• สตง.ออกเอกสารชี้แจงกรณีปรับแก้ผนังปล่องลิฟต์ตึกใหม่ เพราะแบบโครงสร้างเดิม บริเวณทางเดินเมื่อรวมกับวัสดุตกแต่งตามแบบมีความกว้างไม่เป็นไปตามกฎกระทรวง ผู้ออกแบบจึงเสนอลดความหนาลงจาก 30 ซม.เป็น 25 ซม. โดยได้ดำเนินการตามขั้นตอนอย่างถูกต้องครบถ้วน

    วันนี้ (24 เม.ย.) สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดินเผยแพร่เอกสารข่าวประชาสัมพันธ์ชี้แจงขั้นตอนการดําเนินการเกี่ยวกับการบริหารสัญญา (กรณีการปรับแก้ผนังปล่องลิฟต์ (Core Lift) บางจุด และการแก้ไขสัญญา) มีรายละเอียดดังนี้

    ตามที่ปรากฏข้อสงสัยเกี่ยวกับการปรับแก้ผนังปล่องลิฟต์ (Core Lift) ของอาคารที่ทําการสํานักงานแห่งใหม่ ซึ่งเป็นจุดสําคัญที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงของอาคารและอาจจะเป็นสาเหตุที่ทําให้อาคารที่ทําการสํานักงานแห่งใหม่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมานั้น สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ขอเรียนชี้แจงว่า ในการดําเนินโครงการก่อสร้างอาคารที่ทําการสํานักงานแห่งใหม่ สตง.ได้ทําสัญญาว่าจ้างผู้รับจ้างออกแบบ (กิจการร่วมค้า บริษัท ฟอรัม อาร์คิเทค จํากัด และบริษัท ไมนฮาร์ท (ประเทศไทย) จํากัด) ผู้รับจ้างก่อสร้าง (กิจการร่วมค้า ไอทีดี - ซีอาร์อีซี (บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) และบริษัท ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) จํากัด) และผู้รับจ้างควบคุมงาน (กิจการร่วมค้า PKW (บริษัท พี เอ็น ซิงค์โครไนซ์ จํากัด บริษัท ว. และสหาย คอนซัลแตนส์ จํากัด และบริษัท เคพี คอนซัลแทนส์ จํากัด) ซึ่งกรณีการปรับแก้ผนังปล่องลิฟต์บางจุดเกิดขึ้นในช่วงการบริหารสัญญาระหว่างดําเนินการก่อสร้าง โดยผู้รับจ้างก่อสร้างพบว่าแบบงานโครงสร้างขัดกับแบบงานสถาปัตยกรรมภายใน กล่าวคือ ขนาดของผนังปล่องลิฟต์บริเวณทางเดินเมื่อรวมกับวัสดุตกแต่งตามแบบ ทําให้ทางเดินมีความกว้างไม่เป็นไปตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 สตง.จึงได้ดําเนินการตาม ขั้นตอนของกฎหมายและระเบียบของทางราชการ

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://mgronline.com/onlinesection/detail/9680000038403

    #MGROnline #แผ่นดินไหว #ตึกถล่ม #สตง. #ปรับแก้ #ผนังปล่องลิฟต์ #ตึกใหม่
    สตง.ออกเอกสารชี้แจงกรณีปรับแก้ผนังปล่องลิฟต์ตึกใหม่ เพราะแบบโครงสร้างเดิม บริเวณทางเดินเมื่อรวมกับวัสดุตกแต่งตามแบบมีความกว้างไม่เป็นไปตามกฎกระทรวง ผู้ออกแบบจึงเสนอลดความหนาลงจาก 30 ซม.เป็น 25 ซม. โดยได้ดำเนินการตามขั้นตอนอย่างถูกต้องครบถ้วน • วันนี้ (24 เม.ย.) สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดินเผยแพร่เอกสารข่าวประชาสัมพันธ์ชี้แจงขั้นตอนการดําเนินการเกี่ยวกับการบริหารสัญญา (กรณีการปรับแก้ผนังปล่องลิฟต์ (Core Lift) บางจุด และการแก้ไขสัญญา) มีรายละเอียดดังนี้ • ตามที่ปรากฏข้อสงสัยเกี่ยวกับการปรับแก้ผนังปล่องลิฟต์ (Core Lift) ของอาคารที่ทําการสํานักงานแห่งใหม่ ซึ่งเป็นจุดสําคัญที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงของอาคารและอาจจะเป็นสาเหตุที่ทําให้อาคารที่ทําการสํานักงานแห่งใหม่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมานั้น สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ขอเรียนชี้แจงว่า ในการดําเนินโครงการก่อสร้างอาคารที่ทําการสํานักงานแห่งใหม่ สตง.ได้ทําสัญญาว่าจ้างผู้รับจ้างออกแบบ (กิจการร่วมค้า บริษัท ฟอรัม อาร์คิเทค จํากัด และบริษัท ไมนฮาร์ท (ประเทศไทย) จํากัด) ผู้รับจ้างก่อสร้าง (กิจการร่วมค้า ไอทีดี - ซีอาร์อีซี (บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) และบริษัท ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) จํากัด) และผู้รับจ้างควบคุมงาน (กิจการร่วมค้า PKW (บริษัท พี เอ็น ซิงค์โครไนซ์ จํากัด บริษัท ว. และสหาย คอนซัลแตนส์ จํากัด และบริษัท เคพี คอนซัลแทนส์ จํากัด) ซึ่งกรณีการปรับแก้ผนังปล่องลิฟต์บางจุดเกิดขึ้นในช่วงการบริหารสัญญาระหว่างดําเนินการก่อสร้าง โดยผู้รับจ้างก่อสร้างพบว่าแบบงานโครงสร้างขัดกับแบบงานสถาปัตยกรรมภายใน กล่าวคือ ขนาดของผนังปล่องลิฟต์บริเวณทางเดินเมื่อรวมกับวัสดุตกแต่งตามแบบ ทําให้ทางเดินมีความกว้างไม่เป็นไปตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 สตง.จึงได้ดําเนินการตาม ขั้นตอนของกฎหมายและระเบียบของทางราชการ • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://mgronline.com/onlinesection/detail/9680000038403 • #MGROnline #แผ่นดินไหว #ตึกถล่ม #สตง. #ปรับแก้ #ผนังปล่องลิฟต์ #ตึกใหม่
    Angry
    1
    0 Comments 1 Shares 99 Views 0 Reviews
  • ปรมาจารย์ปานเทพ พาอดีตคน สตง. หอบหลักฐานทุจริตก่อสร้างตึกใหม่ให้ DSI พร้อมเผย มีคนสตง.น้ำดี เตรียมออกมาให้ข้อมูลเล่นงานก๊วนทุจริต
    #คิงส์โพธิ์แดง
    #คิงส์โพธิ์แดงสำรอง
    ปรมาจารย์ปานเทพ พาอดีตคน สตง. หอบหลักฐานทุจริตก่อสร้างตึกใหม่ให้ DSI พร้อมเผย มีคนสตง.น้ำดี เตรียมออกมาให้ข้อมูลเล่นงานก๊วนทุจริต #คิงส์โพธิ์แดง #คิงส์โพธิ์แดงสำรอง
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 99 Views 0 Reviews
  • อย่าหลงเชื่ออดีตผู้ว่าสตง ทำเป็นสวมบทคนแฉจุดเริ่มต้นหายนะ ทั้งๆที่ตัวมันนั่นแหละเป็นคนเสนอเปลี่ยนสถานที่สร้างตึกใหม่ อยากได้ที่ดินใช้ฟรีๆอยากจะเสียเงินหลายร้อยล้านเท่าที่ดินการรถไฟ แถมทิ้งแบบก่อสร้างเดิมที่จ้างออกแบบ 20 กว่าล้าน แล้วถลุงเงินแผ่นดินจ้างออกแบบใหม่เกือบ 80 ล้าน แฉพ่อมึงสิ
    #คิงส์โพธิ์แดง
    #คิงส์โพธิ์แดงสำรอง
    #อดีตผู้ว่าสตง
    อย่าหลงเชื่ออดีตผู้ว่าสตง ทำเป็นสวมบทคนแฉจุดเริ่มต้นหายนะ ทั้งๆที่ตัวมันนั่นแหละเป็นคนเสนอเปลี่ยนสถานที่สร้างตึกใหม่ อยากได้ที่ดินใช้ฟรีๆอยากจะเสียเงินหลายร้อยล้านเท่าที่ดินการรถไฟ แถมทิ้งแบบก่อสร้างเดิมที่จ้างออกแบบ 20 กว่าล้าน แล้วถลุงเงินแผ่นดินจ้างออกแบบใหม่เกือบ 80 ล้าน แฉพ่อมึงสิ #คิงส์โพธิ์แดง #คิงส์โพธิ์แดงสำรอง #อดีตผู้ว่าสตง
    0 Comments 0 Shares 97 Views 0 Reviews
  • กมธ.กิจการศาลฯ เผย สตง.ชี้แจงปมสร้างตึกใหม่ เป็นไปตามระเบียบทุกขั้นตอน ไม่มีการแก้ไขโครงสร้างเสาให้เล็กลง - คุณภาพเหล็ก ปูน ก็เป็นไปตามมาตรฐานไม่มีการลดคุณภาพ พร้อมแถลงผลเร็วๆ นี้ ตั้งข้อสังเกตกม.ควบคุมอาคาร เปิดช่องก่อสร้างอาคารส่วนราชการ ไม่ต้องแจ้งโยธาฯ-เจ้าของพื้นที่ เป็นช่องโหว่การตรวจสอบ

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000034339

    #News1live #News1 #SondhiX #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    กมธ.กิจการศาลฯ เผย สตง.ชี้แจงปมสร้างตึกใหม่ เป็นไปตามระเบียบทุกขั้นตอน ไม่มีการแก้ไขโครงสร้างเสาให้เล็กลง - คุณภาพเหล็ก ปูน ก็เป็นไปตามมาตรฐานไม่มีการลดคุณภาพ พร้อมแถลงผลเร็วๆ นี้ ตั้งข้อสังเกตกม.ควบคุมอาคาร เปิดช่องก่อสร้างอาคารส่วนราชการ ไม่ต้องแจ้งโยธาฯ-เจ้าของพื้นที่ เป็นช่องโหว่การตรวจสอบ อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000034339 #News1live #News1 #SondhiX #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Sad
    Angry
    Haha
    6
    0 Comments 0 Shares 775 Views 0 Reviews
  • รองผู้ว่าฯ สตง.เผยยังเดินหน้าสร้างตึกใหม่ เช่าที่รถไฟเพิ่ม 4 ไร่ สร้างอาคารแนวราบแทน วอน กก.สอบบอกด้วยตึกถล่มเพราะอะไร

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000034356

    #News1live #News1 #SondhiX #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    รองผู้ว่าฯ สตง.เผยยังเดินหน้าสร้างตึกใหม่ เช่าที่รถไฟเพิ่ม 4 ไร่ สร้างอาคารแนวราบแทน วอน กก.สอบบอกด้วยตึกถล่มเพราะอะไร อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9680000034356 #News1live #News1 #SondhiX #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Sad
    2
    0 Comments 0 Shares 750 Views 0 Reviews
  • พะเยา – ทั้ง กอ.รมน.-ตำรวจ ตามตรวจตึกใหม่ สตง.พะเยา ร้างตั้งแต่สร้างไม่เสร็จ..ด้านรักษาราชการแทน ผอ.ยันไม่มีการทิ้งร้าง-ผู้รับเหมาไม่เกี่ยวบริษัทจีน แต่สร้างช้าจนต้องขยายเวลาเรียกค่าปรับ 0 บาทตามมาตรการรัฐบาลยุคโควิดระบาดเกือบปี ก่อนเลิกจ้าง-เร่งหาผู้รับเหมาใหม่

    วันนี้(4 เม.ย.) พ.อ.อุทัย เพียรการ หัวหน้าชุดรวบรวมและตรวจสอบข่าวสาร ที่ 309 กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในจังหวัดพะเยา (กอ.รมน.)นำคณะ ร่วมกับเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการสืบสวน สภ.เมืองพะเยา ลงพื้นที่ตรวจสอบหาข้อเท็จจริง อาคารสำนักงาน สตง.พะเยา บริเวณบ้านสันต้นผึ้ง ต.แม่ปืม อ.เมืองพะเยา ที่ถูกทิ้งร้างระหว่างก่อสร้าง

    พบโครงสร้างฐานรากตึกสูง 3 ชั้น จำนวน 2 ตึก แยกเป็นตึกสำนึกงาน, ตึกที่พักบุคลากร ซึ่งมีการเดินระบบประปาและท่อไฟฟ้า เรียบร้อยแล้วปล่อยร้าง ซึ่งทาง สตง.แจงว่าได้เลิกจ้างบริษัทรับเหมาดังกล่าว เนื่องจากทำงานล่าช้า และดำเนินการคำนวณค่าปรับคำนวณค่าเสียหายเพื่อคิดจากผู้รับจ้างและจะคำนวณราคากลางที่จะดำเนินการก่อสร้างต่อไป

    คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/local/detail/9680000032296

    #MGROnline #พะเยา #สตง.
    พะเยา – ทั้ง กอ.รมน.-ตำรวจ ตามตรวจตึกใหม่ สตง.พะเยา ร้างตั้งแต่สร้างไม่เสร็จ..ด้านรักษาราชการแทน ผอ.ยันไม่มีการทิ้งร้าง-ผู้รับเหมาไม่เกี่ยวบริษัทจีน แต่สร้างช้าจนต้องขยายเวลาเรียกค่าปรับ 0 บาทตามมาตรการรัฐบาลยุคโควิดระบาดเกือบปี ก่อนเลิกจ้าง-เร่งหาผู้รับเหมาใหม่ • วันนี้(4 เม.ย.) พ.อ.อุทัย เพียรการ หัวหน้าชุดรวบรวมและตรวจสอบข่าวสาร ที่ 309 กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในจังหวัดพะเยา (กอ.รมน.)นำคณะ ร่วมกับเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการสืบสวน สภ.เมืองพะเยา ลงพื้นที่ตรวจสอบหาข้อเท็จจริง อาคารสำนักงาน สตง.พะเยา บริเวณบ้านสันต้นผึ้ง ต.แม่ปืม อ.เมืองพะเยา ที่ถูกทิ้งร้างระหว่างก่อสร้าง • พบโครงสร้างฐานรากตึกสูง 3 ชั้น จำนวน 2 ตึก แยกเป็นตึกสำนึกงาน, ตึกที่พักบุคลากร ซึ่งมีการเดินระบบประปาและท่อไฟฟ้า เรียบร้อยแล้วปล่อยร้าง ซึ่งทาง สตง.แจงว่าได้เลิกจ้างบริษัทรับเหมาดังกล่าว เนื่องจากทำงานล่าช้า และดำเนินการคำนวณค่าปรับคำนวณค่าเสียหายเพื่อคิดจากผู้รับจ้างและจะคำนวณราคากลางที่จะดำเนินการก่อสร้างต่อไป • คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม >> https://mgronline.com/local/detail/9680000032296 • #MGROnline #พะเยา #สตง.
    0 Comments 0 Shares 318 Views 0 Reviews
  • เมื่อเสียงสมน้ำหน้า เคล้าก่นด่า ดังกว่า... ตึก สตง. ถล่ม! วิกฤตศรัทธาหน่วยตรวจ ลืมสำรวจตัวเอง? ไม่ใช่แค่ตึกที่พัง แต่ความเชื่อมั่น ในกระบวนการของภาครัฐเอง ก็สั่นสะเทือนไปทั่วประเทศ 😓

    🏢 เหตุการณ์ถล่ม ของตึกเดียวในประเทศไทย จากแผ่นดินไหว จุดชนวนคำถามถึงความโปร่งใส ในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างของรัฐ และทำให้หน่วยงาน “ผู้ตรวจ” กลายเป็น “ผู้ถูกตรวจสอบ” เสียเอง

    🔎 เมื่อคำถามไม่ได้มีแค่ “ทำไมตึกถล่ม” แต่เป็น “ใครจะรับผิดชอบ?” 28 มีนาคม 2568 เวลา 14.37 น. กรุงเทพฯ สะเทือนจากแรงแผ่นดินไหวขนาด 8.2 แมกนิจูด ศูนย์กลางที่เมียนมา 🌏 ในขณะที่อาคารสูงทั่วกรุงเทพฯ แกว่งไกวเล็กน้อยเพียงชั่วครู่ แต่กลับมีตึกหนึ่งที่ “พังลงทั้งหลัง” 😱 ตึกแห่งนั้นคือ อาคารสำนักงานแห่งใหม่ของ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง

    เสียงระเบิดของโครงสร้างถล่มลงมา เสียงผู้รอดชีวิตร้องขอความช่วยเหลือ... และเสียง “ประชาชน” ที่เริ่มตั้งคำถามดังยิ่งกว่าเสียงไหน ๆ

    ทำไมตึกเดียวในไทยถึงถล่มทั้งหลัง?

    สตง. ไม่ตรวจสอบโครงการของตนเองหรือ?

    หรือระบบรัฐไทยล้มเหลวในระดับโครงสร้าง... ทั้งจริง ๆ และเชิงเปรียบเทียบ?

    📘 สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) หรือ Office of the Auditor General of Thailand คือหน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ 🇹🇭 มีภารกิจสำคัญในการตรวจสอบ การใช้เงินของภาครัฐให้ถูกต้อง โปร่งใส และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน

    📌 ภารกิจหลักของ สตง.
    1. ตรวจสอบงบประมาณหน่วยงานรัฐ (Financial Audit)
    2. ตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมาย (Compliance Audit)
    3. ตรวจสอบประสิทธิภาพการดำเนินงาน (Performance Audit)

    นอกจากบทบาทในการตรวจสอบ สตง. ยังเสนอแนะการบริหาร และใช้จ่ายงบประมาณ พร้อมจัดทำรายงานประจำปีต่อรัฐสภา และประชาชนผ่านเว็บไซต์ www.audit.go.th เพื่อให้เกิด “ธรรมาภิบาล” ที่แท้จริง

    สตง. ทำหน้าที่เป็น “ผู้ตรวจสอบความโปร่งใสของรัฐ” แต่เมื่อสำนักงานของตัวเองถล่ม... ใครจะตรวจสอบ “ผู้ตรวจสอบ”?

    🧱 โครงการตึกใหม่ สตง. ต้นทุน 2,560 ล้านบาท แลกกับภาพลักษณ์องค์กร

    🏗️ ข้อมูลโครงการ
    สร้างที่:ถนนกำแพงเพชร 2 เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

    ขนาดอาคาร 30 ชั้น บนพื้นที่ 11 ไร่

    งบประมาณรวม 2,560 ล้านบาท

    ผู้รับเหมาคือ กิจการร่วมค้า ITD-CREC เป็นบริษัทร่วมลงทุนระหว่างบริษัทอิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) จำกัด

    บริษัทควบคุมงานคือ กิจการร่วมค้าพีเคดับเบิลยู (PKW) ที่ร่วมทุนระหว่างบริษัทพี เอ็น ซิงค์โครไนซ์ จํากัด, บริษัท ว.และ สหาย คอนซัลแตนตส์ จํากัด และบริษัท เคพี คอนซัลแทนส์ แอนด์ แมเนจเม้น จํากัด

    การก่อสร้างเริ่มตั้งแต่ปี 2563 คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2569 โดยตั้งเป้าเป็นอาคารที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รองรับการขยายตัวขององค์กรในอนาคต 🌱

    แต่ในวันที่ 28 มีนาคม 2568 หลังจากสร้างมาได้เพียง 30%... ตึกก็ถล่มทั้งหลัง 😰

    💣 สาเหตุ? อุบัติเหตุ? หรือสะท้อนปัญหาลึกของระบบ?

    📍 แรงแผ่นดินไหว หรือโครงสร้างอ่อนแอ? แม้แผ่นดินไหวขนาด 8.2 จะถือว่ารุนแรง แต่บริเวณกรุงเทพฯ โดยเฉพาะจตุจักร ได้รับแรงสั่นสะเทือนประมาณ 5.1 เท่านั้น ซึ่งถือว่า ไม่แรงพอที่จะทำให้อาคารพังราบทั้งหลัง ตามมาตรฐานของกรมโยธาธิการและผังเมือง

    แล้วอะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้อาคารพัง?

    วัสดุก่อสร้างไม่ได้มาตรฐาน? 🧱

    โครงสร้างไม่รองรับแรงสั่น?

    ขั้นตอนตรวจสอบขาดความรัดกุม?

    จากการตรวจสอบเบื้องต้นพบว่า เหล็กเส้นที่ใช้ในอาคารส่วนใหญ่ มาจากบริษัทต่างชาติ ที่ถูกสั่งปิดโรงงานในปลายปี 2567 เนื่องจากไม่ผ่านมาตรฐานความปลอดภัย ‼️

    🧪 ตรวจสอบวัสดุจริง กับข้อเท็จจริงที่น่าหวั่นใจ กระทรวงอุตสาหกรรม ร่วมกับ สวทช. และวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ได้เข้าตรวจสอบเหล็กเส้น จากสถานที่เกิดเหตุ พบว่า เหล็ก 5 จาก 6 ประเภท มาจากโรงงานเดียวกัน โรงงานนี้เคยมีประวัติการระเบิด และเครนหล่น อีกทั้งยังเคยถูกสั่งปิดชั่วคราว จากเหตุผลด้านความปลอดภัย

    ❗ คำถามคือ เหล็กจากแหล่งที่ไม่มีคุณภาพเหล่านี้ ผ่านการอนุมัติเข้าโครงการระดับพันล้าน ได้อย่างไร?

    🧠 เมื่อ “ผู้ตรวจ” ลืม “ตรวจสอบตัวเอง”? กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐไทย แม้จะมีกฎหมายและระเบียบที่รัดกุม แต่ในทางปฏิบัติ กลับพบว่า…

    การประมูลมักให้น้ำหนักกับ “ราคาถูก” มากกว่าคุณภาพ ผู้รับเหมาจึงใช้วัสดุราคาต่ำกว่ามาตรฐาน การกำกับดูแลไม่ทั่วถึง เพราะผู้ควบคุมโครงการ ก็อยู่ภายใต้งบจำกัด

    น่าเจ็บปวดที่เหตุการณ์นี้เกิดกับ “สตง.” ผู้ที่ควรจะเป็นต้นแบบของความโปร่งใส

    ⚖️ การเมืองในองค์กรอิสระ: อิสระจริง หรือเลือกกันเอง? โครงสร้าง คตง. และการสรรหา คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (คตง.) มาจากการสรรหาโดย ส.ว. ปัจจุบันผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ได้รับการแต่งตั้งโดย ส.ว. ชุดพิเศษ การแต่งตั้งกรรมการหลายคน มีข้อครหาว่าไม่โปร่งใส และถูกฟ้องต่อศาลปกครอง

    ⛔ จุดนี้เองที่ทำให้ประชาชนเริ่มตั้งคำถามถึง “อิสรภาพ” ขององค์กรที่ควรเป็นอิสระจากการเมือง

    📣 กระแสโซเชียล & ประชาชน “เสียงสมน้ำหน้า” ดังยิ่งกว่าความเศร้า ในขณะที่ครอบครัวผู้เสียชีวิต ยังรอการกู้ร่างในซากตึก โลกออนไลน์กลับเต็มไปด้วยเสียงแดกดัน เช่น

    “ผู้ตรวจ ลืมตรวจตึกตัวเอง”

    “สมน้ำหน้าที่พังเพราะไม่โปร่งใส”

    “เงินภาษีคนไทยพังลงต่อหน้า”

    คำพูดเหล่านี้อาจดูโหดร้าย แต่ก็สะท้อนความรู้สึกของคนจำนวนมาก ที่รู้สึกว่า “แม้แต่หน่วยงานตรวจสอบ ก็ยังไม่รอดจากระบบที่พัง”

    📉 วิกฤตศรัทธา & บทเรียนราคาแพง สิ่งที่สูญเสียไม่ใช่แค่งบประมาณ หรือชีวิต… แต่คือ ความเชื่อมั่นต่อระบบรัฐ

    🚨 บทเรียนสำคัญที่รัฐต้องรับให้ได้ การคัดเลือกผู้รับเหมา ควรมีระบบที่ยึด “คุณภาพ” เป็นหลัก ต้องมีการตรวจสอบหลายชั้น โดยอิสระจริง ๆ ปฏิรูประบบจัดซื้อจัดจ้าง ให้ประชาชนมีส่วนร่วม เพิ่มบทลงโทษกรณีวัสดุหรือผู้รับเหมาไม่ได้มาตรฐาน

    📌 จากตึกถล่ม สู่การตรวจสอบศรัทธาประชาชน เหตุการณ์ตึก สตง. ถล่ม อาจเป็นจุดเปลี่ยนที่เจ็บปวดของประเทศไทย 🕯️ แต่ในขณะเดียวกัน... นี่อาจเป็นโอกาสในการทบทวนระบบราชการ และการบริหารงบประมาณของรัฐอย่างแท้จริง

    อย่าให้เสียง “สมน้ำหน้า” ดังกลบเสียงของผู้เสียชีวิต อย่าให้ตึกที่พัง เป็นเพียงข่าวแค่ไม่กี่วัน แต่ให้มันเป็นบทเรียนที่สร้าง “การเปลี่ยนแปลง”

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 021119 เม.ย. 2568

    📢#ตึกสตงถล่ม #ผู้ตรวจถูกตรวจ #แผ่นดินไหว2568 #ข่าวด่วน #เหล็กไม่ได้มาตรฐาน #สตงคือใคร #ความโปร่งใสภาครัฐ #อาคารถล่มกรุงเทพ #ITDCREC #ข่าวไทย
    เมื่อเสียงสมน้ำหน้า เคล้าก่นด่า ดังกว่า... ตึก สตง. ถล่ม! วิกฤตศรัทธาหน่วยตรวจ ลืมสำรวจตัวเอง? ไม่ใช่แค่ตึกที่พัง แต่ความเชื่อมั่น ในกระบวนการของภาครัฐเอง ก็สั่นสะเทือนไปทั่วประเทศ 😓 🏢 เหตุการณ์ถล่ม ของตึกเดียวในประเทศไทย จากแผ่นดินไหว จุดชนวนคำถามถึงความโปร่งใส ในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างของรัฐ และทำให้หน่วยงาน “ผู้ตรวจ” กลายเป็น “ผู้ถูกตรวจสอบ” เสียเอง 🔎 เมื่อคำถามไม่ได้มีแค่ “ทำไมตึกถล่ม” แต่เป็น “ใครจะรับผิดชอบ?” 28 มีนาคม 2568 เวลา 14.37 น. กรุงเทพฯ สะเทือนจากแรงแผ่นดินไหวขนาด 8.2 แมกนิจูด ศูนย์กลางที่เมียนมา 🌏 ในขณะที่อาคารสูงทั่วกรุงเทพฯ แกว่งไกวเล็กน้อยเพียงชั่วครู่ แต่กลับมีตึกหนึ่งที่ “พังลงทั้งหลัง” 😱 ตึกแห่งนั้นคือ อาคารสำนักงานแห่งใหม่ของ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง เสียงระเบิดของโครงสร้างถล่มลงมา เสียงผู้รอดชีวิตร้องขอความช่วยเหลือ... และเสียง “ประชาชน” ที่เริ่มตั้งคำถามดังยิ่งกว่าเสียงไหน ๆ ทำไมตึกเดียวในไทยถึงถล่มทั้งหลัง? สตง. ไม่ตรวจสอบโครงการของตนเองหรือ? หรือระบบรัฐไทยล้มเหลวในระดับโครงสร้าง... ทั้งจริง ๆ และเชิงเปรียบเทียบ? 📘 สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) หรือ Office of the Auditor General of Thailand คือหน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ 🇹🇭 มีภารกิจสำคัญในการตรวจสอบ การใช้เงินของภาครัฐให้ถูกต้อง โปร่งใส และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน 📌 ภารกิจหลักของ สตง. 1. ตรวจสอบงบประมาณหน่วยงานรัฐ (Financial Audit) 2. ตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมาย (Compliance Audit) 3. ตรวจสอบประสิทธิภาพการดำเนินงาน (Performance Audit) นอกจากบทบาทในการตรวจสอบ สตง. ยังเสนอแนะการบริหาร และใช้จ่ายงบประมาณ พร้อมจัดทำรายงานประจำปีต่อรัฐสภา และประชาชนผ่านเว็บไซต์ www.audit.go.th เพื่อให้เกิด “ธรรมาภิบาล” ที่แท้จริง สตง. ทำหน้าที่เป็น “ผู้ตรวจสอบความโปร่งใสของรัฐ” แต่เมื่อสำนักงานของตัวเองถล่ม... ใครจะตรวจสอบ “ผู้ตรวจสอบ”? 🧱 โครงการตึกใหม่ สตง. ต้นทุน 2,560 ล้านบาท แลกกับภาพลักษณ์องค์กร 🏗️ ข้อมูลโครงการ สร้างที่:ถนนกำแพงเพชร 2 เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ขนาดอาคาร 30 ชั้น บนพื้นที่ 11 ไร่ งบประมาณรวม 2,560 ล้านบาท ผู้รับเหมาคือ กิจการร่วมค้า ITD-CREC เป็นบริษัทร่วมลงทุนระหว่างบริษัทอิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10 (ประเทศไทย) จำกัด บริษัทควบคุมงานคือ กิจการร่วมค้าพีเคดับเบิลยู (PKW) ที่ร่วมทุนระหว่างบริษัทพี เอ็น ซิงค์โครไนซ์ จํากัด, บริษัท ว.และ สหาย คอนซัลแตนตส์ จํากัด และบริษัท เคพี คอนซัลแทนส์ แอนด์ แมเนจเม้น จํากัด การก่อสร้างเริ่มตั้งแต่ปี 2563 คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2569 โดยตั้งเป้าเป็นอาคารที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รองรับการขยายตัวขององค์กรในอนาคต 🌱 แต่ในวันที่ 28 มีนาคม 2568 หลังจากสร้างมาได้เพียง 30%... ตึกก็ถล่มทั้งหลัง 😰 💣 สาเหตุ? อุบัติเหตุ? หรือสะท้อนปัญหาลึกของระบบ? 📍 แรงแผ่นดินไหว หรือโครงสร้างอ่อนแอ? แม้แผ่นดินไหวขนาด 8.2 จะถือว่ารุนแรง แต่บริเวณกรุงเทพฯ โดยเฉพาะจตุจักร ได้รับแรงสั่นสะเทือนประมาณ 5.1 เท่านั้น ซึ่งถือว่า ไม่แรงพอที่จะทำให้อาคารพังราบทั้งหลัง ตามมาตรฐานของกรมโยธาธิการและผังเมือง แล้วอะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้อาคารพัง? วัสดุก่อสร้างไม่ได้มาตรฐาน? 🧱 โครงสร้างไม่รองรับแรงสั่น? ขั้นตอนตรวจสอบขาดความรัดกุม? จากการตรวจสอบเบื้องต้นพบว่า เหล็กเส้นที่ใช้ในอาคารส่วนใหญ่ มาจากบริษัทต่างชาติ ที่ถูกสั่งปิดโรงงานในปลายปี 2567 เนื่องจากไม่ผ่านมาตรฐานความปลอดภัย ‼️ 🧪 ตรวจสอบวัสดุจริง กับข้อเท็จจริงที่น่าหวั่นใจ กระทรวงอุตสาหกรรม ร่วมกับ สวทช. และวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ได้เข้าตรวจสอบเหล็กเส้น จากสถานที่เกิดเหตุ พบว่า เหล็ก 5 จาก 6 ประเภท มาจากโรงงานเดียวกัน โรงงานนี้เคยมีประวัติการระเบิด และเครนหล่น อีกทั้งยังเคยถูกสั่งปิดชั่วคราว จากเหตุผลด้านความปลอดภัย ❗ คำถามคือ เหล็กจากแหล่งที่ไม่มีคุณภาพเหล่านี้ ผ่านการอนุมัติเข้าโครงการระดับพันล้าน ได้อย่างไร? 🧠 เมื่อ “ผู้ตรวจ” ลืม “ตรวจสอบตัวเอง”? กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐไทย แม้จะมีกฎหมายและระเบียบที่รัดกุม แต่ในทางปฏิบัติ กลับพบว่า… การประมูลมักให้น้ำหนักกับ “ราคาถูก” มากกว่าคุณภาพ ผู้รับเหมาจึงใช้วัสดุราคาต่ำกว่ามาตรฐาน การกำกับดูแลไม่ทั่วถึง เพราะผู้ควบคุมโครงการ ก็อยู่ภายใต้งบจำกัด น่าเจ็บปวดที่เหตุการณ์นี้เกิดกับ “สตง.” ผู้ที่ควรจะเป็นต้นแบบของความโปร่งใส ⚖️ การเมืองในองค์กรอิสระ: อิสระจริง หรือเลือกกันเอง? โครงสร้าง คตง. และการสรรหา คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (คตง.) มาจากการสรรหาโดย ส.ว. ปัจจุบันผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ได้รับการแต่งตั้งโดย ส.ว. ชุดพิเศษ การแต่งตั้งกรรมการหลายคน มีข้อครหาว่าไม่โปร่งใส และถูกฟ้องต่อศาลปกครอง ⛔ จุดนี้เองที่ทำให้ประชาชนเริ่มตั้งคำถามถึง “อิสรภาพ” ขององค์กรที่ควรเป็นอิสระจากการเมือง 📣 กระแสโซเชียล & ประชาชน “เสียงสมน้ำหน้า” ดังยิ่งกว่าความเศร้า ในขณะที่ครอบครัวผู้เสียชีวิต ยังรอการกู้ร่างในซากตึก โลกออนไลน์กลับเต็มไปด้วยเสียงแดกดัน เช่น “ผู้ตรวจ ลืมตรวจตึกตัวเอง” “สมน้ำหน้าที่พังเพราะไม่โปร่งใส” “เงินภาษีคนไทยพังลงต่อหน้า” คำพูดเหล่านี้อาจดูโหดร้าย แต่ก็สะท้อนความรู้สึกของคนจำนวนมาก ที่รู้สึกว่า “แม้แต่หน่วยงานตรวจสอบ ก็ยังไม่รอดจากระบบที่พัง” 📉 วิกฤตศรัทธา & บทเรียนราคาแพง สิ่งที่สูญเสียไม่ใช่แค่งบประมาณ หรือชีวิต… แต่คือ ความเชื่อมั่นต่อระบบรัฐ 🚨 บทเรียนสำคัญที่รัฐต้องรับให้ได้ การคัดเลือกผู้รับเหมา ควรมีระบบที่ยึด “คุณภาพ” เป็นหลัก ต้องมีการตรวจสอบหลายชั้น โดยอิสระจริง ๆ ปฏิรูประบบจัดซื้อจัดจ้าง ให้ประชาชนมีส่วนร่วม เพิ่มบทลงโทษกรณีวัสดุหรือผู้รับเหมาไม่ได้มาตรฐาน 📌 จากตึกถล่ม สู่การตรวจสอบศรัทธาประชาชน เหตุการณ์ตึก สตง. ถล่ม อาจเป็นจุดเปลี่ยนที่เจ็บปวดของประเทศไทย 🕯️ แต่ในขณะเดียวกัน... นี่อาจเป็นโอกาสในการทบทวนระบบราชการ และการบริหารงบประมาณของรัฐอย่างแท้จริง อย่าให้เสียง “สมน้ำหน้า” ดังกลบเสียงของผู้เสียชีวิต อย่าให้ตึกที่พัง เป็นเพียงข่าวแค่ไม่กี่วัน แต่ให้มันเป็นบทเรียนที่สร้าง “การเปลี่ยนแปลง” ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 021119 เม.ย. 2568 📢#ตึกสตงถล่ม #ผู้ตรวจถูกตรวจ #แผ่นดินไหว2568 #ข่าวด่วน #เหล็กไม่ได้มาตรฐาน #สตงคือใคร #ความโปร่งใสภาครัฐ #อาคารถล่มกรุงเทพ #ITDCREC #ข่าวไทย
    0 Comments 0 Shares 762 Views 0 Reviews
  • ก่อนตึกถล่มไม่กี่วัน สตง.เพิ่งวางศิลาฤกษ์ สร้างตึกใหม่ที่จ.ตราด และ สมุทรสาคร ฝากแฟนคลับคิงส์ในพื้นที่ ดูความไม่ชอบมาพากลด้วย
    #คิงส์โพธิ์แดง
    #สตง
    #ตึกถล่ม
    #แผ่นดินไหว
    ก่อนตึกถล่มไม่กี่วัน สตง.เพิ่งวางศิลาฤกษ์ สร้างตึกใหม่ที่จ.ตราด และ สมุทรสาคร ฝากแฟนคลับคิงส์ในพื้นที่ ดูความไม่ชอบมาพากลด้วย #คิงส์โพธิ์แดง #สตง #ตึกถล่ม #แผ่นดินไหว
    Angry
    1
    0 Comments 0 Shares 232 Views 0 Reviews
  • คาดเสียหายกว่าพันล้าน! ตึกใหม่ สตง. ถล่ม เปิดชื่อ ‘4 บ.ประกัน’ ร่วมรับตามสัดส่วน
    https://www.thai-tai.tv/news/17928/
    คาดเสียหายกว่าพันล้าน! ตึกใหม่ สตง. ถล่ม เปิดชื่อ ‘4 บ.ประกัน’ ร่วมรับตามสัดส่วน https://www.thai-tai.tv/news/17928/
    0 Comments 0 Shares 68 Views 0 Reviews
  • ผู้รู้มาเอง เฉลยหลังแผ่นดินไหว ทำไมตึกเก่าไม่มีรอยร้าว ตรงข้ามกับตึกใหม่ๆ ชี้มีรอยร้าวนั่นแหละ "ดีแล้ว"
    https://www.thai-tai.tv/news/17910/
    ผู้รู้มาเอง เฉลยหลังแผ่นดินไหว ทำไมตึกเก่าไม่มีรอยร้าว ตรงข้ามกับตึกใหม่ๆ ชี้มีรอยร้าวนั่นแหละ "ดีแล้ว" https://www.thai-tai.tv/news/17910/
    0 Comments 0 Shares 72 Views 0 Reviews
  • ยุติค้นหา ตึกใหม่ สตง. ถล่ม! ยืนยันตาย 7 ศพ สูญหาย 47 คน เปิดเบื้องหลังบริษัทยักษ์ใหญ่จีน ชิมลางสร้างตึกสูงในไทย แห่งแรกในต่างแดน ที่จบไม่สวย

    📌 เหตุการณ์สั่นสะเทือนวงการก่อสร้างไทย-จีน ที่สะท้อนความเสี่ยงระดับชาติ

    🏗️ แผ่นดินไหวแรงสะเทือนถึงใจ ตึกใหม่ สตง. ถล่มกลางกรุง! ในช่วงบ่ายวันศุกร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2568 เหตุการณ์ที่ไม่มีใครคาดคิดก็เกิดขึ้น... อาคารสำนักงานแห่งใหม่ของ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ที่กำลังก่อสร้างอยู่ในย่านจตุจักร กรุงเทพฯ พังถล่มลงมาอย่างรุนแรง หลังเกิดแผ่นดินไหวขนาด 8.2 แมกนิจูด ในประเทศเมียนมา ซึ่งแรงสั่นสะเทือนส่งผลมาถึงกรุงเทพฯ

    เหตุการณ์ครั้งนี้ไม่เพียงแต่สะเทือนชีวิตผู้คน มีผู้เสียชีวิตยืนยันแล้ว 7 ศพ สูญหาย 47 คน และมีผู้ติดอยู่ใต้ซากอาคาร 30 คน แต่ยังเป็น จุดจบของความหวังทางยุทธศาสตร์ ที่จะให้บริษัทจีนเข้ามาชิมลาง สร้างอาคารสูงพิเศษในไทย เป็นครั้งแรกในต่างแดน 🇹🇭🇨🇳

    📌 เมื่อช่วงบ่ายของวันศุกร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2568 เกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ 8.2 แมกนิจูด ในประเทศเมียนมา ซึ่งมีศูนย์กลางลึกใต้ดินกว่า 90 กม. แม้จะห่างจากกรุงเทพฯ หลายร้อยกิโลเมตร แต่แรงสั่นสะเทือน สามารถรับรู้ได้ถึงกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล 🌀

    จุดพังถล่มคือ อาคารสำนักงาน สตง. แห่งใหม่ บริเวณถนนกำแพงเพชร 2 เขตจตุจักร ซึ่งอยู่ระหว่างการก่อสร้าง และเพิ่งสร้างโครงสร้างเสร็จไปได้เพียง 30% ของแผนงาน

    แม้อาคารจะยังไม่เปิดใช้งาน แต่ในขณะนั้นมีวิศวกร ช่างเทคนิค และคนงานกว่า 100 ชีวิต อยู่ภายใน เนื่องจากกำลังเร่งติดตั้งระบบภายใน เช่น ระบบไฟฟ้า น้ำ และระบบอาคารอัจฉริยะต่างๆ

    ⛑️ ทันทีหลังจากเหตุการณ์ถล่ม เจ้าหน้าที่หน่วยกู้ภัยหลายทีม ได้เข้าพื้นที่อย่างเร่งด่วน พร้อมอุปกรณ์ค้นหา และกู้ภัยทันสมัย เช่น กล้องจับความร้อน, โดรน, เครื่องตรวจจับเสียง ฯลฯ

    📉 ภาพรวมความเสียหาย และภารกิจค้นหาผู้รอดชีวิต
    🚨 สรุปสถานการณ์ ณ วันที่ 29 มีนาคม เวลา 05.00 น.
    - เสียชีวิตแล้ว 7 ศพ นำออกมาได้แล้ว 5 ศพ
    - ผู้รอดชีวิต 9 คน บาดเจ็บหลากหลายระดับ
    - ผู้ติดใต้ซาก 30 คน มีสัญญาณชีพ 15 คน
    - ผู้สูญหาย 47 คน
    - ยืนยันตัวตนแล้ว 85 คน

    การค้นหาแบ่งออกเป็น 4 โซน ได้แก่ A, B, C, D
    📍โซน A พบผู้มีสัญญาณชีพ 10 ราย
    📍โซน B พบผู้มีสัญญาณชีพ 2 ราย
    📍โซน D พบผู้มีสัญญาณชีพ 3 ราย

    การค้นหาต้องหยุดชั่วคราว เพื่อประเมินแผนใหม่ เนื่องจากโครงสร้างบางจุดยังไม่เสถียร เสี่ยงต่อเจ้าหน้าที่ค้นหาเองด้วย

    💬 “เรากำลังแข่งกับเวลา และแข่งกับซากปูนที่อาจถล่มซ้ำอีกทุกวินาที” หนึ่งในทีมกู้ภัยกล่าว

    🏢 โครงการก่อสร้างอาคาร สตง. เป้าหมายสู่อนาคตรัฐ อาคารสำนักงานแห่งใหม่นี้ ถูกวางเป้าหมายให้เป็น ศูนย์กลางการเงิน และการควบคุมงบประมาณของรัฐ โดยมีโครงสร้าง 30 ชั้น ความสูงรวม 137 เมตร รวมพื้นที่ก่อสร้างกว่า 96,000 ตารางเมตร

    👉 อาคารนี้ประกอบด้วย อาคารสำนักงานหลัก อาคารประชุม และอาคารจอดรถอัตโนมัติ

    โครงการเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2563 ด้วยงบประมาณ 2,136 ล้านบาท โดยผู้รับเหมาก่อสร้างหลัก คือ กิจการร่วมค้า ไอทีดี-ซีอาร์อีซี และควบคุมงานโดยกลุ่มวิศวกร PKW โดยมีการลงนาม Integrity Pact กับองค์กรต่อต้านคอร์รัปชัน เพื่อความโปร่งใสในการจัดจ้าง

    🏗️ "ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10" บริษัทยักษ์จากจีนผู้หวังปักหมุดในไทย “China Railway No.10 Engineering Group” หรือ CRCC เป็นบริษัทลูกของกลุ่มรัฐวิสาหกิจจีน ที่มีชื่อเสียงด้านโครงสร้างพื้นฐาน

    โครงการ สตง. คือ โครงการอาคารสูงพิเศษแห่งแรกในต่างแดน ของบริษัทนี้ นำเทคโนโลยีล้ำสมัยจากจีนเข้ามาใช้เต็มที่ เช่น
    - ระบบ “แกนกลางรับแรง + พื้นไร้คาน”
    - เทคนิคแบบสไลด์คอนกรีต (Slip Form)
    - ระบบนั่งร้านปีนไต่อัตโนมัติ
    - ระบบติดตั้งไฟฟ้า แบบไม่ให้ท่อชนกันแม้แต่นิดเดียว

    👷 ทั้งหมดนี้แสดงถึงความพร้อมด้านวิศวกรรม และความหวังจะก้าวเข้าตลาดอาเซียนอย่างยิ่งใหญ่ แต่ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น กลับกลายเป็นวิกฤตแห่งความเชื่อมั่น...

    🔍 ความเสียหายเชิงยุทธศาสตร์ ไม่ใช่แค่ตึกถล่ม แต่คือภาพลักษณ์ล่มสลาย ผลกระทบหลัก 3 ด้าน
    - ชีวิตคนงาน การสูญเสียชีวิต7 ศพ และผู้ติดอยู่ใต้ซากหลายสิบคน คือความสูญเสียที่ไม่มีเม็ดเงินใดทดแทนได้

    - ความเชื่อมั่นในบริษัทจีน โครงการนี้เคยเป็นความหวังว่าจะเป็น “โชว์เคสระดับอาเซียน” กลายเป็น “บทเรียนราคาแพง”

    - ผลกระทบต่อความสัมพันธ์ไทย-จีน โครงการยุทธศาสตร์ไทย-จีนในอนาคตอาจถูกชะลอ ตรวจสอบมากขึ้น และถูกตั้งคำถามมากขึ้น

    🧑‍💼 การตอบสนองของหน่วยงานรัฐ เดินหน้าแก้ไข เร่งค้นหาความจริง
    – นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าฯ กทม. ลงพื้นที่พร้อมทีมวิศวกรกว่า 100 คน เพื่อตรวจสอบความปลอดภัยของอาคารทั่วกรุงเทพฯ ที่อาจได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหว

    – นายสุทธิพงษ์ บุญนิธิ รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ในฐานะโฆษกสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เร่งตรวจสอบคุณภาพโครงการ และประเมินความเสียหาย พร้อมยืนยัน จะเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะอย่างโปร่งใส

    – นายสุริยชัย รวิวรรณ ผู้อำนวยการสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) กทม. รายงานสถานการณ์ค้นหาอย่างต่อเนื่อง พร้อมแบ่งโซนและใช้เทคโนโลยี ช่วยระบุตำแหน่งผู้ติดใต้ซาก

    ✅ จุดจบที่ไม่ควรเกิด กับความหวังที่ดับไปกลางซากอาคาร โศกนาฏกรรมครั้งนี้ เป็นจุดเตือนที่สะเทือนใจว่า การลงทุนเชิงยุทธศาสตร์ และความร่วมมือระหว่างประเทศ ไม่อาจวัดด้วยเทคโนโลยี หรือเงินทุนเพียงอย่างเดียว ต้องอาศัย มาตรฐาน ความปลอดภัย และความโปร่งใสระดับสูงสุด

    หากสิ่งเหล่านี้ขาดหายไป... แม้จะเป็นโครงการที่ดูดีแค่ไหน ก็พร้อมจะพังถล่มลงมาในพริบตา 🕯️

    ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 291100 มี.ค. 2568

    🔖#ตึกสตงถล่ม #CRCCไทย #ไชน่าเรลเวย์10 #ข่าวด่วน #แผ่นดินไหว #อาคารสูงพิเศษ #ก่อสร้างไทยจีน #ข่าวโศกนาฏกรรม #ตึกถล่ม #ไทยจีน
    ยุติค้นหา ตึกใหม่ สตง. ถล่ม! ยืนยันตาย 7 ศพ สูญหาย 47 คน เปิดเบื้องหลังบริษัทยักษ์ใหญ่จีน ชิมลางสร้างตึกสูงในไทย แห่งแรกในต่างแดน ที่จบไม่สวย 📌 เหตุการณ์สั่นสะเทือนวงการก่อสร้างไทย-จีน ที่สะท้อนความเสี่ยงระดับชาติ 🏗️ แผ่นดินไหวแรงสะเทือนถึงใจ ตึกใหม่ สตง. ถล่มกลางกรุง! ในช่วงบ่ายวันศุกร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2568 เหตุการณ์ที่ไม่มีใครคาดคิดก็เกิดขึ้น... อาคารสำนักงานแห่งใหม่ของ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ที่กำลังก่อสร้างอยู่ในย่านจตุจักร กรุงเทพฯ พังถล่มลงมาอย่างรุนแรง หลังเกิดแผ่นดินไหวขนาด 8.2 แมกนิจูด ในประเทศเมียนมา ซึ่งแรงสั่นสะเทือนส่งผลมาถึงกรุงเทพฯ เหตุการณ์ครั้งนี้ไม่เพียงแต่สะเทือนชีวิตผู้คน มีผู้เสียชีวิตยืนยันแล้ว 7 ศพ สูญหาย 47 คน และมีผู้ติดอยู่ใต้ซากอาคาร 30 คน แต่ยังเป็น จุดจบของความหวังทางยุทธศาสตร์ ที่จะให้บริษัทจีนเข้ามาชิมลาง สร้างอาคารสูงพิเศษในไทย เป็นครั้งแรกในต่างแดน 🇹🇭🇨🇳 📌 เมื่อช่วงบ่ายของวันศุกร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2568 เกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ 8.2 แมกนิจูด ในประเทศเมียนมา ซึ่งมีศูนย์กลางลึกใต้ดินกว่า 90 กม. แม้จะห่างจากกรุงเทพฯ หลายร้อยกิโลเมตร แต่แรงสั่นสะเทือน สามารถรับรู้ได้ถึงกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล 🌀 จุดพังถล่มคือ อาคารสำนักงาน สตง. แห่งใหม่ บริเวณถนนกำแพงเพชร 2 เขตจตุจักร ซึ่งอยู่ระหว่างการก่อสร้าง และเพิ่งสร้างโครงสร้างเสร็จไปได้เพียง 30% ของแผนงาน แม้อาคารจะยังไม่เปิดใช้งาน แต่ในขณะนั้นมีวิศวกร ช่างเทคนิค และคนงานกว่า 100 ชีวิต อยู่ภายใน เนื่องจากกำลังเร่งติดตั้งระบบภายใน เช่น ระบบไฟฟ้า น้ำ และระบบอาคารอัจฉริยะต่างๆ ⛑️ ทันทีหลังจากเหตุการณ์ถล่ม เจ้าหน้าที่หน่วยกู้ภัยหลายทีม ได้เข้าพื้นที่อย่างเร่งด่วน พร้อมอุปกรณ์ค้นหา และกู้ภัยทันสมัย เช่น กล้องจับความร้อน, โดรน, เครื่องตรวจจับเสียง ฯลฯ 📉 ภาพรวมความเสียหาย และภารกิจค้นหาผู้รอดชีวิต 🚨 สรุปสถานการณ์ ณ วันที่ 29 มีนาคม เวลา 05.00 น. - เสียชีวิตแล้ว 7 ศพ นำออกมาได้แล้ว 5 ศพ - ผู้รอดชีวิต 9 คน บาดเจ็บหลากหลายระดับ - ผู้ติดใต้ซาก 30 คน มีสัญญาณชีพ 15 คน - ผู้สูญหาย 47 คน - ยืนยันตัวตนแล้ว 85 คน การค้นหาแบ่งออกเป็น 4 โซน ได้แก่ A, B, C, D 📍โซน A พบผู้มีสัญญาณชีพ 10 ราย 📍โซน B พบผู้มีสัญญาณชีพ 2 ราย 📍โซน D พบผู้มีสัญญาณชีพ 3 ราย การค้นหาต้องหยุดชั่วคราว เพื่อประเมินแผนใหม่ เนื่องจากโครงสร้างบางจุดยังไม่เสถียร เสี่ยงต่อเจ้าหน้าที่ค้นหาเองด้วย 💬 “เรากำลังแข่งกับเวลา และแข่งกับซากปูนที่อาจถล่มซ้ำอีกทุกวินาที” หนึ่งในทีมกู้ภัยกล่าว 🏢 โครงการก่อสร้างอาคาร สตง. เป้าหมายสู่อนาคตรัฐ อาคารสำนักงานแห่งใหม่นี้ ถูกวางเป้าหมายให้เป็น ศูนย์กลางการเงิน และการควบคุมงบประมาณของรัฐ โดยมีโครงสร้าง 30 ชั้น ความสูงรวม 137 เมตร รวมพื้นที่ก่อสร้างกว่า 96,000 ตารางเมตร 👉 อาคารนี้ประกอบด้วย อาคารสำนักงานหลัก อาคารประชุม และอาคารจอดรถอัตโนมัติ โครงการเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2563 ด้วยงบประมาณ 2,136 ล้านบาท โดยผู้รับเหมาก่อสร้างหลัก คือ กิจการร่วมค้า ไอทีดี-ซีอาร์อีซี และควบคุมงานโดยกลุ่มวิศวกร PKW โดยมีการลงนาม Integrity Pact กับองค์กรต่อต้านคอร์รัปชัน เพื่อความโปร่งใสในการจัดจ้าง 🏗️ "ไชน่า เรลเวย์ นัมเบอร์ 10" บริษัทยักษ์จากจีนผู้หวังปักหมุดในไทย “China Railway No.10 Engineering Group” หรือ CRCC เป็นบริษัทลูกของกลุ่มรัฐวิสาหกิจจีน ที่มีชื่อเสียงด้านโครงสร้างพื้นฐาน โครงการ สตง. คือ โครงการอาคารสูงพิเศษแห่งแรกในต่างแดน ของบริษัทนี้ นำเทคโนโลยีล้ำสมัยจากจีนเข้ามาใช้เต็มที่ เช่น - ระบบ “แกนกลางรับแรง + พื้นไร้คาน” - เทคนิคแบบสไลด์คอนกรีต (Slip Form) - ระบบนั่งร้านปีนไต่อัตโนมัติ - ระบบติดตั้งไฟฟ้า แบบไม่ให้ท่อชนกันแม้แต่นิดเดียว 👷 ทั้งหมดนี้แสดงถึงความพร้อมด้านวิศวกรรม และความหวังจะก้าวเข้าตลาดอาเซียนอย่างยิ่งใหญ่ แต่ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น กลับกลายเป็นวิกฤตแห่งความเชื่อมั่น... 🔍 ความเสียหายเชิงยุทธศาสตร์ ไม่ใช่แค่ตึกถล่ม แต่คือภาพลักษณ์ล่มสลาย ผลกระทบหลัก 3 ด้าน - ชีวิตคนงาน การสูญเสียชีวิต7 ศพ และผู้ติดอยู่ใต้ซากหลายสิบคน คือความสูญเสียที่ไม่มีเม็ดเงินใดทดแทนได้ - ความเชื่อมั่นในบริษัทจีน โครงการนี้เคยเป็นความหวังว่าจะเป็น “โชว์เคสระดับอาเซียน” กลายเป็น “บทเรียนราคาแพง” - ผลกระทบต่อความสัมพันธ์ไทย-จีน โครงการยุทธศาสตร์ไทย-จีนในอนาคตอาจถูกชะลอ ตรวจสอบมากขึ้น และถูกตั้งคำถามมากขึ้น 🧑‍💼 การตอบสนองของหน่วยงานรัฐ เดินหน้าแก้ไข เร่งค้นหาความจริง – นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าฯ กทม. ลงพื้นที่พร้อมทีมวิศวกรกว่า 100 คน เพื่อตรวจสอบความปลอดภัยของอาคารทั่วกรุงเทพฯ ที่อาจได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหว – นายสุทธิพงษ์ บุญนิธิ รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ในฐานะโฆษกสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เร่งตรวจสอบคุณภาพโครงการ และประเมินความเสียหาย พร้อมยืนยัน จะเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะอย่างโปร่งใส – นายสุริยชัย รวิวรรณ ผู้อำนวยการสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) กทม. รายงานสถานการณ์ค้นหาอย่างต่อเนื่อง พร้อมแบ่งโซนและใช้เทคโนโลยี ช่วยระบุตำแหน่งผู้ติดใต้ซาก ✅ จุดจบที่ไม่ควรเกิด กับความหวังที่ดับไปกลางซากอาคาร โศกนาฏกรรมครั้งนี้ เป็นจุดเตือนที่สะเทือนใจว่า การลงทุนเชิงยุทธศาสตร์ และความร่วมมือระหว่างประเทศ ไม่อาจวัดด้วยเทคโนโลยี หรือเงินทุนเพียงอย่างเดียว ต้องอาศัย มาตรฐาน ความปลอดภัย และความโปร่งใสระดับสูงสุด หากสิ่งเหล่านี้ขาดหายไป... แม้จะเป็นโครงการที่ดูดีแค่ไหน ก็พร้อมจะพังถล่มลงมาในพริบตา 🕯️ ป้อม-อัครวัฒน์ ธนันฐ์กิตติกุล 291100 มี.ค. 2568 🔖#ตึกสตงถล่ม #CRCCไทย #ไชน่าเรลเวย์10 #ข่าวด่วน #แผ่นดินไหว #อาคารสูงพิเศษ #ก่อสร้างไทยจีน #ข่าวโศกนาฏกรรม #ตึกถล่ม #ไทยจีน
    0 Comments 0 Shares 890 Views 0 Reviews
  • โชว์รายละเอียดตึกใหม่ สตง. 2.1 พันล้าน ก่อนเจอแผ่นดินไหวถล่ม
    https://www.thai-tai.tv/news/17896/
    โชว์รายละเอียดตึกใหม่ สตง. 2.1 พันล้าน ก่อนเจอแผ่นดินไหวถล่ม https://www.thai-tai.tv/news/17896/
    0 Comments 0 Shares 49 Views 0 Reviews
  • ตึกใหม่ สตง. 30 ชั้น 2,136 ล้าน ร่วมค้าอิตาเลียนไทย-ไชน่า เรลเวย์ฯ ได้งาน คุมงานโดย 3 บริษัท 74.6 ล้าน ..โครงสร้างเสร็จแล้วไม่ควรถล่ม
    เพจปฏิบัติการหมาเฝ้าบ้าน #แผ่นดินไหว
    ตึกใหม่ สตง. 30 ชั้น 2,136 ล้าน ร่วมค้าอิตาเลียนไทย-ไชน่า เรลเวย์ฯ ได้งาน คุมงานโดย 3 บริษัท 74.6 ล้าน ..โครงสร้างเสร็จแล้วไม่ควรถล่ม เพจปฏิบัติการหมาเฝ้าบ้าน #แผ่นดินไหว
    0 Comments 0 Shares 84 Views 0 Reviews