารเกาหลีเหนืออาจถูกส่งไปยังแนวรบในยูเครนเร็วกว่าที่คาด . นอกจากนั้น หน่วยงานข่าวกรองของโซลแถลงต่อสมาชิกรัฐสภาว่า แม้แต่นายพลระดับสูงของเกาหลีเหนือยังถูกส่งไปยังแนวหน้าในสงครามระหว่างรัสเซียกับยูเครน ตอกย้ำการกระชับความร่วมมือทางทหารของสองประเทศนี้ . ลี ซองควน สมาชิกรัฐสภาเกาหลีใต้ กล่าวเช่นนี้หลังได้รับการบรรยายสรุปจากสำนักงานข่าวกรองแห่งชาติ (เอ็นไอเอส) ว่าเกาหลีเหนือกำลังเตรียมปล่อยดาวเทียมสอดแนมอีกครั้งโดยใช้ส่วนประกอบขั้นสูงและความช่วยเหลือด้านเทคโนโลยีจากรัสเซีย หลังจากความพยายามในเดือนพฤษภาคมล้มเหลว . พวกผู้เชี่ยวชาญระบุว่า เพื่อแลกเปลี่ยนกับการส่งทหารไปช่วยรัสเซีย เกาหลีเหนือมีแนวโน้มต้องการเทคโนโลยีการทหารตั้งแต่ดาวเทียมจนถึงเรือดำน้ำสอดแนม และอาจรวมถึงการรับประกันด้านความมั่นคงจากมอสโก . ลีเสริมว่า เกาหลีเหนือพยายามปิดข่าวการส่งทหารไปประจำการในรัสเซีย โดยแจ้งกับครอบครัวทหารเหล่านั้นว่า ถูกส่งไปฝึก . สำหรับท่าทีของ ประธานาธิบดีวลาดิมีร์ ปูติน นั้น ในช่วงหลังๆ นี้ไม่ได้ปฏิเสธข่าวนี้ โดยบอกว่าเรื่องเช่นนี้เป็นเรื่องระหว่างรัสเซียกับเกาหลีเหนือ ขณะที่เปียงยางตอนแรกยืนกรานว่า ไม่ได้ส่งทหารไปรัสเซีย กระทั่งเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว รัฐมนตรีช่วยต่างประเทศจึงแถลงแก้เกี้ยวว่า ถ้าหากจะมีการส่งทหารไปจริงก็จะเป็นไปตามกฎหมายระหว่างประเทศ . ทางฝ่ายประธานาธิบดีโวโลดิมีร์ เซเลนสกีของยูเครน กล่าวสำทับว่า “เร็วๆ นี้” อาจมีทหารเกาหลีเหนือในรัสเซียถึง 12,000 นาย . อ่านเพิ่มเติม..https://sondhitalk.com/detail/9670000104387 .............. Sondhi X
    Like
    7
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 1489 มุมมอง 0 รีวิว
  • "ครั้งหนึ่งในชีวิต เราคือผู้พิชิตภูกระดึง" ขุนเขามหาเสน่ห์แห่งเมืองเลย ที่ดึงดูดให้ผู้คนไปพิชิตสักครั้งในชีวิต และทรัพยากรธรรมชาติที่มีค่า สร้างรายได้ให้ชุมชนโดยรอบอย่างยั่งยืน

    ภูกระดึง ตั้งอยู่ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติภูกระดึง ตำบลศรีฐาน อำเภอภูกระดึง จังหวัดเลย เป็นอุทยานแห่งชาติลำดับที่ 2 ของประเทศไทย
    ปกติแล้ว ทุกๆ ปี ภูกระดึงจะเปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าไปเที่ยวได้ในช่วง 1 ตุลาคม - 31 พฤษภาคม

    #สุขนิยามสยามโสภา #สยามโสภา #ภูกระดึง #จังหวัดเลย #เที่ยวเขา #เดินป่า #อุทยานแห่งชาติ #thaitimes #thaitimesสยามโสภา
    "ครั้งหนึ่งในชีวิต เราคือผู้พิชิตภูกระดึง" ขุนเขามหาเสน่ห์แห่งเมืองเลย ที่ดึงดูดให้ผู้คนไปพิชิตสักครั้งในชีวิต และทรัพยากรธรรมชาติที่มีค่า สร้างรายได้ให้ชุมชนโดยรอบอย่างยั่งยืน ภูกระดึง ตั้งอยู่ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติภูกระดึง ตำบลศรีฐาน อำเภอภูกระดึง จังหวัดเลย เป็นอุทยานแห่งชาติลำดับที่ 2 ของประเทศไทย ปกติแล้ว ทุกๆ ปี ภูกระดึงจะเปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าไปเที่ยวได้ในช่วง 1 ตุลาคม - 31 พฤษภาคม #สุขนิยามสยามโสภา #สยามโสภา #ภูกระดึง #จังหวัดเลย #เที่ยวเขา #เดินป่า #อุทยานแห่งชาติ #thaitimes #thaitimesสยามโสภา
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 561 มุมมอง 123 1 รีวิว
  • แหกดวงชะตา "ลัคนาราศีพฤษภ" เดือนพฤศจิกายน 2567
    https://youtu.be/_DHPeCiYlYo
    ติดตามข้อมูลข่าวสาร ดวงชะตา เรื่องน่ารู้ และเคล็ดลับการเสริมดวง ได้ที่
    📍YouTube : / @1000payakorn
    📍Facebook : / ๑๐๐๐พยากรณ์
    📍Tik Tok : / 1000payakon
    ติดต่อสอบถามรับนัดคิวรับดวงชะตาส่วนตัวได้ที่เพจ ๑,๐๐๐ พยากรณ์ ที่เดียวเท่านั้น
    มีแอดมินคอยตอบ ๒๔ ชั่วโมง!!!!
    #๑๐๐๐พยากรณ์ #ดูดวง #ราศีพฤษภ #พฤษภ #โหร๑๐๐๐พยากรณ์
    แหกดวงชะตา "ลัคนาราศีพฤษภ" เดือนพฤศจิกายน 2567 https://youtu.be/_DHPeCiYlYo ติดตามข้อมูลข่าวสาร ดวงชะตา เรื่องน่ารู้ และเคล็ดลับการเสริมดวง ได้ที่ 📍YouTube : / @1000payakorn 📍Facebook : / ๑๐๐๐พยากรณ์ 📍Tik Tok : / 1000payakon ติดต่อสอบถามรับนัดคิวรับดวงชะตาส่วนตัวได้ที่เพจ ๑,๐๐๐ พยากรณ์ ที่เดียวเท่านั้น มีแอดมินคอยตอบ ๒๔ ชั่วโมง!!!! #๑๐๐๐พยากรณ์ #ดูดวง #ราศีพฤษภ #พฤษภ #โหร๑๐๐๐พยากรณ์
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 131 มุมมอง 0 รีวิว
  • หยุดฝ่าฝืนพระบรมราชโองการ หยุดละเมิดสิทธิและอธิปไตยของราชอาณาเขตทะเลไทย / ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์

    การที่รัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกำลัง “เร่งรัด” เจรจาด้านผลประโยชน์พลังงานในอ่าวไทยกับรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา ภายใต้บันทึกความเข้าใจระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรกัมพูชาว่าด้วยพื้นที่ที่ไทยและกัมพูชาอ้างสิทธิในไหล่ทวีปทับซ้อนกัน ค.ศ. 2001 หรือที่เรียกว่า “MOU 2544” นั้น อาจสุ่มเสี่ยงต่อการฝ่าฝืนกฎหมายของประเทศไทย ฝ่าฝืนพระบรมราชโองการ และอาจทำให้ประเทศชาติและประชาชนอาจจะสูญเสียผลประโยชน์ตามมาได้ด้วย

    โดยเฉพาะอย่างยิ่งพระบรมราชโองการสมัยรัชกาลที่ 9 ได้ทรงประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 ลงราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2516 โดยมีจอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการนั้น ได้ทำให้เห็นว่า พื้นที่ทางทะเลซึ่งกำลังมีการเจรจาผลประโยชน์ระหว่างไทยและกัมพูชาตาม MOU 2544 อยู่ในขณะนี้มี จำนวน 26,000 ตารางกิโลเมตร อยู่ในเขตไหล่ทวีปของราชอาณาจักรไทยฝ่ายเดียวตามกฎหมายสากลทั้งสิ้น ไม่ใช่พื้นที่ทับซ้อนทางทะเลระหว่างไทยและกัมพูชาดังที่พยายามเจรจากันอยู่ในขณะนี้ ดังมีรายละเอียดดังนี้

    ประการแรก พระบรมราชโองการสมัยรัชกาลที่ 9 ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 ไม่สามารถลบล้างด้วยข้อตกลงหรือการเจรจากันเองของนักการเมืองหรือข้าราชการได้

    หากมีการเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่นต้องเป็นไปโดยเงื่อนไขที่กำหนดโดย “พระบรมราชโองการ” เท่านั้น

    ประการที่สอง พระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 นั้น ได้ระบุวัตถุประสงค์อย่างชัดเจนว่าเพื่อใช้ “สิทธิอธิปไตยของประเทศไทย” จึงต้องตระหนักว่าพระบรมราชโองการประกาศฉบับนี้มี 3 คำสำคัญประกอบกัน คือ “สิทธิ” , “อธิปไตย” ตลอดจนคำว่า ”ของประเทศไทย“

    ดังนั้นพระบรมราชโองการประกาศฉบับนี้ไม่ใช่เรื่อง “อธิปไตย“ของประเทศไทยแต่เพียงอย่างเดียว แต่ต้องรวมถึง “สิทธิ”ของประเทศไทย ไม่ใช่ “อธิปไตย” ของชาติอื่นและไม่ใช่“สิทธิ”ของชาติอื่นมาผสมปะปนได้

    โดยมีข้อความระบุเฉพาะถึงขอบเขตอย่างชัดเจนด้วยว่า “การใช้สิทธิอธิปไตยของประเทศไทย”นั้นเพื่อใช้ “ในการสำรวจและการแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ“ ในอ่าวไทย

    ภายใต้พระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 มีสาระสำคัญในเรื่อง “สิทธิอธิปไตยในการสำรวจและการแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทย“ ดังนั้นทรัพยากรธรรมชาติภายใต้การประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปของราชอาณาจักรไทยย่อมต้องเป็นของราชอาณาจักรไทยเพียงประเทศเดียวเท่านั้น

    ดังนั้นผู้สำรวจ ผู้รับสัมปทาน หรือมีผู้แสวงหาผลประโยชน์ในทรัพยากรในอ่าวไทยจะต้องทำสัญญากับอธิปไตยได้เพียงรัฐเดียวเท่านั้นคือ ”ประเทศไทย“

    การบิดเบือนให้ “สิทธิอธิปไตยในการสำรวจและการแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทย” ที่เดิมต้องลงนามโดยรัฐบาลประเทศไทยเพียงรัฐเดียว ให้กลายเป็นสิทธิในการสำรวจและแสวงหาผลประโยชน์ทางพลังงานที่ต้องลงนามโดยรัฐบาล 2 ประเทศ คือประเทศไทยร่วมกับประเทศกัมพูชานั้น ย่อมเท่ากับว่ารัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยได้สละ “สิทธิ” และ “อธิปไตย” ในการอนุญาตสำรวจและแสวงหาผลประโยชน์ทางทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทยฝ่ายเดียว

    การกระทำดังที่กล่าวมานี้อาจเข้าข่ายเป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมายและฝ่าฝืนต่อพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 เมื่อครั้งที่ได้ทรงประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516

    ประการที่สาม พระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศตามกฎหมายสากลเท่านั้น ปรากฏเป็นข้อความเป็นหลักการว่า

    “ยึดถือมูลฐานแห่งสิทธิตามกฎหมายระหว่างประเทศ อันเป็นที่ยอมรับนับถือกันทั่วไป ตามอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 และประเทศไทยได้ให้สัตยาบันไว้แล้ว เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2511“

    ทั้งนี้ บทบัญญัติอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 นั้น ต่อมาได้ถูกรับรองโดยอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ด้วย

    ประกอบกับจุดเริ่มต้นของประเทศไทยในการแบ่งแยกระหว่างราชอาณาจักรไทย กับราชอาณาจักรกัมพูชา ตามสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ. 1907 ข้อ 2 นั้น ได้ระบุอย่างชัดแจ้งว่า “เกาะกูดเป็นของสยาม” อย่างแน่นอนความว่า

    “รัฐบาลฝรั่งเศสยอมยกดินแดนเมืองด่านซ้ายและเมืองตราด กับเกาะทั้งหลายซึ่งอยู่ภายใต้แหลมสิงลงไป จนถึงเกาะกูดนั้น ให้แก่กรุงสยาม ตามกำหนดเขตร์แดนดังว่าไว้ ในข้อ 2 ของสัญญาว่าด้วยปักปันเขตร์แดนดังกล่าวมาแล้ว“

    นอกจากนั้นยังมีหลักฐานเป็น “แผนที่” แนบท้ายพระราชกฤษฎีกาของราชอาณาจักรกัมพูชาที่ได้กำหนดแผนที่แสดง “เส้นเขตไหล่ทวีป” ของราชอาณาจักรกัมพูชา ฉบับเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 และพระราชกฤษฎีกาของราชอาณาจักรกัมพูชาซึ่งได้ประกาศกำหนดแผนที่แสดง “เส้นทะเลอาณาเขต”ของกัมพูชา ฉบับเมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ.2515 โดยมีข้อความด้านซ้ายแผนที่ภาพเกาะกูดเป็นภาษาอังกฤษคำว่า “Koh Kut” โดยมีวงเล็บอยู่ด้านล่างกำกับด้วยคำว่า “สยาม” เป็นภาษาอังกฤษว่า ”(SIAM)“ ทั้ง 2 ฉบับ ย่อมเป็นการยืนยันโดยราชอาณาจักรกัมพูชาว่า “เกาะกูด” เป็นของสยามประเทศอย่างแน่นอน

    เมื่อเกาะกูดเป็นของสยามประเทศ สยามประเทศจึงย่อมต้องมี ”ทะเลอาณาเขต“ จากเส้นฐานของเกาะกูดไปอีก 12 ไมล์ทะเล และมี ”เขตทะเลต่อเนื่อง“จากเส้นฐานของเกาะกูด 24 ไมล์ทะเล “รอบเกาะกูด” ตามบทบัญญัติอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 ซึ่งต่อมาหลักการนี้ได้ถูกรับรองโดยอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ด้วย

    อย่างไรก็ตาม “เกาะกูด” ของสยาม และ “เกาะกง” ของกัมพูชา คือเกาะที่มีดินแดนยื่นออกมาในทะเลใกล้ที่สุดจากหลักเขตที่ 73 บนแผ่นดิน ซึ่งเป็นหลักเขตสุดท้ายทางทิศใต้ร่วมกันระหว่างประเทศไทยและกัมพูชา ที่บ้านหาดเล็ก ตำบลหาดเล็ก อำเภอคลองใหญ่จังหวัดตราด

    ดังนั้นพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 จึงได้ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 จึงปรากฏแผนที่การลากเส้นเขตไหล่ทวีปตาม ”กฎหมายสากล“ คือ เริ่มลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 แบ่งครึ่งมุมระหว่างเกาะกูดและเกาะกง

    การลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 แบ่งครึ่งมุมระหว่างเกาะกูดและเกาะกงนั้น ก็เป็นการดำเนินไปตามกฎหมายสากลด้วยทั้งสิ้น คือบทบัญญัติอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 ซึ่งต่อมาได้ถูกรับรองโดยอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ด้วย

    ดังนั้นพระราชกฤษฎีกาของราชอาณาจักรกัมพูชาได้กำหนดแผนที่ “เส้นเขตไหล่ทวีป” ของราชอาณาจักรกัมพูชา ฉบับเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 ที่ลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 มาประชิดเกาะกูดด้านตะวันตก แล้วอ้อมเกาะกูดไปด้านล่างแล้ววกกลับมาเป็นรูปตัว U แล้วลากเส้นต่อเนื่องไปยังทิศตะวันออกของเกาะกูดลึกเข้าไปในอ่าวไทยก็ดี หรือพระราชกฤษฎีกาของราชอาณาจักรกัมพูชาฝ่ายเดียวซึ่งกำหนดแผนที่แสดงการลาก “เส้นทะเลอาณาเขต” ของกัมพูชาจากหลักเขตที่ 73 ประชิดด้านทิศตะวันตกของเกาะกูด ฉบับเมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ.2515 ก็ดี ล้วนเป็นแผนที่กำหนดเส้นเขตแดนทางทะเลที่ “ละเมิดสิทธิและละเมิดอธิปไตยของประเทศไทย“ทั้งสิ้น และยังไม่เป็นไปตามกฎหมายทะเลสากล และไม่เป็นไปตามบทบัญญัติอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 ด้วยเพราะมีผลตามมาดังนี้

    1.ละเมิด ทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเลของราชอาณาจักรไทยรอบเกาะกูด

    2.ละเมิดเขตทะเลต่อเนื่อง 24 ไมล์ทะเลของราชอาณาจักรไทยรอบเกาะกูด

    3.ละเมิดเขตเศรษฐกิจจำเพาะของราชอาณาจักรไทยที่มีการแบ่งครึ่งมุมระหว่างเกาะกูดกับเกาะกงจากหลักเขตที่ 73

    ดังนั้นหากราชอาณาจักรไทยยินยอมหรือรับรู้ โดยไม่ปฏิเสธการลากเส้นที่ละเมิดทะเลอาณาเขตรอบเกาะกูด ไม่ปฏิเสธการลากเส้นที่ละเมิดเขตทะเลต่อเนื่องรอบเกาะกูด และไม่ปฏิเสธการลากเส้นที่ละเมิดเขตเศรษฐกิจจำเพาะทางพื้นที่ด้านทิศทะวันตกเส้นแบ่งครึ่งมุมระหว่างเกาะกูดและเกาะกง ย่อมเป็นการสุ่มเสี่ยงที่ราชอาณาจักรไทยจะสูญเสียสิทธิและอธิปไตยทะเลอาณาเขตรอบเกาะกูด สุ่มเสี่ยงสูญเสียสิทธิและอธิปไตยเขตทะเลต่อเนื่อง สุ่่มเสี่ยงสูญเสียพื้นที่ทะเลในเขตเศรษฐกิจจำเพาะ

    เมื่อสละกฎหมายทะเลสากลรอบเกาะกูดทั้งหมด ก็จะส่งผลทำให้เกิดความสุ่่มเสี่ยงที่จะเกิดข้อพิพาท “ดินแดนเกาะกูด” ในฐานะที่ราชอาณาจักรไทย “นิ่งเฉย” ต่อการละเมิดพื้นที่ทะเลอาณาเขต ละเมิดพื้นที่ทะเลต่อเนื่อง และการละเมิดเขตเศรษฐกิจจำเพาะรอบเกาะกูด มีความสุ่มเสี่ยงที่รัฐบาลกัมพูชาอาจอ้างกฎหมายปิดปากให้เกาะกูดตกเป็นของกัมพูชาในอนาคตได้ ดังที่ราชอาณาจักรไทยได้เคยสูญเสียปราสาทพระวิหารและสูญเสียพื้นที่โดยรอบปราสาทพระวิหารโดยศาลโลกเมื่อปี พ.ศ. 2505 มาแล้ว

    ดังนั้นหากยังฝ่าฝืนดำเนินการ MOU 2544 ระหว่างไทย-กัมพูชา โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากมีการตกลงใดๆที่อยู่นอกเหนือแผนที่ตามประกาศภายใต้พระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 อาจสุ่มเสี่ยงว่าเป็นการดำเนินที่ฝ่าฝืนต่อกฎหมาย และไม่เป็นการยึดถือตามบทบัญญัติอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 ด้วย

    ประการที่สี่ พื้นที่ทับซ้อนสามารถเจรจาแบ่งผลประโยชน์ได้ แต่ต้องอยู่ภายใต้กฎหมายสากลเท่านั้น ไม่ใช่ทำตามอำเภอใจ

    พระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 นั้นได้ “เปิดช่องให้มีการเจรจาตกลงกันได้”

    แต่จะต้องยึดถือมูลฐานจาก บทบัญญัติอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 เท่านั้น และต้องไม่ใช้เงื่อนไขอื่นในการตกลงกันความว่า

    “สำหรับสิทธิอธิปไตยในส่วนที่เป็นทะเลอาณาเขตซึ่งต่อเนื่องกับทะเลอาณาเขตใกล้เคียงอันจะถือเป็นจุดเริ่มของเส้นแบ่งเขตไหล่ทวีปนั้นจะเป็นไปตามที่จะได้ตกลงกัน โดยยึดถือมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเล อาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958“

    เพราะตามบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 สามารถเกิดพื้นที่ทับซ้อนกันได้ จึงอาจเกิดพื้นที่ลักษณะอ้างสิทธิทับซ้อนกันได้จริงดังที่ได้เกิดขึ้นกับพื้นที่การพัฒนาร่วมระหว่างไทย-มาเลเซีย

    แต่เมื่อ MOU 2544 ไทย-กัมพูชา แตกต่างจากพื้นที่พัฒนาร่วมไทย-มาเลเซีย เพราะ MOU 2544 ระหว่างไทย-กัมพูชา ได้เกิดพื้นที่โดยรับรู้เส้นไหล่ทวีปอ้างสิทธิของราชอาณาจักรกัมพูชาที่กำหนดเขตไหล่ทวีปที่ลากเส้น ”ละเมิด“ สิทธิและอธิปไตยทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเลของราชอาณาจักรไทยรอบเกาะกูด ละเมิดเขตทะเลต่อเนื่อง 24 ไมล์ทะเลของราชอาณาจักรไทยรอบเกาะกูด และละเมิดเขตเศรษฐกิจจำเพาะของราชอาณาจักรไทยที่มีการแบ่งครึ่งมุมจากหลักเขตที่ 73 เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาจึงย่อมไม่มีทางเป็นไปตามอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 ได้เลย

    หากจะมีพื้นที่ทับซ้อนในทางเทคนิกก็ต้องเป็นไปตามมูลฐานของอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 เท่านั้น จึงจะสามารถเริ่มเจรจาได้ ซึ่งแปลว่าก็ต้องมีความใกล้เคียงกับแผนที่แนบท้ายพระบรมราชโองการทรงประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยฉบับเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 เท่านั้น

    ดังนั้นการเจรจาตกลงกันระหว่างไทย-กัมพูชา ที่ลากเส้นโดยไม่ยึดถือตามมูลฐานของอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 หรือทำให้ฝ่ายไทยสูญเสียสิทธิและอธิปไตยเกินกว่าพระบรมราชโองการย่อมกระทำไม่ได้

    และหากรัฐบาลยังฝ่าฝืนดำเนินต่อไป ก็ย่อมมีความเสี่ยงว่าจะเป็นการกระทำผิดกฎหมายอย่างร้ายแรง เพราะเป็นการฝ่าฝืนพระบรมราชโองการของในหลวงรัชกาลที่ 9 ยินยอมให้มีการละเมิดสิทธิและอธิปไตยของราชอาณาเขตทะเลไทย

    ด้วยจิตคารวะ
    ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์
    คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต
    23 ตุลาคม 2567

    https://www.facebook.com/100044511276276/posts/1079446800215686/?

    #Thaitimes
    หยุดฝ่าฝืนพระบรมราชโองการ หยุดละเมิดสิทธิและอธิปไตยของราชอาณาเขตทะเลไทย / ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ การที่รัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกำลัง “เร่งรัด” เจรจาด้านผลประโยชน์พลังงานในอ่าวไทยกับรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา ภายใต้บันทึกความเข้าใจระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรกัมพูชาว่าด้วยพื้นที่ที่ไทยและกัมพูชาอ้างสิทธิในไหล่ทวีปทับซ้อนกัน ค.ศ. 2001 หรือที่เรียกว่า “MOU 2544” นั้น อาจสุ่มเสี่ยงต่อการฝ่าฝืนกฎหมายของประเทศไทย ฝ่าฝืนพระบรมราชโองการ และอาจทำให้ประเทศชาติและประชาชนอาจจะสูญเสียผลประโยชน์ตามมาได้ด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งพระบรมราชโองการสมัยรัชกาลที่ 9 ได้ทรงประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 ลงราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2516 โดยมีจอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการนั้น ได้ทำให้เห็นว่า พื้นที่ทางทะเลซึ่งกำลังมีการเจรจาผลประโยชน์ระหว่างไทยและกัมพูชาตาม MOU 2544 อยู่ในขณะนี้มี จำนวน 26,000 ตารางกิโลเมตร อยู่ในเขตไหล่ทวีปของราชอาณาจักรไทยฝ่ายเดียวตามกฎหมายสากลทั้งสิ้น ไม่ใช่พื้นที่ทับซ้อนทางทะเลระหว่างไทยและกัมพูชาดังที่พยายามเจรจากันอยู่ในขณะนี้ ดังมีรายละเอียดดังนี้ ประการแรก พระบรมราชโองการสมัยรัชกาลที่ 9 ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 ไม่สามารถลบล้างด้วยข้อตกลงหรือการเจรจากันเองของนักการเมืองหรือข้าราชการได้ หากมีการเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่นต้องเป็นไปโดยเงื่อนไขที่กำหนดโดย “พระบรมราชโองการ” เท่านั้น ประการที่สอง พระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 นั้น ได้ระบุวัตถุประสงค์อย่างชัดเจนว่าเพื่อใช้ “สิทธิอธิปไตยของประเทศไทย” จึงต้องตระหนักว่าพระบรมราชโองการประกาศฉบับนี้มี 3 คำสำคัญประกอบกัน คือ “สิทธิ” , “อธิปไตย” ตลอดจนคำว่า ”ของประเทศไทย“ ดังนั้นพระบรมราชโองการประกาศฉบับนี้ไม่ใช่เรื่อง “อธิปไตย“ของประเทศไทยแต่เพียงอย่างเดียว แต่ต้องรวมถึง “สิทธิ”ของประเทศไทย ไม่ใช่ “อธิปไตย” ของชาติอื่นและไม่ใช่“สิทธิ”ของชาติอื่นมาผสมปะปนได้ โดยมีข้อความระบุเฉพาะถึงขอบเขตอย่างชัดเจนด้วยว่า “การใช้สิทธิอธิปไตยของประเทศไทย”นั้นเพื่อใช้ “ในการสำรวจและการแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ“ ในอ่าวไทย ภายใต้พระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 มีสาระสำคัญในเรื่อง “สิทธิอธิปไตยในการสำรวจและการแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทย“ ดังนั้นทรัพยากรธรรมชาติภายใต้การประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปของราชอาณาจักรไทยย่อมต้องเป็นของราชอาณาจักรไทยเพียงประเทศเดียวเท่านั้น ดังนั้นผู้สำรวจ ผู้รับสัมปทาน หรือมีผู้แสวงหาผลประโยชน์ในทรัพยากรในอ่าวไทยจะต้องทำสัญญากับอธิปไตยได้เพียงรัฐเดียวเท่านั้นคือ ”ประเทศไทย“ การบิดเบือนให้ “สิทธิอธิปไตยในการสำรวจและการแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทย” ที่เดิมต้องลงนามโดยรัฐบาลประเทศไทยเพียงรัฐเดียว ให้กลายเป็นสิทธิในการสำรวจและแสวงหาผลประโยชน์ทางพลังงานที่ต้องลงนามโดยรัฐบาล 2 ประเทศ คือประเทศไทยร่วมกับประเทศกัมพูชานั้น ย่อมเท่ากับว่ารัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยได้สละ “สิทธิ” และ “อธิปไตย” ในการอนุญาตสำรวจและแสวงหาผลประโยชน์ทางทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทยฝ่ายเดียว การกระทำดังที่กล่าวมานี้อาจเข้าข่ายเป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมายและฝ่าฝืนต่อพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 เมื่อครั้งที่ได้ทรงประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 ประการที่สาม พระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศตามกฎหมายสากลเท่านั้น ปรากฏเป็นข้อความเป็นหลักการว่า “ยึดถือมูลฐานแห่งสิทธิตามกฎหมายระหว่างประเทศ อันเป็นที่ยอมรับนับถือกันทั่วไป ตามอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 และประเทศไทยได้ให้สัตยาบันไว้แล้ว เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2511“ ทั้งนี้ บทบัญญัติอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 นั้น ต่อมาได้ถูกรับรองโดยอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ด้วย ประกอบกับจุดเริ่มต้นของประเทศไทยในการแบ่งแยกระหว่างราชอาณาจักรไทย กับราชอาณาจักรกัมพูชา ตามสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ. 1907 ข้อ 2 นั้น ได้ระบุอย่างชัดแจ้งว่า “เกาะกูดเป็นของสยาม” อย่างแน่นอนความว่า “รัฐบาลฝรั่งเศสยอมยกดินแดนเมืองด่านซ้ายและเมืองตราด กับเกาะทั้งหลายซึ่งอยู่ภายใต้แหลมสิงลงไป จนถึงเกาะกูดนั้น ให้แก่กรุงสยาม ตามกำหนดเขตร์แดนดังว่าไว้ ในข้อ 2 ของสัญญาว่าด้วยปักปันเขตร์แดนดังกล่าวมาแล้ว“ นอกจากนั้นยังมีหลักฐานเป็น “แผนที่” แนบท้ายพระราชกฤษฎีกาของราชอาณาจักรกัมพูชาที่ได้กำหนดแผนที่แสดง “เส้นเขตไหล่ทวีป” ของราชอาณาจักรกัมพูชา ฉบับเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 และพระราชกฤษฎีกาของราชอาณาจักรกัมพูชาซึ่งได้ประกาศกำหนดแผนที่แสดง “เส้นทะเลอาณาเขต”ของกัมพูชา ฉบับเมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ.2515 โดยมีข้อความด้านซ้ายแผนที่ภาพเกาะกูดเป็นภาษาอังกฤษคำว่า “Koh Kut” โดยมีวงเล็บอยู่ด้านล่างกำกับด้วยคำว่า “สยาม” เป็นภาษาอังกฤษว่า ”(SIAM)“ ทั้ง 2 ฉบับ ย่อมเป็นการยืนยันโดยราชอาณาจักรกัมพูชาว่า “เกาะกูด” เป็นของสยามประเทศอย่างแน่นอน เมื่อเกาะกูดเป็นของสยามประเทศ สยามประเทศจึงย่อมต้องมี ”ทะเลอาณาเขต“ จากเส้นฐานของเกาะกูดไปอีก 12 ไมล์ทะเล และมี ”เขตทะเลต่อเนื่อง“จากเส้นฐานของเกาะกูด 24 ไมล์ทะเล “รอบเกาะกูด” ตามบทบัญญัติอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 ซึ่งต่อมาหลักการนี้ได้ถูกรับรองโดยอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ด้วย อย่างไรก็ตาม “เกาะกูด” ของสยาม และ “เกาะกง” ของกัมพูชา คือเกาะที่มีดินแดนยื่นออกมาในทะเลใกล้ที่สุดจากหลักเขตที่ 73 บนแผ่นดิน ซึ่งเป็นหลักเขตสุดท้ายทางทิศใต้ร่วมกันระหว่างประเทศไทยและกัมพูชา ที่บ้านหาดเล็ก ตำบลหาดเล็ก อำเภอคลองใหญ่จังหวัดตราด ดังนั้นพระบรมราชโองการในสมัยรัชกาลที่ 9 จึงได้ประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 จึงปรากฏแผนที่การลากเส้นเขตไหล่ทวีปตาม ”กฎหมายสากล“ คือ เริ่มลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 แบ่งครึ่งมุมระหว่างเกาะกูดและเกาะกง การลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 แบ่งครึ่งมุมระหว่างเกาะกูดและเกาะกงนั้น ก็เป็นการดำเนินไปตามกฎหมายสากลด้วยทั้งสิ้น คือบทบัญญัติอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 ซึ่งต่อมาได้ถูกรับรองโดยอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ด้วย ดังนั้นพระราชกฤษฎีกาของราชอาณาจักรกัมพูชาได้กำหนดแผนที่ “เส้นเขตไหล่ทวีป” ของราชอาณาจักรกัมพูชา ฉบับเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 ที่ลากเส้นจากหลักเขตที่ 73 มาประชิดเกาะกูดด้านตะวันตก แล้วอ้อมเกาะกูดไปด้านล่างแล้ววกกลับมาเป็นรูปตัว U แล้วลากเส้นต่อเนื่องไปยังทิศตะวันออกของเกาะกูดลึกเข้าไปในอ่าวไทยก็ดี หรือพระราชกฤษฎีกาของราชอาณาจักรกัมพูชาฝ่ายเดียวซึ่งกำหนดแผนที่แสดงการลาก “เส้นทะเลอาณาเขต” ของกัมพูชาจากหลักเขตที่ 73 ประชิดด้านทิศตะวันตกของเกาะกูด ฉบับเมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ.2515 ก็ดี ล้วนเป็นแผนที่กำหนดเส้นเขตแดนทางทะเลที่ “ละเมิดสิทธิและละเมิดอธิปไตยของประเทศไทย“ทั้งสิ้น และยังไม่เป็นไปตามกฎหมายทะเลสากล และไม่เป็นไปตามบทบัญญัติอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 ด้วยเพราะมีผลตามมาดังนี้ 1.ละเมิด ทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเลของราชอาณาจักรไทยรอบเกาะกูด 2.ละเมิดเขตทะเลต่อเนื่อง 24 ไมล์ทะเลของราชอาณาจักรไทยรอบเกาะกูด 3.ละเมิดเขตเศรษฐกิจจำเพาะของราชอาณาจักรไทยที่มีการแบ่งครึ่งมุมระหว่างเกาะกูดกับเกาะกงจากหลักเขตที่ 73 ดังนั้นหากราชอาณาจักรไทยยินยอมหรือรับรู้ โดยไม่ปฏิเสธการลากเส้นที่ละเมิดทะเลอาณาเขตรอบเกาะกูด ไม่ปฏิเสธการลากเส้นที่ละเมิดเขตทะเลต่อเนื่องรอบเกาะกูด และไม่ปฏิเสธการลากเส้นที่ละเมิดเขตเศรษฐกิจจำเพาะทางพื้นที่ด้านทิศทะวันตกเส้นแบ่งครึ่งมุมระหว่างเกาะกูดและเกาะกง ย่อมเป็นการสุ่มเสี่ยงที่ราชอาณาจักรไทยจะสูญเสียสิทธิและอธิปไตยทะเลอาณาเขตรอบเกาะกูด สุ่มเสี่ยงสูญเสียสิทธิและอธิปไตยเขตทะเลต่อเนื่อง สุ่่มเสี่ยงสูญเสียพื้นที่ทะเลในเขตเศรษฐกิจจำเพาะ เมื่อสละกฎหมายทะเลสากลรอบเกาะกูดทั้งหมด ก็จะส่งผลทำให้เกิดความสุ่่มเสี่ยงที่จะเกิดข้อพิพาท “ดินแดนเกาะกูด” ในฐานะที่ราชอาณาจักรไทย “นิ่งเฉย” ต่อการละเมิดพื้นที่ทะเลอาณาเขต ละเมิดพื้นที่ทะเลต่อเนื่อง และการละเมิดเขตเศรษฐกิจจำเพาะรอบเกาะกูด มีความสุ่มเสี่ยงที่รัฐบาลกัมพูชาอาจอ้างกฎหมายปิดปากให้เกาะกูดตกเป็นของกัมพูชาในอนาคตได้ ดังที่ราชอาณาจักรไทยได้เคยสูญเสียปราสาทพระวิหารและสูญเสียพื้นที่โดยรอบปราสาทพระวิหารโดยศาลโลกเมื่อปี พ.ศ. 2505 มาแล้ว ดังนั้นหากยังฝ่าฝืนดำเนินการ MOU 2544 ระหว่างไทย-กัมพูชา โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากมีการตกลงใดๆที่อยู่นอกเหนือแผนที่ตามประกาศภายใต้พระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 อาจสุ่มเสี่ยงว่าเป็นการดำเนินที่ฝ่าฝืนต่อกฎหมาย และไม่เป็นการยึดถือตามบทบัญญัติอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 ด้วย ประการที่สี่ พื้นที่ทับซ้อนสามารถเจรจาแบ่งผลประโยชน์ได้ แต่ต้องอยู่ภายใต้กฎหมายสากลเท่านั้น ไม่ใช่ทำตามอำเภอใจ พระบรมราชโองการประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 นั้นได้ “เปิดช่องให้มีการเจรจาตกลงกันได้” แต่จะต้องยึดถือมูลฐานจาก บทบัญญัติอนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 เท่านั้น และต้องไม่ใช้เงื่อนไขอื่นในการตกลงกันความว่า “สำหรับสิทธิอธิปไตยในส่วนที่เป็นทะเลอาณาเขตซึ่งต่อเนื่องกับทะเลอาณาเขตใกล้เคียงอันจะถือเป็นจุดเริ่มของเส้นแบ่งเขตไหล่ทวีปนั้นจะเป็นไปตามที่จะได้ตกลงกัน โดยยึดถือมูลฐานแห่งบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเล อาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958“ เพราะตามบทบัญญัติของอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 สามารถเกิดพื้นที่ทับซ้อนกันได้ จึงอาจเกิดพื้นที่ลักษณะอ้างสิทธิทับซ้อนกันได้จริงดังที่ได้เกิดขึ้นกับพื้นที่การพัฒนาร่วมระหว่างไทย-มาเลเซีย แต่เมื่อ MOU 2544 ไทย-กัมพูชา แตกต่างจากพื้นที่พัฒนาร่วมไทย-มาเลเซีย เพราะ MOU 2544 ระหว่างไทย-กัมพูชา ได้เกิดพื้นที่โดยรับรู้เส้นไหล่ทวีปอ้างสิทธิของราชอาณาจักรกัมพูชาที่กำหนดเขตไหล่ทวีปที่ลากเส้น ”ละเมิด“ สิทธิและอธิปไตยทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเลของราชอาณาจักรไทยรอบเกาะกูด ละเมิดเขตทะเลต่อเนื่อง 24 ไมล์ทะเลของราชอาณาจักรไทยรอบเกาะกูด และละเมิดเขตเศรษฐกิจจำเพาะของราชอาณาจักรไทยที่มีการแบ่งครึ่งมุมจากหลักเขตที่ 73 เส้นเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาจึงย่อมไม่มีทางเป็นไปตามอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 ได้เลย หากจะมีพื้นที่ทับซ้อนในทางเทคนิกก็ต้องเป็นไปตามมูลฐานของอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 เท่านั้น จึงจะสามารถเริ่มเจรจาได้ ซึ่งแปลว่าก็ต้องมีความใกล้เคียงกับแผนที่แนบท้ายพระบรมราชโองการทรงประกาศกำหนดเขตไหล่ทวีปประเทศไทยด้านอ่าวไทยฉบับเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 เท่านั้น ดังนั้นการเจรจาตกลงกันระหว่างไทย-กัมพูชา ที่ลากเส้นโดยไม่ยึดถือตามมูลฐานของอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ซึ่งกระทำ ณ กรุงเจนีวา ลงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 1958 หรือทำให้ฝ่ายไทยสูญเสียสิทธิและอธิปไตยเกินกว่าพระบรมราชโองการย่อมกระทำไม่ได้ และหากรัฐบาลยังฝ่าฝืนดำเนินต่อไป ก็ย่อมมีความเสี่ยงว่าจะเป็นการกระทำผิดกฎหมายอย่างร้ายแรง เพราะเป็นการฝ่าฝืนพระบรมราชโองการของในหลวงรัชกาลที่ 9 ยินยอมให้มีการละเมิดสิทธิและอธิปไตยของราชอาณาเขตทะเลไทย ด้วยจิตคารวะ ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต 23 ตุลาคม 2567 https://www.facebook.com/100044511276276/posts/1079446800215686/? #Thaitimes
    Like
    17
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 908 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts