• GeForce RTX 5090: พลังในการถอดรหัสผ่านที่เร็วขึ้นสองเท่า Hive Systems ได้เผยแพร่ Password Table ประจำปี 2025 ซึ่งแสดงให้เห็นว่า GeForce RTX 5090 สามารถถอดรหัสผ่านได้เร็วขึ้นถึงสองเท่าเมื่อเทียบกับ RTX 4090 โดยใช้ 12 GPU ในการทดสอบกับฟังก์ชัน bcrypt

    แม้ว่าการเข้ารหัสผ่านจะช่วยป้องกันการเข้าถึงข้อมูลโดยไม่ได้รับอนุญาต แต่ ฮาร์ดแวร์ที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้นทำให้การถอดรหัสผ่านง่ายขึ้น ส่งผลให้ ผู้ใช้ต้องเลือกใช้รหัสผ่านที่ซับซ้อนและยาวขึ้นเพื่อความปลอดภัย

    ✅ GeForce RTX 5090 สามารถถอดรหัสผ่านได้เร็วขึ้นสองเท่าเมื่อเทียบกับ RTX 4090
    - ใช้ 12 GPU ในการทดสอบกับฟังก์ชัน bcrypt

    ✅ รหัสผ่านที่มีเพียงตัวเลข 8 หลักสามารถถูกถอดรหัสได้ภายใน 15 นาที
    - หากใช้ ตัวอักษรพิมพ์เล็ก จะใช้เวลาถอดรหัสประมาณ 3 สัปดาห์

    ✅ รหัสผ่านที่มีตัวเลขและตัวอักษรต้องใช้เวลาถอดรหัสถึง 62 ปี
    - หากเพิ่ม สัญลักษณ์เข้าไป จะใช้เวลาถอดรหัสถึง 164 ปี

    ✅ Hive Systems เปรียบเทียบประสิทธิภาพของ RTX 5090 กับ RTX 4090
    - พบว่า RTX 5090 มีประสิทธิภาพสูงขึ้น 33% ในการถอดรหัสผ่าน

    ✅ การใช้รหัสผ่านที่ซับซ้อนช่วยเพิ่มความปลอดภัยของข้อมูล
    - ควร ใช้รหัสผ่านที่มีตัวเลข, ตัวอักษรพิมพ์เล็ก-ใหญ่ และสัญลักษณ์

    https://www.techspot.com/news/107867-geforce-rtx-5090-cracks-passwords-up-twice-fast.html
    GeForce RTX 5090: พลังในการถอดรหัสผ่านที่เร็วขึ้นสองเท่า Hive Systems ได้เผยแพร่ Password Table ประจำปี 2025 ซึ่งแสดงให้เห็นว่า GeForce RTX 5090 สามารถถอดรหัสผ่านได้เร็วขึ้นถึงสองเท่าเมื่อเทียบกับ RTX 4090 โดยใช้ 12 GPU ในการทดสอบกับฟังก์ชัน bcrypt แม้ว่าการเข้ารหัสผ่านจะช่วยป้องกันการเข้าถึงข้อมูลโดยไม่ได้รับอนุญาต แต่ ฮาร์ดแวร์ที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้นทำให้การถอดรหัสผ่านง่ายขึ้น ส่งผลให้ ผู้ใช้ต้องเลือกใช้รหัสผ่านที่ซับซ้อนและยาวขึ้นเพื่อความปลอดภัย ✅ GeForce RTX 5090 สามารถถอดรหัสผ่านได้เร็วขึ้นสองเท่าเมื่อเทียบกับ RTX 4090 - ใช้ 12 GPU ในการทดสอบกับฟังก์ชัน bcrypt ✅ รหัสผ่านที่มีเพียงตัวเลข 8 หลักสามารถถูกถอดรหัสได้ภายใน 15 นาที - หากใช้ ตัวอักษรพิมพ์เล็ก จะใช้เวลาถอดรหัสประมาณ 3 สัปดาห์ ✅ รหัสผ่านที่มีตัวเลขและตัวอักษรต้องใช้เวลาถอดรหัสถึง 62 ปี - หากเพิ่ม สัญลักษณ์เข้าไป จะใช้เวลาถอดรหัสถึง 164 ปี ✅ Hive Systems เปรียบเทียบประสิทธิภาพของ RTX 5090 กับ RTX 4090 - พบว่า RTX 5090 มีประสิทธิภาพสูงขึ้น 33% ในการถอดรหัสผ่าน ✅ การใช้รหัสผ่านที่ซับซ้อนช่วยเพิ่มความปลอดภัยของข้อมูล - ควร ใช้รหัสผ่านที่มีตัวเลข, ตัวอักษรพิมพ์เล็ก-ใหญ่ และสัญลักษณ์ https://www.techspot.com/news/107867-geforce-rtx-5090-cracks-passwords-up-twice-fast.html
    WWW.TECHSPOT.COM
    GeForce RTX 5090 cracks passwords up to twice as fast as the RTX 4090
    Security company Hive Systems has been pushing the boundaries of password cracking using the latest GPU hardware since 2020. Its most recent Hive Systems Password Table update...
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 21 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​​อานุภาพแห่งอัฏฐังคิกมรรคในการทำให้เกิดตถาคต
    สัทธรรมลำดับที่ : 986
    ชื่อบทธรรม :- อานุภาพแห่งอัฏฐังคิกมรรคในการทำให้เกิด ตถาคตและสุคตวินัย
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=986
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อานุภาพแห่งอัฏฐังคิกมรรคในการทำให้เกิด

    ก. เกิดความปรากฏแห่งตถาคต
    --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว
    ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น
    ไม่ยกเว้น (แม้แต่) ความปรากฏแห่งตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ.
    แปดประการ อย่างไรเล่า ? แปดประการ คือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    +--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้แล อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว
    ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น
    ไม่ยกเว้น (แม้แต่) ความปรากฏแห่งตถาคตแห่งอรหันตสัมมาสัมพุทธะ.
    --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ บริสุทธิ์ ขาวผ่อง
    ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว
    ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น
    ไม่ยกเว้น (แม้แต่) ความปรากฏแห่งตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ.
    แปดประการอย่างไรเล่า ? แปดประการ คือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    +--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ บริสุทธิ์ ขาวผ่อง
    ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว
    ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น
    ไม่ยกเว้น (แม้แต่) #ความปรากฏแห่งตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/18/?keywords=อรหโต+สมฺมาสมฺพุทฺธสฺสาติ

    ข. เกิดสุคตวินัย
    --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว
    ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น
    ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) สุคตวินัย. แปดประการ อย่างไรเล่า ?
    แปดประการ คือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    +--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้แล อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว
    ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น
    ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) สุคตวินัย.
    --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ บริสุทธิ์ ขาวผ่อง
    ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว
    ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น
    ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) สุคตวินัย.
    แปดประการอย่างไรเล่า ? แปดประการ คือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    +--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการ เหล่านี้แล บริสุทธิ์ ขาวผ่อง
    ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว
    ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น
    ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) #สุคตวินัย.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/18/?keywords=สุคตวินยา
    --- มหาวาร. สํ. ๑๙/๑๘-๑๙/๕๒, ๕๔, ๕๓, ๕๕.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/18/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%92

    --อัฏฐังคิกมรรคเพื่อการรู้และการละซึ่งธรรมที่ควรรู้และควรละ
    --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ อันบุคคลพึงเจริญ
    ---
    ๑.เพื่อการรู้ยิ่ง .... ๒.เพื่อการรู้รอบ .... ๓.เพื่อการสิ้นไปรอบ ....
    ๔.เพื่อการละ .... ๕.เพื่อความสิ้นไป ....๖.เพื่อความเสื่อมไป ....
    ๗.เพื่อความจางคลาย .... ๘.เพื่อความดับ .... ๙.เพื่อความสละทิ้ง ....
    ๑๐.เพื่อความสลัดคืน ....
    ---
    ๑.ซึ่งราคะ .... ๒.ซึ่งโทสะ .... ๓.ซึ่งโมหะ .... ๔.ซึ่งโกธะ ....
    ๕.อุปนาหะ .... ๖.มักขะ .... ๗.ปลาสะ .... ๘.อิสสา ..... ๙.มัจฉริยะ .... ๑๐.มายา ....
    ๑๑.สาเถยยะ .... ๑๒.ถัมภะ ..... ๑๓.สารัมภะ .... ๑๔.มานะ .... ๑๕.อติมานะ ....
    ๑๖.มทะ .... ๑๗.ปมาทะ .

    แปดประการนั้น เป็นอย่างไรเล่า? แปดประการคือ
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    +--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการ เหล่านี้แล อันบุคคล พึงเจริญ
    ---
    เพื่อการรู้ยิ่ง ...ฯลฯ ...(๑๐)
    ---
    ซึ่งราคะ ...ฯลฯ ...(๑๗)
    แล.-
    http://etipitaka.com/read/pali/23/360/?keywords=ราคสฺส

    (ข้อความทั้งหมดนี้ ในบาลีประสงค์จะให้แยกเป็นสูตรๆ เป็นเรื่องๆ
    ตามความแตกต่าง แห่งกิริยาอาการ เช่นการรู้ยิ่ง ก็สูตรหนึ่ง;
    และแยกตามชื่อของกิเลสที่ต้องละ กิเลสชื่อหนึ่ง ก็สูตรหนึ่ง
    เช่นรู้ยิ่งซึ่งราคะเป็นต้น ก็สูตรหนึ่ง;
    รวมกันเป็น ๑๗๐ สูตร
    คือมีกิริยาอาการสิบ มีชื่อกิเลสที่ต้องละสิบเจ็ดชื่อ
    คูณกันเข้าเป็น ๑๗๐x๑๐​x๑๗​ สูตร-อาการ-ชื่อ
    ในที่นี้นำมาทำเป็นสูตรเดียว เพื่อง่ายแก่การศึกษาและประหยัดเวลา
    ).

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. 23/281, 284/201, 204.
    http://etipitaka.com/read/thai/23/281/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. ๒๓/๓๕๙, ๓๖๑/๒๐๑, ๒๐๔
    http://etipitaka.com/read/pali/23/359/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%91
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=986
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=986
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84
    ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​​อานุภาพแห่งอัฏฐังคิกมรรคในการทำให้เกิดตถาคต สัทธรรมลำดับที่ : 986 ชื่อบทธรรม :- อานุภาพแห่งอัฏฐังคิกมรรคในการทำให้เกิด ตถาคตและสุคตวินัย https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=986 เนื้อความทั้งหมด :- --อานุภาพแห่งอัฏฐังคิกมรรคในการทำให้เกิด ก. เกิดความปรากฏแห่งตถาคต --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่) ความปรากฏแห่งตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ. แปดประการ อย่างไรเล่า ? แปดประการ คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. +--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้แล อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่) ความปรากฏแห่งตถาคตแห่งอรหันตสัมมาสัมพุทธะ. --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ บริสุทธิ์ ขาวผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่) ความปรากฏแห่งตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ. แปดประการอย่างไรเล่า ? แปดประการ คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. +--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ บริสุทธิ์ ขาวผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่) #ความปรากฏแห่งตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ. http://etipitaka.com/read/pali/19/18/?keywords=อรหโต+สมฺมาสมฺพุทฺธสฺสาติ ข. เกิดสุคตวินัย --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) สุคตวินัย. แปดประการ อย่างไรเล่า ? แปดประการ คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. +--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้แล อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) สุคตวินัย. --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ บริสุทธิ์ ขาวผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) สุคตวินัย. แปดประการอย่างไรเล่า ? แปดประการ คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. +--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการ เหล่านี้แล บริสุทธิ์ ขาวผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) #สุคตวินัย. http://etipitaka.com/read/pali/19/18/?keywords=สุคตวินยา --- มหาวาร. สํ. ๑๙/๑๘-๑๙/๕๒, ๕๔, ๕๓, ๕๕. http://etipitaka.com/read/pali/19/18/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%92 --อัฏฐังคิกมรรคเพื่อการรู้และการละซึ่งธรรมที่ควรรู้และควรละ --ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ อันบุคคลพึงเจริญ --- ๑.เพื่อการรู้ยิ่ง .... ๒.เพื่อการรู้รอบ .... ๓.เพื่อการสิ้นไปรอบ .... ๔.เพื่อการละ .... ๕.เพื่อความสิ้นไป ....๖.เพื่อความเสื่อมไป .... ๗.เพื่อความจางคลาย .... ๘.เพื่อความดับ .... ๙.เพื่อความสละทิ้ง .... ๑๐.เพื่อความสลัดคืน .... --- ๑.ซึ่งราคะ .... ๒.ซึ่งโทสะ .... ๓.ซึ่งโมหะ .... ๔.ซึ่งโกธะ .... ๕.อุปนาหะ .... ๖.มักขะ .... ๗.ปลาสะ .... ๘.อิสสา ..... ๙.มัจฉริยะ .... ๑๐.มายา .... ๑๑.สาเถยยะ .... ๑๒.ถัมภะ ..... ๑๓.สารัมภะ .... ๑๔.มานะ .... ๑๕.อติมานะ .... ๑๖.มทะ .... ๑๗.ปมาทะ . แปดประการนั้น เป็นอย่างไรเล่า? แปดประการคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. +--ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการ เหล่านี้แล อันบุคคล พึงเจริญ --- เพื่อการรู้ยิ่ง ...ฯลฯ ...(๑๐) --- ซึ่งราคะ ...ฯลฯ ...(๑๗) แล.- http://etipitaka.com/read/pali/23/360/?keywords=ราคสฺส (ข้อความทั้งหมดนี้ ในบาลีประสงค์จะให้แยกเป็นสูตรๆ เป็นเรื่องๆ ตามความแตกต่าง แห่งกิริยาอาการ เช่นการรู้ยิ่ง ก็สูตรหนึ่ง; และแยกตามชื่อของกิเลสที่ต้องละ กิเลสชื่อหนึ่ง ก็สูตรหนึ่ง เช่นรู้ยิ่งซึ่งราคะเป็นต้น ก็สูตรหนึ่ง; รวมกันเป็น ๑๗๐ สูตร คือมีกิริยาอาการสิบ มีชื่อกิเลสที่ต้องละสิบเจ็ดชื่อ คูณกันเข้าเป็น ๑๗๐x๑๐​x๑๗​ สูตร-อาการ-ชื่อ ในที่นี้นำมาทำเป็นสูตรเดียว เพื่อง่ายแก่การศึกษาและประหยัดเวลา ). #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. 23/281, 284/201, 204. http://etipitaka.com/read/thai/23/281/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อฏฺฐก. อํ. ๒๓/๓๕๙, ๓๖๑/๒๐๑, ๒๐๔ http://etipitaka.com/read/pali/23/359/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%91 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=986 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=986 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84 ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อานุภาพแห่งอัฏฐังคิกมรรคในการทำให้เกิด :
    -อานุภาพแห่งอัฏฐังคิกมรรคในการทำให้เกิด : ก. เกิดความปรากฏแห่งตถาคต ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่) ความปรากฏแห่งตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ. แปดประการ อย่างไรเล่า ? แปดประการ คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมา วายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้แล อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่) ความปรากฏแห่งตถาคตแห่งอรหันตสัมมาสัมพุทธะ. ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ บริสุทธิ์ ขาวผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่) ความปรากฏแห่งตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ. แปดประการอย่างไรเล่า ? แปดประการ คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ บริสุทธิ์ ขาวผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่) ความปรากฏแห่งตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ. ข. เกิดสุคตวินัย ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) สุคตวินัย. แปดประการ อย่างไรเล่า ? แปดประการ คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้แล อันบุคคลเจริญ กระทำให้มากแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) สุคตวินัย. ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ บริสุทธิ์ ขาวผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) สุคตวินัย. แปดประการอย่างไรเล่า ? แปดประการ คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการ เหล่านี้แล บริสุทธิ์ ขาวผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากอุปกิเลสแล้ว ธรรมทั้งหลายที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น ไม่ยกเว้น (แม้แต่การเกิดแห่ง) สุคตวินัย. มหาวาร. สํ. ๑๙/๑๘ - ๑๙/๕๒, ๕๔, ๕๓, ๕๕. อัฏฐังคิกมรรคเพื่อการรู้และการละซึ่งธรรมที่ควรรู้และควรละ ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการเหล่านี้ อันบุคคลพึงเจริญ เพื่อการรู้ยิ่ง .... เพื่อการรู้รอบ .... เพื่อการสิ้นไปรอบ .... เพื่อการละ .... เพื่อความสิ้นไป ....เพื่อความเสื่อมไป .... เพื่อความจางคลาย .... เพื่อความดับ .... เพื่อความสละทิ้ง .... เพื่อความสลัดคืน .... ซึ่งราคะ .... ซึ่งโทสะ .... ซึ่งโมหะ .... ซึ่งโกธะ .... อุปนาหะ .... มักขะ .... ปลาสะ .... อิสสา ..... มัจฉริยะ .... มายา .... สาเถยยะ .... ถัมภะ ..... สารัมภะ .... มานะ .... อติมานะ .... มทะ .... ปมาทะ .แปดประการนั้น เป็นอย่างไรเล่า? แปดประการคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ภิกษุ ท. ! ธรรม ๘ ประการ เหล่านี้แล อันบุคคล พึงเจริญเพื่อการรู้ยิ่ง ฯลฯ ซึ่งราคะ ฯลฯ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 85 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาลักษณาการแห่งการรู้อริยสัจและการสิ้นอาสวะจบพรหมจรรย์
    สัทธรรมลำดับที่ : 618
    ชื่อบทธรรม :- ลักษณาการแห่งการรู้อริยสัจและการสิ้นอาสวะจบพรหมจรรย์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=618
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ลักษณาการแห่งการรู้อริยสัจและการสิ้นอาสวะจบพรหมจรรย์
    --มหาราช ! ....
    ภิกษุนั้น ครั้นจิตตั้งมั่น บริสุทธิ์ผ่องใส ไม่มีกิเลสปราศจากอุปกิเลส
    เป็นธรรมชาติอ่อนโยนควรแก่การงาน ตั้งอยู่ได้อย่างไม่หวั่นไหว เช่นนี้แล้ว,
    เธอก็น้อมจิตไปเฉพาะต่อ อาสาวักขยญาณ.
    เธอย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า
    “นี้ ทุกข์, นี้เหตุให้เกิดขึ้นแห่งทุกข์,
    นี้ ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,
    นี้ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์”
    และรู้ชัดตามเป็นจริงว่า
    “เหล่านี้ อาสวะ,
    นี้เหตุให้เกิดขึ้นแห่งอาสวะ,
    นี้ ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ,
    นี้ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ”
    ดังนี้.
    เมื่อเธอรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็พ้นจาก
    กามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ.
    ครั้นจิตหลุดพ้นแล้ว ก็เกิดญาณหยั่งรู้ว่า “จิตหลุดพ้นแล้ว”.
    เธอรู้ชัดว่า
    “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว
    กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความหลุดพ้นอย่างนี้ มิได้มีอีก”
    ดังนี้.

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนห้วงน้ำใสที่ไหล่เขา ไม่ขุ่นมัว,
    คนมีจักษุดียืนอยู่บนฝั่งในที่นั้น,
    เขาจะเห็นหอยต่าง ๆ บ้าง กรวดและหินบ้าง ฝูงปลาบ้าง
    อันหยุดอยู่และว่ายไปในห้วงน้ำนั้น,
    เขาจะสำเหนียกใจอย่างนี้ว่า
    ”ห้วงน้ำ นี้ใส ไม่ขุ่นเลย หอย ก้อนกรวด ปลาทั้งหลาย เหล่านี้
    หยุดอยู่บ้างว่ายไปบ้าง ในห้วงน้ำนั้น”,
    “ข้อนี้เป็นฉันใด ;
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า
    "นี้ ทุกข์,
    นี้ เหตุให้เกิดขึ้นแห่งทุกข์,
    นี้ ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์,
    นี้ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์”
    และรู้ชัดตามเป็นจริงว่า
    “เหล่านี้ อาสวะ,
    นี้ เหตุให้เกิดขึ้นแห่งอาสวะ,
    นี้ ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ,
    นี้ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ",
    ดังนี้.
    เมื่อเธอรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็พ้นจาก
    กามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ.
    ครั้นจิตหลุดพ้นแล้ว ก็เกิดญาณหยั่งรู้ว่า
    “#จิตหลุดพ้นแล้ว”.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/112/?keywords=จิตฺตํ+วิมุจฺจติ
    เธอรู้ชัดว่า
    “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว
    กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความหลุดพ้นอย่างนี้ มิได้มีอีก”
    ดังนี้. ฉันนั้นเหมือนกัน.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/77/138.
    http://etipitaka.com/read/thai/9/77/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที. ๙/๑๑๐/๑๓๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/9/110/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=223
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=618
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาลักษณาการแห่งการรู้อริยสัจและการสิ้นอาสวะจบพรหมจรรย์ สัทธรรมลำดับที่ : 618 ชื่อบทธรรม :- ลักษณาการแห่งการรู้อริยสัจและการสิ้นอาสวะจบพรหมจรรย์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=618 เนื้อความทั้งหมด :- --ลักษณาการแห่งการรู้อริยสัจและการสิ้นอาสวะจบพรหมจรรย์ --มหาราช ! .... ภิกษุนั้น ครั้นจิตตั้งมั่น บริสุทธิ์ผ่องใส ไม่มีกิเลสปราศจากอุปกิเลส เป็นธรรมชาติอ่อนโยนควรแก่การงาน ตั้งอยู่ได้อย่างไม่หวั่นไหว เช่นนี้แล้ว, เธอก็น้อมจิตไปเฉพาะต่อ อาสาวักขยญาณ. เธอย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า “นี้ ทุกข์, นี้เหตุให้เกิดขึ้นแห่งทุกข์, นี้ ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์” และรู้ชัดตามเป็นจริงว่า “เหล่านี้ อาสวะ, นี้เหตุให้เกิดขึ้นแห่งอาสวะ, นี้ ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ, นี้ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ” ดังนี้. เมื่อเธอรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็พ้นจาก กามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ. ครั้นจิตหลุดพ้นแล้ว ก็เกิดญาณหยั่งรู้ว่า “จิตหลุดพ้นแล้ว”. เธอรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความหลุดพ้นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนห้วงน้ำใสที่ไหล่เขา ไม่ขุ่นมัว, คนมีจักษุดียืนอยู่บนฝั่งในที่นั้น, เขาจะเห็นหอยต่าง ๆ บ้าง กรวดและหินบ้าง ฝูงปลาบ้าง อันหยุดอยู่และว่ายไปในห้วงน้ำนั้น, เขาจะสำเหนียกใจอย่างนี้ว่า ”ห้วงน้ำ นี้ใส ไม่ขุ่นเลย หอย ก้อนกรวด ปลาทั้งหลาย เหล่านี้ หยุดอยู่บ้างว่ายไปบ้าง ในห้วงน้ำนั้น”, “ข้อนี้เป็นฉันใด ; --ภิกษุ ท. ! ภิกษุย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า "นี้ ทุกข์, นี้ เหตุให้เกิดขึ้นแห่งทุกข์, นี้ ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์” และรู้ชัดตามเป็นจริงว่า “เหล่านี้ อาสวะ, นี้ เหตุให้เกิดขึ้นแห่งอาสวะ, นี้ ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ, นี้ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ", ดังนี้. เมื่อเธอรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็พ้นจาก กามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ. ครั้นจิตหลุดพ้นแล้ว ก็เกิดญาณหยั่งรู้ว่า “#จิตหลุดพ้นแล้ว”. http://etipitaka.com/read/pali/9/112/?keywords=จิตฺตํ+วิมุจฺจติ เธอรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความหลุดพ้นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้. ฉันนั้นเหมือนกัน.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สี. ที. 9/77/138. http://etipitaka.com/read/thai/9/77/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สี. ที. ๙/๑๑๐/๑๓๘. http://etipitaka.com/read/pali/9/110/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%93%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=223 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=618 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (อนุปัสสนา ๑๑ ประการนี้ เป็นคู่กับอนุปัสสนาอีก ๑๑ ประการ อันเป็นฝ่ายสมุทัย ซึ่งได้แยกไปใส่ไว้ในหมวดทุกขสมุทยอริยสัจ โดยหัวข้อว่า “ปัจจัยแห่งทุกข์โดยอเนกปริยาย” ที่หน้า ๓๖๘; ผู้ศึกษาพึงสังเกตเห็นได้เองว่า การแยกให้เป็นปริยายมากออกไปกระทำได้โดยลักษณะเช่นนี้).
    -(อนุปัสสนา ๑๑ ประการนี้ เป็นคู่กับอนุปัสสนาอีก ๑๑ ประการ อันเป็นฝ่ายสมุทัย ซึ่งได้แยกไปใส่ไว้ในหมวดทุกขสมุทยอริยสัจ โดยหัวข้อว่า “ปัจจัยแห่งทุกข์โดยอเนกปริยาย” ที่หน้า ๓๖๘; ผู้ศึกษาพึงสังเกตเห็นได้เองว่า การแยกให้เป็นปริยายมากออกไปกระทำได้โดยลักษณะเช่นนี้). ลักษณาการแห่งการรู้อริยสัจ และการสิ้นอาสวะจบพรหมจรรย์ มหาราช ! ....ภิกษุนั้น ครั้นจิตตั้งมั่น บริสุทธิ์ผ่องใส ไม่มีกิเลสปราศจากอุปกิเลส เป็นธรรมชาติอ่อนโยนควรแก่การงาน ตั้งอยู่ได้อย่างไม่หวั่นไหว เช่นนี้แล้ว, เธอก็น้อมจิตไปเฉพาะต่อ อาสาวักขยญาณ. เธอย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า “นี้ ทุกข์, นี้เหตุให้เกิดขึ้นแห่งทุกข์, นี้ ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์” และรู้ชัดตามเป็นจริงว่า “เหล่านี้ อาสวะ, นี้เหตุให้เกิดขึ้นแห่งอาสวะ, นี้ ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ, นี้ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ” ดังนี้. เมื่อเธอรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็พ้นจากกามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ. ครั้นจิตหลุดพ้นแล้ว ก็เกิดญาณหยั่งรู้ว่า “จิตหลุดพ้นแล้ว”. เธอรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความหลุดพ้นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนห้วงน้ำใสที่ไหล่เขา ไม่ขุ่นมัว, คนมีจักษุดียืนอยู่บนฝั่งในที่นั้น, เขาจะเห็นหอยต่าง ๆ บ้าง กรวดและหินบ้าง ฝูงปลาบ้าง อันหยุดอยู่และว่ายไปในห้วงน้ำนั้น, เขาจะสำเหนียกใจอย่างนี้ว่า”ห้วงน้ำ นี้ใส ไม่ขุ่นเลย หอย ก้อนกรวด ปลาทั้งหลาย เหล่านี้ หยุดอยู่บ้างว่ายไปบ้าง ในห้วงน้ำนั้น”, “ข้อนี้เป็นฉันใด ; ภิกษุ ท. ! ภิกษุย่อมรู้ชัดตามที่เป็นจริงว่า นี้ ทุกข์, นี้ เหตุให้เกิดขึ้นแห่งทุกข์, นี้ ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, นี้ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์” และรู้ชัดตามเป็นจริงว่า “เหล่านี้ อาสวะ, นี้ เหตุให้เกิดขึ้นแห่งอาสวะ, นี้ ความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ, นี้ ทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งอาสวะ, ดังนี้. เมื่อเธอรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็พ้นจาก กามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ. ครั้นจิตหลุดพ้นแล้ว ก็เกิดญาณหยั่งรู้ว่า “จิตหลุดพ้นแล้ว”. เธอรู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความหลุดพ้นอย่างนี้ มิได้มีอีก” ดังนี้. ฉันนั้นเหมือนกัน.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 65 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ว่าบุคคลเป็นทุกข์เพราะเพลิดเพลินติดอยู่ในอายตนะ
    สัทธรรมลำดับที่ : 223
    ชื่อบทธรรม :- เป็นทุกข์เพราะติดอยู่ในอายตนะ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=223
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เป็นทุกข์เพราะติดอยู่ในอายตนะ
    --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    มี รูป เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วในรูป บันเทิงด้วยรูป.
    +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์
    เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของรูป ;

    --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    มี เสียง เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในเสียง บันเทิงด้วยเสียง.
    +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์
    เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของเสียง ;

    --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    มี กลิ่น เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในกลิ่น บันเทิงด้วยกลิ่น.
    +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์
    เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของกลิ่น ;

    --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    มี รส เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วในรส บันเทิงด้วยรส.
    +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์
    เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของรส ;

    --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    มี โผฎฐัพพะ เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วโผฎฐัพพะ บันเทิงด้วยโผฎฐัพพะ.
    +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์
    เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของโผฏฐัพพะ ;

    --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    มี ธรรมารมณ์ เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในธรรมารมณ์ บันเทิงด้วยธรรมารมณ์.
    +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์.
    เพราะความเปลี่ยนแปลง #เสื่อมสลายและความดับไปของธรรมารมณ์
    http://etipitaka.com/read/pali/18/161/?keywords=ธมฺมวิปริณามวิราคนิโรธา
    แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/161/218.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/130/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๖๑/๒๑๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/161/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=223
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=223
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ว่าบุคคลเป็นทุกข์เพราะเพลิดเพลินติดอยู่ในอายตนะ สัทธรรมลำดับที่ : 223 ชื่อบทธรรม :- เป็นทุกข์เพราะติดอยู่ในอายตนะ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=223 เนื้อความทั้งหมด :- --เป็นทุกข์เพราะติดอยู่ในอายตนะ --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี รูป เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วในรูป บันเทิงด้วยรูป. +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของรูป ; --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี เสียง เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในเสียง บันเทิงด้วยเสียง. +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของเสียง ; --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี กลิ่น เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในกลิ่น บันเทิงด้วยกลิ่น. +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของกลิ่น ; --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี รส เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วในรส บันเทิงด้วยรส. +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของรส ; --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี โผฎฐัพพะ เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วโผฎฐัพพะ บันเทิงด้วยโผฎฐัพพะ. +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของโผฏฐัพพะ ; --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี ธรรมารมณ์ เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในธรรมารมณ์ บันเทิงด้วยธรรมารมณ์. +--ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์. เพราะความเปลี่ยนแปลง #เสื่อมสลายและความดับไปของธรรมารมณ์ http://etipitaka.com/read/pali/18/161/?keywords=ธมฺมวิปริณามวิราคนิโรธา แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/161/218. http://etipitaka.com/read/thai/18/130/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๖๑/๒๑๘. http://etipitaka.com/read/pali/18/161/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=223 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=223 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เป็นทุกข์เพราะติดอยู่ในอายตนะ
    -เป็นทุกข์เพราะติดอยู่ในอายตนะ ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี รูป เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วในรูป บันเทิงด้วยรูป. ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของรูป ; ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี เสียง เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในเสียง บันเทิงด้วยเสียง. ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของเสียง ; ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี กลิ่น เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในกลิ่น บันเทิงด้วยกลิ่น. ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของกลิ่น ; ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี รส เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วในรส บันเทิงด้วยรส. ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของรส ; ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี โผฎฐัพพะ เป็นที่รื่นรมย์ใจ ยินดีแล้วโผฎฐัพพะ บันเทิงด้วยโผฎฐัพพะ. ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลาย และความดับไปของโผฏฐัพพะ ; ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มี ธรรมารมณ์ เป็นที่รื่นรมย์ใจยินดีแล้วในธรรมารมณ์ บันเทิงด้วยธรรมารมณ์. ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นทุกข์ เพราะความเปลี่ยนแปลง เสื่อมสลายและความดับไปของธรรมารมณ์ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 69 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวกพึงฝึกหัดศึกษาความทุกข์ของเทวดาและมนุษยเป็นธรรมดาอยู่ในธรรมชาติ
    สัทธรรมลำดับที่ : 222
    ชื่อบทธรรม :- ความทุกข์ของเทวดาและมนุษย์ตามธรรมชาติ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=222
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ทุกข์ของเทวดาและมนุษย์ตามธรรมชาติ
    --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    มีรูปเป็นที่มายินดี ยินดีแล้วในรูป บันเทิงแล้วในรูป ยอม อยู่เป็นทุกข์
    เพราะความแปรปรวนจางคลายดับไปแห่งรูป.

    (ในกรณีแห่ง เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ และ ธรรมมารมณ์ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน).

    --ภิกษุ ท. ! ส่วนตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ
    รู้แจ้งความเกิดความตั้งอยู่ไม่ได้ รสอร่อย โทษ และอุบายเครื่องสลัดออก
    แห่งรูป ตามเป็นจริง
    ไม่มีรูปเป็นที่มายินดี ไม่ยินดีในรูป ไม่บันเทิงในรูป ยังคงอยู่เป็นสุข
    แม้เพราะความแปรปรวนจางคลายดับไปแห่งรูป.

    (ในกรณีแห่ง เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ และ ธรรมารมณ์ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน).-

    --คาถาท้ายพระสูตร--
    รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ทั้งสิ้น
    อันน่าปรารถนา น่าใคร่และน่าพอใจ ที่กล่าวกันว่ามีอยู่ประมาณเท่าใด
    รูปารมณ์เป็นต้น เหล่านั้นนั่นแล เป็นสิ่งอันชาวโลกพร้อมทั้งเทวโลก
    สมมติว่าเป็นสุข
    ถ้าว่ารูปารมณ์เป็นต้นเหล่านั้น ดับไปในที่ใดที่นั้น
    เทวดาและมนุษย์เหล่านั้นสมมติว่าเป็นทุกข์
    ส่วนว่าพระอริยะเจ้าทั้งหลาย เห็นการดับสักกายะ
    (รูปารมณ์เป็นต้นที่บุคคลถือว่าเป็นของตน) ว่าเป็นสุข
    การเห็นของพระอริยะเจ้าทั้งหลาย
    ผู้เห็นอยู่นี้ย่อมเป็นข้าศึกกับชาวโลกทั้งปวง
    บุคคลเหล่าอื่นกล่าวสิ่งใดว่าเป็นสุข
    พระอริยะเจ้าทั้งหลายกล่าวสิ่งนั้นว่าเป็นทุกข์
    บุคคลเหล่าอื่นกล่าวสิ่งใดว่าเป็นทุกข์
    พระอริยะเจ้าทั้งหลายรู้แจ้งสิ่งนั้นว่าเป็นสุข
    เธอจงเห็นธรรมที่รู้ได้ยาก คนพาลผู้หลง ไม่รู้แจ้งในนิพพานนี้
    ความมืดย่อมมีแก่บุคคลผู้ถูกนิวรณ์หุ้มห่อ
    เหมือนความมัวมนย่อมมีแก่บุคคลผู้ไม่เห็นนิพพานย่อมมีแก่สัตบุรุษ
    เหมือนแสงสว่างย่อมมีแก่บุคคลผู้เห็น ชนทั้งหลายแสวงหา
    ไม่ฉลาดในธรรม ย่อมไม่รู้แจ้งนิพพานอันมีในที่ใกล้ธรรมนี้
    อันบุคคลผู้ถูกความกำหนัดในภพครอบงำ
    ผู้แล่นไปตามกระแสตัณหาในภพ ผู้อันบ่วงแห่งมารท่วมทับไม่ตรัสรู้ได้ง่าย ใครหนอ
    เว้นจากพระอริยะเจ้าทั้งหลายแล้วย่อมควรเพื่อจะตรัสรู้นิพพาน
    บทที่พระอริยะเจ้าทั้งหลายรู้โดยชอบ #เป็นผู้ไม่มีอาสวะปรินิพพาน
    http://etipitaka.com/read/pali/18/161/?keywords=ปรินิพฺพนฺติ

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/129/216.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/129/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%96
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๕๙/๒๑๖.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/159/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%96
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=222
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=222
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริย​สาวกพึงฝึกหัดศึกษาความทุกข์ของเทวดาและมนุษยเป็นธรรมดาอยู่ในธรรมชาติ สัทธรรมลำดับที่ : 222 ชื่อบทธรรม :- ความทุกข์ของเทวดาและมนุษย์ตามธรรมชาติ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=222 เนื้อความทั้งหมด :- --ทุกข์ของเทวดาและมนุษย์ตามธรรมชาติ --ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มีรูปเป็นที่มายินดี ยินดีแล้วในรูป บันเทิงแล้วในรูป ยอม อยู่เป็นทุกข์ เพราะความแปรปรวนจางคลายดับไปแห่งรูป. (ในกรณีแห่ง เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ และ ธรรมมารมณ์ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน). --ภิกษุ ท. ! ส่วนตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ รู้แจ้งความเกิดความตั้งอยู่ไม่ได้ รสอร่อย โทษ และอุบายเครื่องสลัดออก แห่งรูป ตามเป็นจริง ไม่มีรูปเป็นที่มายินดี ไม่ยินดีในรูป ไม่บันเทิงในรูป ยังคงอยู่เป็นสุข แม้เพราะความแปรปรวนจางคลายดับไปแห่งรูป. (ในกรณีแห่ง เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ และ ธรรมารมณ์ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน).- --คาถาท้ายพระสูตร-- รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ทั้งสิ้น อันน่าปรารถนา น่าใคร่และน่าพอใจ ที่กล่าวกันว่ามีอยู่ประมาณเท่าใด รูปารมณ์เป็นต้น เหล่านั้นนั่นแล เป็นสิ่งอันชาวโลกพร้อมทั้งเทวโลก สมมติว่าเป็นสุข ถ้าว่ารูปารมณ์เป็นต้นเหล่านั้น ดับไปในที่ใดที่นั้น เทวดาและมนุษย์เหล่านั้นสมมติว่าเป็นทุกข์ ส่วนว่าพระอริยะเจ้าทั้งหลาย เห็นการดับสักกายะ (รูปารมณ์เป็นต้นที่บุคคลถือว่าเป็นของตน) ว่าเป็นสุข การเห็นของพระอริยะเจ้าทั้งหลาย ผู้เห็นอยู่นี้ย่อมเป็นข้าศึกกับชาวโลกทั้งปวง บุคคลเหล่าอื่นกล่าวสิ่งใดว่าเป็นสุข พระอริยะเจ้าทั้งหลายกล่าวสิ่งนั้นว่าเป็นทุกข์ บุคคลเหล่าอื่นกล่าวสิ่งใดว่าเป็นทุกข์ พระอริยะเจ้าทั้งหลายรู้แจ้งสิ่งนั้นว่าเป็นสุข เธอจงเห็นธรรมที่รู้ได้ยาก คนพาลผู้หลง ไม่รู้แจ้งในนิพพานนี้ ความมืดย่อมมีแก่บุคคลผู้ถูกนิวรณ์หุ้มห่อ เหมือนความมัวมนย่อมมีแก่บุคคลผู้ไม่เห็นนิพพานย่อมมีแก่สัตบุรุษ เหมือนแสงสว่างย่อมมีแก่บุคคลผู้เห็น ชนทั้งหลายแสวงหา ไม่ฉลาดในธรรม ย่อมไม่รู้แจ้งนิพพานอันมีในที่ใกล้ธรรมนี้ อันบุคคลผู้ถูกความกำหนัดในภพครอบงำ ผู้แล่นไปตามกระแสตัณหาในภพ ผู้อันบ่วงแห่งมารท่วมทับไม่ตรัสรู้ได้ง่าย ใครหนอ เว้นจากพระอริยะเจ้าทั้งหลายแล้วย่อมควรเพื่อจะตรัสรู้นิพพาน บทที่พระอริยะเจ้าทั้งหลายรู้โดยชอบ #เป็นผู้ไม่มีอาสวะปรินิพพาน ฯ http://etipitaka.com/read/pali/18/161/?keywords=ปรินิพฺพนฺติ #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/129/216. http://etipitaka.com/read/thai/18/129/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%96 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๕๙/๒๑๖. http://etipitaka.com/read/pali/18/159/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%91%E0%B9%96 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=222 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=222 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ความทุกข์ของเทวดาและมนุษย์ตามธรรมชาติ
    -ความทุกข์ของเทวดาและมนุษย์ตามธรรมชาติ ภิกษุ ท. ! เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย มีรูปเป็นที่มายินดี ยินดีแล้วในรูป บันเทิงแล้วในรูป ย่อม อยู่เป็นทุกข์ เพราะความแปรปรวนจางคลายดับไปแห่งรูป. (ในกรณีแห่ง เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ และ ธรรมมารมณ์ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน). ภิกษุ ท. ! ส่วนตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ รู้แจ้งความเกิดความตั้งอยู่ไม่ได้ รสอร่อย โทษ และอุบายเครื่องสลัดออก แห่งรูป ตามเป็นจริง ไม่มีรูปเป็นที่มายินดี ไม่ยินดีในรูป ไม่บันเทิงในรูป ยังคงอยู่เป็นสุขแม้เพราะความแปรปรวนจางคลายดับไปแห่งรูป. (ในกรณีแห่ง เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ และ ธรรมารมณ์ ก็ตรัสอย่างเดียวกัน).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 75 มุมมอง 0 รีวิว
  • 10Web เปิดตัว AI Website Builder API เพื่อยกระดับการสร้างเว็บไซต์ 10Web ได้เปิดตัว AI Website Builder API ซึ่งช่วยให้ นักพัฒนาสามารถสร้างเว็บไซต์ WordPress ที่สมบูรณ์แบบได้จากข้อความที่ป้อนเข้าไป โดย API นี้ใช้ เทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นก่อนที่ Generative AI จะได้รับความนิยม

    นอกจากนี้ API ยังสามารถ สร้างเว็บไซต์ที่ปรับแต่งได้เต็มรูปแบบ รองรับอีคอมเมิร์ซ และโฮสต์บนโครงสร้างพื้นฐานของ 10Web โดยใช้ WooCommerce สำหรับการจัดการสินค้า, การชำระเงิน และการจัดส่ง

    ✅ API สามารถสร้างเว็บไซต์ WordPress ที่สมบูรณ์แบบจากข้อความที่ป้อนเข้าไป
    - ใช้ เทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นก่อนที่ Generative AI จะได้รับความนิยม

    ✅ เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นสามารถปรับแต่งได้เต็มรูปแบบและรองรับอีคอมเมิร์ซ
    - ใช้ WooCommerce สำหรับการจัดการสินค้า, การชำระเงิน และการจัดส่ง

    ✅ API ใช้โมเดล AI หลายตัว เช่น Google Gemini, OpenAI และ Anthropic
    - แต่ละโมเดล ถูกฝึกให้ทำงานเฉพาะด้านภายในระบบสร้างเว็บไซต์

    ✅ 10Web AI Co-Pilot ช่วยให้ผู้ใช้สามารถแก้ไขเลย์เอาต์และตั้งค่าวิดเจ็ตแบบเรียลไทม์
    - ใช้ ภาษาธรรมชาติในการสั่งงาน

    ✅ บริษัทมีแผนขยายฟีเจอร์เพิ่มเติม เช่น เครื่องมือจัดการธุรกิจและอีคอมเมิร์ซที่ดีขึ้น
    - จะเปิดตัว AI Co-Pilot สำหรับการแก้ไขหน้าเว็บในอนาคต

    https://www.techradar.com/pro/10web-aims-to-take-ai-website-building-to-the-next-level-with-new-api
    10Web เปิดตัว AI Website Builder API เพื่อยกระดับการสร้างเว็บไซต์ 10Web ได้เปิดตัว AI Website Builder API ซึ่งช่วยให้ นักพัฒนาสามารถสร้างเว็บไซต์ WordPress ที่สมบูรณ์แบบได้จากข้อความที่ป้อนเข้าไป โดย API นี้ใช้ เทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นก่อนที่ Generative AI จะได้รับความนิยม นอกจากนี้ API ยังสามารถ สร้างเว็บไซต์ที่ปรับแต่งได้เต็มรูปแบบ รองรับอีคอมเมิร์ซ และโฮสต์บนโครงสร้างพื้นฐานของ 10Web โดยใช้ WooCommerce สำหรับการจัดการสินค้า, การชำระเงิน และการจัดส่ง ✅ API สามารถสร้างเว็บไซต์ WordPress ที่สมบูรณ์แบบจากข้อความที่ป้อนเข้าไป - ใช้ เทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นก่อนที่ Generative AI จะได้รับความนิยม ✅ เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นสามารถปรับแต่งได้เต็มรูปแบบและรองรับอีคอมเมิร์ซ - ใช้ WooCommerce สำหรับการจัดการสินค้า, การชำระเงิน และการจัดส่ง ✅ API ใช้โมเดล AI หลายตัว เช่น Google Gemini, OpenAI และ Anthropic - แต่ละโมเดล ถูกฝึกให้ทำงานเฉพาะด้านภายในระบบสร้างเว็บไซต์ ✅ 10Web AI Co-Pilot ช่วยให้ผู้ใช้สามารถแก้ไขเลย์เอาต์และตั้งค่าวิดเจ็ตแบบเรียลไทม์ - ใช้ ภาษาธรรมชาติในการสั่งงาน ✅ บริษัทมีแผนขยายฟีเจอร์เพิ่มเติม เช่น เครื่องมือจัดการธุรกิจและอีคอมเมิร์ซที่ดีขึ้น - จะเปิดตัว AI Co-Pilot สำหรับการแก้ไขหน้าเว็บในอนาคต https://www.techradar.com/pro/10web-aims-to-take-ai-website-building-to-the-next-level-with-new-api
    WWW.TECHRADAR.COM
    10Web aims to take AI website building to the next level with new API
    With the API, website developers can build fully-fledged WordPress sites by chatting to the bot
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 65 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ความแตกต่างระหว่าง-คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติ
    สัทธรรมลำดับที่ : 985
    ชื่อบทธรรม :- ความแตกต่างระหว่าง-คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=985
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความแตกต่างระหว่าง-คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติพรหมจรรย์
    --ภิกษุ ท. !
    กายนี้เกิดมีขึ้นแล้ว แก่คนเขลา (พาล)​
    http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=พาลสฺส
    ผู้ถูกอวิชชาใดห่อหุ้มแล้วด้วย ผู้พัวพันแล้วด้วยตัณหาใดด้วย,
    อวิชชานั้นแหละ ที่คนเขลายังละไม่ได้
    และตัณหานั่นเทียว ก็ยังไม่หมดสิ้นไป.
    ข้อนั้นเพราะเหตุไร ?
    +--ภิกษุ ท. !
    เพราะว่า คนพาลไม่ได้ประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบ.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=พาโล+อจริ+พฺรหฺมจริยํ
    เพราะเหตุนั้น คนเขลา จึงเป็นผู้เข้าถึงกาย (อื่น)
    เพราะการแตกสลายแห่งกาย (นี้).
    คนเขลานั้น เมื่อเข้าถึงกายอยู่ เรากล่าวว่า
    “เขาไม่หลุดพ้นจากความเกิด ความแก่ ความตาย
    ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ
    และไม่หลุดพ้นจากทุกข์”
    ดังนี้.

    --ภิกษุ ท. !
    กายนี้ เกิดมีขึ้นแล้ว แก่บัณฑิต
    http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=ปณฺฑิตสฺส
    ผู้ถูกอวิชชาใดห่อหุ้มแล้วด้วย ผู้พัวพันแล้วด้วยตัณหาใดด้วย,
    อวิชชานั้นแหละ อันบัณฑิตละได้แล้ว
    http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=อวิชฺชา
    และตัณหานั่นเทียว ก็หมดสิ้นไปแล้ว.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=ตณฺหา
    ข้อนั้นเพราะเหตุไร ?
    เพราะว่า บัณฑิตได้ประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบ.
    เพราะเหตุนั้น บัณฑิตจึงเป็นผู้ไม่เข้าถึงกาย (อื่น)
    เพราะการแตกสลายแห่งกาย (นี้).
    บัณฑิตนั้นเมื่อไม่เข้าถึงกายอยู่ เรากล่าวว่า
    “เขาย่อมหลุดพ้นได้จากความเกิด ความแก่ ความตาย
    ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความ คับแค้นใจ และ
    #ย่อมหลุดพ้นได้จากทุกข์”
    ดังนี้แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/22/59.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/22/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๒๙/๕๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=985
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=985
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84
    ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ความแตกต่างระหว่าง-คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติ สัทธรรมลำดับที่ : 985 ชื่อบทธรรม :- ความแตกต่างระหว่าง-คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=985 เนื้อความทั้งหมด :- --ความแตกต่างระหว่าง-คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติพรหมจรรย์ --ภิกษุ ท. ! กายนี้เกิดมีขึ้นแล้ว แก่คนเขลา (พาล)​ http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=พาลสฺส ผู้ถูกอวิชชาใดห่อหุ้มแล้วด้วย ผู้พัวพันแล้วด้วยตัณหาใดด้วย, อวิชชานั้นแหละ ที่คนเขลายังละไม่ได้ และตัณหานั่นเทียว ก็ยังไม่หมดสิ้นไป. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? +--ภิกษุ ท. ! เพราะว่า คนพาลไม่ได้ประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบ. http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=พาโล+อจริ+พฺรหฺมจริยํ เพราะเหตุนั้น คนเขลา จึงเป็นผู้เข้าถึงกาย (อื่น) เพราะการแตกสลายแห่งกาย (นี้). คนเขลานั้น เมื่อเข้าถึงกายอยู่ เรากล่าวว่า “เขาไม่หลุดพ้นจากความเกิด ความแก่ ความตาย ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ และไม่หลุดพ้นจากทุกข์” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! กายนี้ เกิดมีขึ้นแล้ว แก่บัณฑิต http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=ปณฺฑิตสฺส ผู้ถูกอวิชชาใดห่อหุ้มแล้วด้วย ผู้พัวพันแล้วด้วยตัณหาใดด้วย, อวิชชานั้นแหละ อันบัณฑิตละได้แล้ว http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=อวิชฺชา และตัณหานั่นเทียว ก็หมดสิ้นไปแล้ว. http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=ตณฺหา ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? เพราะว่า บัณฑิตได้ประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบ. เพราะเหตุนั้น บัณฑิตจึงเป็นผู้ไม่เข้าถึงกาย (อื่น) เพราะการแตกสลายแห่งกาย (นี้). บัณฑิตนั้นเมื่อไม่เข้าถึงกายอยู่ เรากล่าวว่า “เขาย่อมหลุดพ้นได้จากความเกิด ความแก่ ความตาย ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความ คับแค้นใจ และ #ย่อมหลุดพ้นได้จากทุกข์” ดังนี้แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/22/59. http://etipitaka.com/read/thai/16/22/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๒๙/๕๙. http://etipitaka.com/read/pali/16/29/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=985 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=985 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84 ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ความแตกต่างระหว่าง
    -ความแตกต่างระหว่าง คนเขลาและบัณฑิตในการประพฤติพรหมจรรย์ ภิกษุ ท. ! กายนี้เกิดมีขึ้นแล้ว แก่คนเขลา ผู้ถูกอวิชชาใดห่อหุ้มแล้วด้วย ผู้พัวพันแล้วด้วยตัณหาใดด้วย, อวิชชานั้นแหละ ที่คนเขลายังละไม่ได้ และตัณหานั่นเทียว ก็ยังไม่หมดสิ้นไป. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? ภิกษุ ท. ! เพราะว่า คนเขลาไม่ได้ประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบ. เพราะเหตุนั้น คนเขลา จึงเป็นผู้เข้าถึงกาย (อื่น) เพราะการแตกสลายแห่งกาย (นี้). คนเขลานั้น เมื่อเข้าถึงกายอยู่ เรากล่าวว่า “เขาไม่หลุดพ้นจากความเกิด ความแก่ ความตาย ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ และไม่หลุดพ้นจากทุกข์” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! กายนี้ เกิดมีขึ้นแล้ว แก่บัณฑิต ผู้ถูกอวิชชาใดห่อหุ้มแล้วด้วย ผู้พัวพันแล้วด้วยตัณหาใดด้วย, อวิชชานั้นแหละ อันบัณฑิตละได้แล้ว และตัณหานั่นเทียว ก็หมดสิ้นไปแล้ว. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? เพราะว่า บัณฑิตได้ประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบ. เพราะเหตุนั้น บัณฑิตจึงเป็นผู้ไม่เข้าถึงกาย (อื่น) เพราะการแตกสลายแห่งกาย (นี้). บัณฑิตนั้นเมื่อไม่เข้าถึงกายอยู่ เรากล่าวว่า “เขาย่อมหลุดพ้นได้จากความเกิด ความแก่ ความตาย ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความ คับแค้นใจ และย่อมหลุดพ้นได้จากทุกข์” ดังนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 86 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าถึงเหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย
    สัทธรรมลำดับที่ : 617
    ชื่อบทธรรม :- เหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=617
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อุปธิ ทั้งหลาย(ท.) นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/474/?keywords=อุปธิ
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อวิชชา นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/475/?keywords=อวิชฺชา
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง สังขาร ท. นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/475/?keywords=สงฺขาร
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง วิญญาณ นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/476/?keywords=วิญฺญาณ
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง ผัสสะ นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/476/?keywords=ผสฺส
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง เวทนา ท. นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/477/?keywords=เวทนา
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง ตัณหา นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/477/?keywords=ตณฺหา
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อุปาทาน นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/478/?keywords=อุปาทาน
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อารัมภะ (ความเกาะเกี่ยว) ท. นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/478/?keywords=อาัมฺภ
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อาหาร ท. นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/479/?keywords=อาหาร
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อิญชิตะ (ความหวั่นไหว) ท. นั่นเอง
    http://etipitaka.com/read/pali/25/479/?keywords=อิญฺชิต
    ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี
    ....
    --นี้เป็นอนุปัสสนาหนึ่ง ๆ.-

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. 25/352-357/392-402.
    http://etipitaka.com/read/thai/25/352/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. ๒๕/๔๗๔-๔๗๙/๓๙๒-๔๐๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/25/474/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=617
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=617
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าถึงเหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย สัทธรรมลำดับที่ : 617 ชื่อบทธรรม :- เหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=617 เนื้อความทั้งหมด :- --เหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อุปธิ ทั้งหลาย(ท.) นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/474/?keywords=อุปธิ ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อวิชชา นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/475/?keywords=อวิชฺชา ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง สังขาร ท. นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/475/?keywords=สงฺขาร ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง วิญญาณ นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/476/?keywords=วิญฺญาณ ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง ผัสสะ นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/476/?keywords=ผสฺส ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง เวทนา ท. นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/477/?keywords=เวทนา ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง ตัณหา นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/477/?keywords=ตณฺหา ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อุปาทาน นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/478/?keywords=อุปาทาน ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อารัมภะ (ความเกาะเกี่ยว) ท. นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/478/?keywords=อาัมฺภ ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อาหาร ท. นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/479/?keywords=อาหาร ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อิญชิตะ (ความหวั่นไหว) ท. นั่นเอง http://etipitaka.com/read/pali/25/479/?keywords=อิญฺชิต ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... --นี้เป็นอนุปัสสนาหนึ่ง ๆ.- #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. 25/352-357/392-402. http://etipitaka.com/read/thai/25/352/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สุตฺต. ขุ. ๒๕/๔๗๔-๔๗๙/๓๙๒-๔๐๒. http://etipitaka.com/read/pali/25/474/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%99%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=617 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=617 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย
    -เหตุดับแห่งทุกข์ที่ตรัสไว้โดยอเนกปริยาย ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อุปธิ ท. นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อวิชชา นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง สังขาร ท. นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี.... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง วิญญาณ นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี.... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง ผัสสะ นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี.... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง เวทนา ท. นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี.... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง ตัณหา นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อุปาทาน นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อารัมภะ (ความเกาะเกี่ยว) ท. นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี .... ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อาหาร ท. นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี. ....เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่ง อิญชิตะ (ความหวั่นไหว) ท. นั่นเอง ความมีพร้อมแห่งทุกข์จึงไม่มี.... นี้เป็นอนุปัสสนาหนึ่ง ๆ.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 78 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าความเป็นทุกข์สามลักษณะเป็นธรรมดาของธรรมชาติในโลกธาตุ
    สัทธรรมลำดับที่ : 221
    ชื่อบทธรรม : -ความเป็นทุกข์สามลักษณะ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=221
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ความเป็นทุกข์สามลักษณะ
    --ภิกษุ ท. ! ความเป็นทุกข์ มีสามลักษณะเหล่านี้.
    สามลักษณะ เหล่าไหนเล่า ?
    สามลักษณะคือ :-
    +--๑. ความเป็นทุกข์ เพราะมีลักษณะทนได้ยาก,
    http://etipitaka.com/read/pali/19/85/?keywords=ทุกฺขทุกฺขตา
    +--๒. ความเป็นทุกข์ เพราะมีลักษณะเป็นของยึดติดมั่นและประกอบ(อุปทายรูป)
    เป็น​สิ่งอื่นพร้อมกันไปในตัว,
    http://etipitaka.com/read/pali/19/85/?keywords=สงฺขารทุกฺขตา
    +--๓. ความเป็นทุกข์ เพราะมีลักษณะแห่งความแปรปรวนเป็นไปต่าง ๆ.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/85/?keywords=วิปริณามทุกฺขตา

    --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ #ความเป็นทุกข์สามลักษณะ.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/83/319.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/83/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๘๕/๓๑๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/85/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม....
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=221
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=221
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าความเป็นทุกข์สามลักษณะเป็นธรรมดาของธรรมชาติในโลกธาตุ สัทธรรมลำดับที่ : 221 ชื่อบทธรรม : -ความเป็นทุกข์สามลักษณะ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=221 เนื้อความทั้งหมด :- --ความเป็นทุกข์สามลักษณะ --ภิกษุ ท. ! ความเป็นทุกข์ มีสามลักษณะเหล่านี้. สามลักษณะ เหล่าไหนเล่า ? สามลักษณะคือ :- +--๑. ความเป็นทุกข์ เพราะมีลักษณะทนได้ยาก, http://etipitaka.com/read/pali/19/85/?keywords=ทุกฺขทุกฺขตา +--๒. ความเป็นทุกข์ เพราะมีลักษณะเป็นของยึดติดมั่นและประกอบ(อุปทายรูป) เป็น​สิ่งอื่นพร้อมกันไปในตัว, http://etipitaka.com/read/pali/19/85/?keywords=สงฺขารทุกฺขตา +--๓. ความเป็นทุกข์ เพราะมีลักษณะแห่งความแปรปรวนเป็นไปต่าง ๆ. http://etipitaka.com/read/pali/19/85/?keywords=วิปริณามทุกฺขตา --ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ #ความเป็นทุกข์สามลักษณะ.- ​ #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/83/319. http://etipitaka.com/read/thai/19/83/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๘๕/๓๑๙. http://etipitaka.com/read/pali/19/85/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%91%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม.... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=221 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=221 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ความเป็นทุกข์สามลักษณะ
    -ความเป็นทุกข์สามลักษณะ ภิกษุ ท. ! ความเป็นทุกข์ มีสามลักษณะเหล่านี้. สามลักษณะ เหล่าไหนเล่า ? สามลักษณะคือ : ๑. ความเป็นทุกข์ เพราะมีลักษณะทนได้ยาก, ๒. ความเป็นทุกข์ เพราะมีลักษณะเป็นของปรุงแต่งและปรุงแต่งสิ่งอื่นพร้อมกันไปในตัว, ๓. ความเป็นทุกข์ เพราะมีลักษณะแห่งความแปรปรวนเป็นไปต่าง ๆ. ภิกษุ ท. ! เหล่านี้แล คือ ความเป็นทุกข์สามลักษณะ.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 75 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าการแสดงลักษณะแห่งความทุกข์ (ขันธ์มาร) เป็นทุกขธรรม คือ มีทุกข์เป็นธรรมดา
    สัทธรรมลำดับที่ : 220
    ชื่อบทธรรม : - ทรงแสดงลักษณะแห่งความทุกข์ (มาร)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=220
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ทรงแสดงลักษณะแห่งความทุกข์ (มาร)
    --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! คำว่า ‘ทุกข์ ๆ’ ดังนี้
    เป็นคำที่เขากล่าวกันอยู่.
    ทุกข์หรือการบัญญัติว่าทุกข์
    พึงมีได้ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไร พระเจ้าข้า ?”
    --สมิทธิ ! จักษุ รูป จักขุวิญญาณ (ตา​ รูปภาพ​ วิญญาณทางตา)​
    ธรรมที่พึงรู้แจ้งด้วยจักขุวิญญาณมีอยู่ในที่ใด,
    ทุกข์ หรือการบัญญัติว่าทุกข์ ย่อมมีอยู่ในที่นั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/47/?keywords=จกฺขุ+มารปญฺญตฺติ

    (ในกรณีแห่ง โสตะ(หู)​ ฆานะ(จมูก)​ ชิวหา(ลิ้น)​ กายะ(ผิวกาย)​ และ มนะ(ใจ)​
    ก็ได้ตรัสไว้โดยข้อความมีลักษณะอย่างเดียวกันกับกรณีแห่งจักษุนี้
    ).-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/37/72.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/37/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๔๗/๗๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/47/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=220
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=220
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าการแสดงลักษณะแห่งความทุกข์ (ขันธ์มาร) เป็นทุกขธรรม คือ มีทุกข์เป็นธรรมดา สัทธรรมลำดับที่ : 220 ชื่อบทธรรม : - ทรงแสดงลักษณะแห่งความทุกข์ (มาร) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=220 เนื้อความทั้งหมด :- --ทรงแสดงลักษณะแห่งความทุกข์ (มาร) --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! คำว่า ‘ทุกข์ ๆ’ ดังนี้ เป็นคำที่เขากล่าวกันอยู่. ทุกข์หรือการบัญญัติว่าทุกข์ พึงมีได้ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไร พระเจ้าข้า ?” --สมิทธิ ! จักษุ รูป จักขุวิญญาณ (ตา​ รูปภาพ​ วิญญาณทางตา)​ ธรรมที่พึงรู้แจ้งด้วยจักขุวิญญาณมีอยู่ในที่ใด, ทุกข์ หรือการบัญญัติว่าทุกข์ ย่อมมีอยู่ในที่นั้น. http://etipitaka.com/read/pali/18/47/?keywords=จกฺขุ+มารปญฺญตฺติ (ในกรณีแห่ง โสตะ(หู)​ ฆานะ(จมูก)​ ชิวหา(ลิ้น)​ กายะ(ผิวกาย)​ และ มนะ(ใจ)​ ก็ได้ตรัสไว้โดยข้อความมีลักษณะอย่างเดียวกันกับกรณีแห่งจักษุนี้ ).- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/37/72. http://etipitaka.com/read/thai/18/37/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๔๗/๗๒. http://etipitaka.com/read/pali/18/47/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=220 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=220 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ทรงแสดงลักษณะแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง)
    -(ในสูตรอื่น (๑๗/๒๔๐/๓๘๒) ได้ตรัสเรียกสิ่งที่เรียกว่าทุกข์ ว่า ทุกขธรรม คือ มีทุกข์เป็นธรรมดา). ทรงแสดงลักษณะแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) “ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! คำว่า ‘ทุกข์ ๆ’ ดังนี้ เป็นคำที่เขากล่าวกันอยู่. ทุกข์หรือการบัญญัติว่าทุกข์ พึงมีได้ด้วยเหตุมีประมาณเท่าไร พระเจ้าข้า ?” สมิทธิ ! จักษุ รูป จักขุวิญญาณ ธรรมที่พึงรู้แจ้งด้วยจักขุวิญญาณมีอยู่ในที่ใด, ทุกข์ หรือการบัญญัติว่าทุกข์ ย่อมมีอยู่ในที่นั้น. (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และ มนะ ก็ได้ตรัสไว้โดยข้อความมีลักษณะอย่างเดียวกันกับกรณีแห่งจักษุนี้).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 94 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​มรรคมีองค์แปดให้ผลอย่างเครื่องจักร
    สัทธรรมลำดับที่ : 984
    ชื่อบทธรรม :- มรรคมีองค์แปดรวมอยู่ในพรหมจรรย์ตลอดสาย
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=984
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมัคคพรหมจรรย์ ให้ผลอย่างเครื่องจักร
    --ภูมิชะ ! ชนเหล่าใดเหล่าหนึ่ง จะเป็นสมณะหรือพราหมณ์ก็ตาม เป็นผู้ที่
    มีความเห็นถูกต้อง มีความมุ่งหมายถูกต้อง (ปัญญา)​
    มีการพูดจาถูกต้อง มีการทำงานถูกต้อง มีการดำรงชีพถูกต้อง (ศีล)​
    มีความพยายามถูกต้อง มีความระลึกถูกต้อง มีความตั้งจิตมั่นไว้อย่างถูกต้อง; (สมาธิ)​
    ชนเหล่านั้น ถ้าแม้ประพฤติพรหมจรรย์ โดยหวังผล ก็ต้องได้รับผล;
    http://etipitaka.com/read/pali/14/280/?keywords=พฺรหฺมจริยํ

    ถ้าแม้ประพฤติพรหมจรรย์ โดยไม่หวังผล ก็ต้องได้รับผล;
    ถ้าแม้ประพฤติพรหมจรรย์ ทั้งโดยหวังผลและไม่หวังผล ก็ต้องได้รับผล ;
    ถ้าแม้ประพฤติพรหมจรรย์ โดยหวังผลก็มิใช่ ไม่หวังผลก็มิใช่ ก็ยังต้องได้รับผล.
    ข้อนั้นเพราะเหตุไร ?
    เพราะเหตุแห่งการได้รับผลนั้น เป็นสิ่งที่เขาทั้งหลายเหล่านั้น
    ได้ทำแล้วโดยรากเหง้า (โยนิโส).
    http://etipitaka.com/read/pali/14/280/?keywords=โยนิโส

    --ภูมิชะ ! เช่นเดียวกับบุรุษผู้ต้องการน้ำมัน เสาะหาน้ำมัน เที่ยวแสวงหาน้ำมัน อยู่,
    เขาเกลี่ยเยื่อเมล็ดงาลงในราง ประพรมด้วยน้ำแล้วคั้นเรื่อยไป ;
    แม้บุรุษนั้น ทำความหวัง....
    ทำความไม่หวัง....
    ทั้งทำความหวังและความไม่หวัง....
    ทั้งทำความหวังก็หามิได้ ความไม่หวังก็หามิได้ ก็ตาม,
    เมื่อเขาเกลี่ยเยื่อเมล็ดงาลงในราง ประพรมด้วยน้ำ
    แล้วคั้นอยู่เรื่อยไป บุรุษนั้นก็ต้องได้น้ำมันอยู่เอง.
    ข้อนี้เพราะเหตุไร ?
    เพราะเหตุแห่งการได้น้ำมันนั้น เป็นสิ่งที่บุรุษนั้นได้ทำแล้ว
    โดยลึกซึ้งแยบคาย ฉันใดก็ฉันนั้น.

    (ทรงให้อุปมาทำนองนี้อีกสามข้อ คือ
    บุรุษผู้ ต้องการน้ำนม รีดน้ำนมจากนมแม่โคลูกอ่อน,
    บุรุษผู้ ต้องการเนย ปั่นเนยจากนมที่หมักเป็นเยื่อแล้ว,
    บุรุษที่ ต้องการไฟ สีไฟจากไม้แห้ง, ก็ย่อมได้ผลตามที่ตนต้องการ.
    แม้จะทำความหวังหรือความไม่หวังก็ตาม ผลนั้น ๆ ก็ย่อมมีให้เอง
    เพราะได้มีการกระทำที่ถูกต้องลงไปแล้ว).-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. 14/219/414.
    http://etipitaka.com/read/thai/14/219/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%91%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. ๑๔/๒๗๙/๔๑๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/14/279/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%91%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=984
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=984
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84
    ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ว่า​มรรคมีองค์แปดให้ผลอย่างเครื่องจักร สัทธรรมลำดับที่ : 984 ชื่อบทธรรม :- มรรคมีองค์แปดรวมอยู่ในพรหมจรรย์ตลอดสาย https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=984 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมัคคพรหมจรรย์ ให้ผลอย่างเครื่องจักร --ภูมิชะ ! ชนเหล่าใดเหล่าหนึ่ง จะเป็นสมณะหรือพราหมณ์ก็ตาม เป็นผู้ที่ มีความเห็นถูกต้อง มีความมุ่งหมายถูกต้อง (ปัญญา)​ มีการพูดจาถูกต้อง มีการทำงานถูกต้อง มีการดำรงชีพถูกต้อง (ศีล)​ มีความพยายามถูกต้อง มีความระลึกถูกต้อง มีความตั้งจิตมั่นไว้อย่างถูกต้อง; (สมาธิ)​ ชนเหล่านั้น ถ้าแม้ประพฤติพรหมจรรย์ โดยหวังผล ก็ต้องได้รับผล; http://etipitaka.com/read/pali/14/280/?keywords=พฺรหฺมจริยํ ถ้าแม้ประพฤติพรหมจรรย์ โดยไม่หวังผล ก็ต้องได้รับผล; ถ้าแม้ประพฤติพรหมจรรย์ ทั้งโดยหวังผลและไม่หวังผล ก็ต้องได้รับผล ; ถ้าแม้ประพฤติพรหมจรรย์ โดยหวังผลก็มิใช่ ไม่หวังผลก็มิใช่ ก็ยังต้องได้รับผล. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? เพราะเหตุแห่งการได้รับผลนั้น เป็นสิ่งที่เขาทั้งหลายเหล่านั้น ได้ทำแล้วโดยรากเหง้า (โยนิโส). http://etipitaka.com/read/pali/14/280/?keywords=โยนิโส --ภูมิชะ ! เช่นเดียวกับบุรุษผู้ต้องการน้ำมัน เสาะหาน้ำมัน เที่ยวแสวงหาน้ำมัน อยู่, เขาเกลี่ยเยื่อเมล็ดงาลงในราง ประพรมด้วยน้ำแล้วคั้นเรื่อยไป ; แม้บุรุษนั้น ทำความหวัง.... ทำความไม่หวัง.... ทั้งทำความหวังและความไม่หวัง.... ทั้งทำความหวังก็หามิได้ ความไม่หวังก็หามิได้ ก็ตาม, เมื่อเขาเกลี่ยเยื่อเมล็ดงาลงในราง ประพรมด้วยน้ำ แล้วคั้นอยู่เรื่อยไป บุรุษนั้นก็ต้องได้น้ำมันอยู่เอง. ข้อนี้เพราะเหตุไร ? เพราะเหตุแห่งการได้น้ำมันนั้น เป็นสิ่งที่บุรุษนั้นได้ทำแล้ว โดยลึกซึ้งแยบคาย ฉันใดก็ฉันนั้น. (ทรงให้อุปมาทำนองนี้อีกสามข้อ คือ บุรุษผู้ ต้องการน้ำนม รีดน้ำนมจากนมแม่โคลูกอ่อน, บุรุษผู้ ต้องการเนย ปั่นเนยจากนมที่หมักเป็นเยื่อแล้ว, บุรุษที่ ต้องการไฟ สีไฟจากไม้แห้ง, ก็ย่อมได้ผลตามที่ตนต้องการ. แม้จะทำความหวังหรือความไม่หวังก็ตาม ผลนั้น ๆ ก็ย่อมมีให้เอง เพราะได้มีการกระทำที่ถูกต้องลงไปแล้ว).- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. 14/219/414. http://etipitaka.com/read/thai/14/219/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%91%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - อุปริ. ม. ๑๔/๒๗๙/๔๑๔. http://etipitaka.com/read/pali/14/279/?keywords=%E0%B9%94%E0%B9%91%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=984 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=984 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84 ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - มรรคมีองค์แปดรวมอยู่ในพรหมจรรย์ตลอดสาย
    -(ผู้รวบรวมหนังสือเล่มนี้ ชี้ให้ผู้ศึกษาเห็นว่า :-) มรรคมีองค์แปดรวมอยู่ในพรหมจรรย์ตลอดสาย ๑. สัมมาทิฏฐิ คือกุลบุตรฟังธรรม จนเกิดสัมมาทิฏฐิในอาสวักขยกรรมทั้งหลาย. (ดูรายละเอียดที่หัวข้อว่า “ประมวลพรหมจรรย์ตลอดสาย” ที่ภาคผนวกท้ายเล่ม ที่หน้า ๑๕๔๐ บรรทัดที่ ๑๓ เป็นต้นไป). ๒. สัมมาสังกัปโป คือกุลบุตรอยากบวช แล้วออกบวช. (ดูรายละเอียดที่หัวข้อว่า “ประมวลพรหมจรรย์ตลอดสาย” ที่ภาคผนวกท้ายเล่ม ที่หน้า ๑๕๔๐ บรรทัดที่ ๑๔ เป็นต้นไป). ๓. สัมมาวาจา คือกุลบุตรมีการพูดซึ่งเว้นจากวจีทุจริตและเดรัจฉานกถาทั้งหลาย. (ดูรายละเอียดที่หัวข้อว่า “ประมวลพรหมจรรย์ตลอดสาย” ที่ภาคผนวกท้ายเล่ม ที่หน้า ๑๕๔๑ บรรทัดที่ ๑๗ เป็นต้นไป). ๔. สัมมากัมมันโต คือกุลบุตรเว้นจากกรรมอันเป็นอกุศล. (ดูรายละเอียดที่หัวข้อว่า “ประมวลพรหมจรรย์ตลอดสาย” ที่ภาคผนวกท้ายเล่ม ที่หน้า ๑๕๔๑ บรรทัดที่ ๑๐ เป็นต้นไป). ๕. สัมมาอาชีโว คือกุลบุตรเว้นจากการหาเลี้ยงชีพด้วยเดรัจฉานวิชา และมีสันโดษเป็นต้น. (ดูรายละเอียดที่หัวข้อว่า “ประมวลพรหมจรรย์ตลอดสาย” ที่ภาคผนวก ท้ายเล่ม ที่หน้า ๑๕๔๒ บรรทัดที่ ๑๑ เป็นต้นไป). ๖. สัมมาวายาโม คือกุลบุตรทำความเพียรอยู่ในที่ทุกสถานทั้งหลับและตื่น ตามหลักแห่งการทำความเพียรทั่วไป. (ดูรายละเอียดที่หัวข้อว่า “ประมวลพรหมจรรย์ตลอดสาย” ที่ภาคผนวกท้ายเล่ม ที่หน้า ๑๕๕๓ บรรทัดที่ ๕ เป็นต้นไป). ๗. สัมมาสติ คือกุลบุตรมีสติสัมปชัญญะ. (ดูรายละเอียดที่หัวข้อว่า “ประมวลพรหมจรรย์ตลอดสาย” ที่ภาคผนวกท้ายเล่ม ที่หน้า ๑๕๕๑ บรรทัดที่ ๑๑ เป็นต้นไป). ๘. สัมมาสมาธิ คือกุลบุตรตั้งต้นเจริญสมาธิและได้รูปฌาณสี่. (ดูรายละเอียดที่หัวข้อว่า “ประมวลพรหมจรรย์ตลอดสาย” ที่ภาคผนวกท้ายเล่ม ที่หน้า ๑๕๕๓ บรรทัดที่ ๕ เป็นต้นไป ). อัฏฐังคิกมัคคพรหมจรรย์ ให้ผลอย่างเครื่องจักร ภูมิชะ ! ชนเหล่าใดเหล่าหนึ่ง จะเป็นสมณะหรือพราหมณ์ก็ตาม เป็นผู้ที่ มีความเห็นถูกต้อง มีความมุ่งหมายถูกต้อง มีการพูดจาถูกต้อง มีการทำงานถูกต้อง มีการดำรงชีพถูกต้อง มีความพยายามถูกต้อง มีความระลึกถูกต้อง มีความตั้งจิตมั่นไว้อย่างถูกต้อง; ชนเหล่านั้น ถ้าแม้ประพฤติพรหมจรรย์ โดยหวังผล ก็ต้องได้รับผล; ถ้าแม้ประพฤติพรหมจรรย์ โดยไม่หวังผล ก็ ต้องได้รับผล; ถ้าแม้ประพฤติพรหมจรรย์ ทั้งโดยหวังผลและไม่หวังผล ก็ต้องได้รับผล ; ถ้าแม้ประพฤติพรหมจรรย์ โดยหวังผลก็มิใช่ ไม่หวังผลก็มิใช่ ก็ยังต้องได้รับผล. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? เพราะเหตุแห่งการได้รับผลนั้น เป็นสิ่งที่เขาทั้งหลายเหล่านั้น ได้ทำแล้วโดยรากเหง้า (โยนิโส). ภูมิชะ ! เช่นเดียวกับบุรุษผู้ต้องการน้ำมัน เสาะหาน้ำมัน เที่ยวแสวงหาน้ำมัน อยู่, เขาเกลี่ยเยื่อเมล็ดงาลงในราง ประพรมด้วยน้ำแล้วคั้นเรื่อยไป ; แม้บุรุษนั้น ทำความหวัง.... ทำความไม่หวัง.... ทั้งทำความหวังและความไม่หวัง.... ทั้งทำความหวังก็หามิได้ ความไม่หวังก็หามิได้ ก็ตาม, เมื่อเขาเกลี่ยเยื่อเมล็ดงาลงในราง ประพรมด้วยน้ำ แล้วคั้นอยู่เรื่อยไป บุรุษนั้นก็ต้องได้น้ำมันอยู่เอง. ข้อนี้เพราะเหตุไร ? เพราะเหตุแห่งการได้น้ำมันนั้น เป็นสิ่งที่บุรุษนั้นได้ทำแล้ว โดยลึกซึ้งแยบคาย ฉันใดก็ฉันนั้น. (ทรงให้อุปมาทำนองนี้อีกสามข้อ คือ บุรุษผู้ ต้องการน้ำนม รีดน้ำนมจากนมแม่โคลูกอ่อน, บุรุษผู้ ต้องการเนย ปั่นเนยจากนมที่หมักเป็นเยื่อแล้ว, บุรุษที่ ต้องการไฟ สีไฟจากไม้แห้ง, ก็ย่อมได้ผลตามที่ตนต้องการ. แม้จะทำความหวังหรือความไม่หวังก็ตาม ผลนั้น ๆ ก็ย่อมมีให้เอง เพราะได้มีการกระทำที่ถูกต้องลงไปแล้ว).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 117 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 616
    ชื่อบทธรรม : -อาการดับแห่งความทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=616
    --อาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง)
    (พระผู้มีพระภาคเมื่อประทับอยู่ในที่หลีกเร้นแห่งหนึ่ง ได้ทรงกล่าวธรรมปริยายนี้ตามลำพังพระองค์ ว่า:-
    )​
    เพราะอาศัยซึ่ง จักษุ ด้วย ซึ่ง รูป ด้วย จึงเกิด จักขุวิญญาณ ;
    การประกอบพร้อมแห่งธรรมสามประการ (ตา+รูป+จักขุวิญญาณ) นั่นคือ ผัสสะ ;
    เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมี เวทนา ;
    เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมี ตัณหา;.
    เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งตัณหา นั้นนั่นแล จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล,
    ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น.
    ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้.

    (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และ มนะ
    ก็ได้ตรัสต่อไปอีก ซึ่งมีข้อความอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง จักษุ
    ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น
    ).

    --โดยสมัยนั้นแล ภิกษุองค์หนึ่ง ได้ยืนแอบฟังพระผู้มีพระภาคอยู่.
    พระผู้มีพระภาคทอดพระเนตรเห็นภิกษุนั้นแล้ว
    ได้ทรงกล่าวกะภิกษุนั้นว่า :-
    --ภิกษุ ! เธอได้ยินธรรมปริยายนี้แล้วมิใช่หรือ ?
    --ภิกษุ ! เธอจงรับเอาธรรมปริยายนี้ไป ;
    เธอจงเล่าเรียนธรรมปริยายนี้ ;
    เธอจงทรงไว้ซึ่งธรรมปริยายนี้.
    --ภิกษุ ! ธรรมปริยายนี้ #ประกอบด้วยประโยชน์เป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ แล.-
    http://etipitaka.com/read/pali/18/113/?keywords=อาทิพฺรหฺมจริยโกติ

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/94/164.
    http://etipitaka.com/read/thai/18/94/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๑๒/๑๖๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/18/112/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=616 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=616
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 616 ชื่อบทธรรม : -อาการดับแห่งความทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=616 --อาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง) (พระผู้มีพระภาคเมื่อประทับอยู่ในที่หลีกเร้นแห่งหนึ่ง ได้ทรงกล่าวธรรมปริยายนี้ตามลำพังพระองค์ ว่า:- )​ เพราะอาศัยซึ่ง จักษุ ด้วย ซึ่ง รูป ด้วย จึงเกิด จักขุวิญญาณ ; การประกอบพร้อมแห่งธรรมสามประการ (ตา+รูป+จักขุวิญญาณ) นั่นคือ ผัสสะ ; เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมี เวทนา ; เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมี ตัณหา;. เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งตัณหา นั้นนั่นแล จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น. ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และ มนะ ก็ได้ตรัสต่อไปอีก ซึ่งมีข้อความอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง จักษุ ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น ). --โดยสมัยนั้นแล ภิกษุองค์หนึ่ง ได้ยืนแอบฟังพระผู้มีพระภาคอยู่. พระผู้มีพระภาคทอดพระเนตรเห็นภิกษุนั้นแล้ว ได้ทรงกล่าวกะภิกษุนั้นว่า :- --ภิกษุ ! เธอได้ยินธรรมปริยายนี้แล้วมิใช่หรือ ? --ภิกษุ ! เธอจงรับเอาธรรมปริยายนี้ไป ; เธอจงเล่าเรียนธรรมปริยายนี้ ; เธอจงทรงไว้ซึ่งธรรมปริยายนี้. --ภิกษุ ! ธรรมปริยายนี้ #ประกอบด้วยประโยชน์เป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ แล.- http://etipitaka.com/read/pali/18/113/?keywords=อาทิพฺรหฺมจริยโกติ #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. 18/94/164. http://etipitaka.com/read/thai/18/94/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - สฬา. สํ. ๑๘/๑๑๒/๑๖๔. http://etipitaka.com/read/pali/18/112/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=616 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=616 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อาการดับแห่งความทุกข์
    -อาการดับแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) (พระผู้มีพระภาคเมื่อประทับอยู่ในที่หลีกเร้นแห่งหนึ่ง ได้ทรงกล่าวธรรมปริยายนี้ตามลำพังพระองค์ ว่า :-) เพราะอาศัยซึ่ง จักษุ ด้วย ซึ่ง รูป ด้วย จึงเกิด จักขุวิญญาณ ; การประจวบพร้อมแห่งธรรมสามประการ (ตา+รูป+จักขุวิญญาณ) นั่นคือ ผัสสะ ; เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมี เวทนา ; เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมี ตัณหา. เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งตัณหา นั้นนั่นแล จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น. ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้. (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และ มนะ ก็ได้ตรัสต่อไปอีก ซึ่งมีข้อความอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งจักษุ ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่ชื่อเท่านั้น). โดยสมัยนั้นแล ภิกษุองค์หนึ่ง ได้ยืนแอบฟังพระผู้มีพระภาคอยู่. พระผู้มีพระภาคทอดพระเนตรเห็นภิกษุนั้นแล้ว ได้ทรงกล่าวกะภิกษุนั้นว่า : ภิกษุ ! เธอได้ยินธรรมปริยายนี้แล้วมิใช่หรือ ? .... ภิกษุ ! เธอจงรับเอาธรรมปริยายนี้ไป ; เธอจงเล่าเรียนธรรมปริยายนี้ ; เธอจงทรงไว้ซึ่งธรรมปริยายนี้. ภิกษุ ! ธรรมปริยายนี้ ประกอบด้วยประโยชน์เป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 128 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าปัญจุปาทานขันธ์ เป็นทุกขอริยสัจ
    สัทธรรมลำดับที่ : 217
    ชื่อบทธรรม :- ปัญจุปาทานขันธ์ เป็นทุกขอริยสัจ
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=217
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ปัญจุปาทานขันธ์ เป็นทุกขอริยสัจ
    --ภิกษุ ท. ! อริยสัจคือทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    ควรจะกล่าวว่าได้แก่ อุปาทานขันธ์ห้า.
    อุปาทานขันธ์ห้า อย่างไรเล่า ?
    อุปาทานขันธ์ห้าคือ
    รูปูปาทานขันธ์
    เวทนูปาทานขันธ์
    สัญญูปาทานขันธ์
    สังขารูปาทานขันธ์
    วิญญาญูปาทานขันธ์.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อริยสัจคือทุกข์.-

    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/422/1679.
    http://etipitaka.com/read/thai/19/422/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%97%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๓๔/๑๖๗๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/19/534/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%97%E0%B9%99
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=217
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=217

    สัทธรรมลำดับที่ : 218
    ชื่อบทธรรม : -ปัญจุปาทานักขันธ์ เป็นทุกข์
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ปัญจุปาทานักขันธ์ เป็นทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! ทุกข์เป็นอย่างไรเล่า ?
    ภิกษุ ท. ! ปัญจุปาทานักขันธ์ นั้นแหละ เรากล่าวว่า เป็นทุกข์.
    อุปาทานขันธ์ทั้งห้าเหล่าไหนเล่า ?
    ห้าคือ
    อุปาทานขันธ์คือ รูป,
    อุปาทานขันธ์คือ เวทนา,
    อุปาทานขันธ์คือสัญญา,
    อุปาทานขันธ์คือ สังขาร, และ
    อุปาทานขันธ์คือ วิญญาณ .
    +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เรียกว่า #ทุกข์.-

    อ้างอิงไทสสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/150/280.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/150/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๓/๒๘๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/193/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=218
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=218

    สัทธรรมลำดับที่ : 219
    ชื่อบทธรรม : -ทรงแสดงลักษณะความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง)
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ทรงแสดงลักษณะความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง)
    --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! คำว่า ‘ทุกข์ ๆ’ ดังนี้
    เป็นคำที่เขากล่าวกันอยู่ ทุกข์นั้นเป็น อย่างไร พระเจ้าข้า ?”
    --ราธะ !
    รูป แล เป็นทุกข์,
    เวทนา เป็นทุกข์,
    สัญญา เป็นทุกข์,
    สังขาร ท. เป็นทุกข์,
    วิญญาณ เป็นทุกข์.
    --ราธะ ! อริยสาวกผู้ได้สดับ เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่าย
    แม้ในรูป แม้ในเวทนา แม้ในสัญญา แม้ในสังขารท้งหลาย แม้ในวิญญาณ.-​

    #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/198/381.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/198/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%98%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๔๐/๓๘๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/240/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%98%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=219
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=219
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง....
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าปัญจุปาทานขันธ์ เป็นทุกขอริยสัจ สัทธรรมลำดับที่ : 217 ชื่อบทธรรม :- ปัญจุปาทานขันธ์ เป็นทุกขอริยสัจ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=217 เนื้อความทั้งหมด :- --ปัญจุปาทานขันธ์ เป็นทุกขอริยสัจ --ภิกษุ ท. ! อริยสัจคือทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ควรจะกล่าวว่าได้แก่ อุปาทานขันธ์ห้า. อุปาทานขันธ์ห้า อย่างไรเล่า ? อุปาทานขันธ์ห้าคือ รูปูปาทานขันธ์ เวทนูปาทานขันธ์ สัญญูปาทานขันธ์ สังขารูปาทานขันธ์ วิญญาญูปาทานขันธ์. +--ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า #อริยสัจคือทุกข์.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. 19/422/1679. http://etipitaka.com/read/thai/19/422/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%97%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๓๔/๑๖๗๙. http://etipitaka.com/read/pali/19/534/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%96%E0%B9%97%E0%B9%99 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=217 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=217 สัทธรรมลำดับที่ : 218 ชื่อบทธรรม : -ปัญจุปาทานักขันธ์ เป็นทุกข์ เนื้อความทั้งหมด :- --ปัญจุปาทานักขันธ์ เป็นทุกข์ --ภิกษุ ท. ! ทุกข์เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ปัญจุปาทานักขันธ์ นั้นแหละ เรากล่าวว่า เป็นทุกข์. อุปาทานขันธ์ทั้งห้าเหล่าไหนเล่า ? ห้าคือ อุปาทานขันธ์คือ รูป, อุปาทานขันธ์คือ เวทนา, อุปาทานขันธ์คือสัญญา, อุปาทานขันธ์คือ สังขาร, และ อุปาทานขันธ์คือ วิญญาณ . +--ภิกษุ ท. ! นี้แล เรียกว่า #ทุกข์.- อ้างอิงไทสสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/150/280. http://etipitaka.com/read/thai/17/150/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๓/๒๘๐. http://etipitaka.com/read/pali/17/193/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%98%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=218 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=218 สัทธรรมลำดับที่ : 219 ชื่อบทธรรม : -ทรงแสดงลักษณะความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) เนื้อความทั้งหมด :- --ทรงแสดงลักษณะความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) --“ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ! คำว่า ‘ทุกข์ ๆ’ ดังนี้ เป็นคำที่เขากล่าวกันอยู่ ทุกข์นั้นเป็น อย่างไร พระเจ้าข้า ?” --ราธะ ! รูป แล เป็นทุกข์, เวทนา เป็นทุกข์, สัญญา เป็นทุกข์, สังขาร ท. เป็นทุกข์, วิญญาณ เป็นทุกข์. --ราธะ ! อริยสาวกผู้ได้สดับ เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่าย แม้ในรูป แม้ในเวทนา แม้ในสัญญา แม้ในสังขารท้งหลาย แม้ในวิญญาณ.-​ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/198/381. http://etipitaka.com/read/thai/17/198/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%98%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๔๐/๓๘๑. http://etipitaka.com/read/pali/17/240/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%98%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=219 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=219 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง.... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ปัญจุปาทานขันธ์ เป็นทุกขอริยสัจ
    -ปัญจุปาทานขันธ์ เป็นทุกขอริยสัจ ภิกษุ ท. ! อริยสัจคือทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ควรจะกล่าวว่าได้แก่ อุปาทานขันธ์ห้า. อุปาทานขันธ์ห้า อย่างไรเล่า ? อุปาทานขันธ์ห้าคือ รูปูปาทานขันธ์ เวทนูปาทานขันธ์ สัญญูปาทานขันธ์ สังขารูปาทานขันธ์ วิญญาญูปาทานขันธ์. ภิกษุ ท. ! นี้เราเรียกว่า อริยสัจคือทุกข์.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 140 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาหลักการที่ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 216
    ชื่อบทธรรม : - ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=216
    เนื้อความทั้งหมด :-
    ---หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า
    “พึงรู้จักทุกข์,
    พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์,
    พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์,
    พึงรู้จักผลของทุกข์,
    พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์,
    และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์”
    ดังนี้นั้น, ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง
    ความเกิด เป็นทุกข์,
    ความแก่ เป็นทุกข์,
    ความเจ็บไข้ เป็นทุกข์,
    ความตาย เป็นทุกข์,
    ความโศก ความร่ำไรร่ำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ เป็นทุกข์,
    ความปรารถนาอย่างใดแล้ว ไม่ได้อย่างนั้น เป็นทุกข์ ;
    กล่าวโดยสรุปแล้ว ปัญจุปาทานขันธ์เป็นทุกข์.
    --ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ตัณหา #เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์.

    --ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ทุกข์ที่มีประมาณยิ่ง มีอยู่,
    ที่มีประมาณเล็กน้อย มีอยู่,
    ที่คลายช้า มีอยู่,
    และที่คลายเร็ว มีอยู่.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ความเป็นต่างกันของทุกข์.

    --ภิกษุ ท. ! ผลของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    -ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในโลกนี้
    ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว
    มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว
    ย่อมโศกเศร้า ย่อมระทมใจ คร่ำครวญ ตีอกร่ำไห้ ย่อมถึงความหลงใหล ;
    หรือว่า ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว
    มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมถึงการแสวงหาที่พึ่งภายนอก ว่า
    “ใครหนอย่อมรู้วิธี เพื่อความดับไม่เหลือของทุกข์นี้ สักวิธีหนึ่ง หรือสองวิธี”
    ดังนี้.
    --ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า ความทุกข์มีความหลงใหลเป็นผล หรือมิฉะนั้น
    ก็มีการแสวงหาที่พึ่ง ภายนอกเป็นผล.
    --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ผลของทุกข์.

    --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ มีได้ เพราะความดับไม่เหลือของตัณหา.
    --ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง #เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์, ได้แก่
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
    การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
    ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.

    --ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า
    “พึงรู้จักทุกข์,
    พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์,
    พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์,
    พึงรู้จักผลของทุกข์,
    พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และ
    พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือ ของทุกข์” ดังนี้นั้น,
    เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้ แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/369-370/334.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/369/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๔-๕/๓๓๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/465/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=216
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=216
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาหลักการที่ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 216 ชื่อบทธรรม : - ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=216 เนื้อความทั้งหมด :- ---หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับทุกข์ --ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทุกข์, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์, พึงรู้จักผลของทุกข์, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์” ดังนี้นั้น, ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง ความเกิด เป็นทุกข์, ความแก่ เป็นทุกข์, ความเจ็บไข้ เป็นทุกข์, ความตาย เป็นทุกข์, ความโศก ความร่ำไรร่ำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ เป็นทุกข์, ความปรารถนาอย่างใดแล้ว ไม่ได้อย่างนั้น เป็นทุกข์ ; กล่าวโดยสรุปแล้ว ปัญจุปาทานขันธ์เป็นทุกข์. --ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ตัณหา #เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์. --ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ทุกข์ที่มีประมาณยิ่ง มีอยู่, ที่มีประมาณเล็กน้อย มีอยู่, ที่คลายช้า มีอยู่, และที่คลายเร็ว มีอยู่. --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ความเป็นต่างกันของทุกข์. --ภิกษุ ท. ! ผลของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? -ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในโลกนี้ ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมโศกเศร้า ย่อมระทมใจ คร่ำครวญ ตีอกร่ำไห้ ย่อมถึงความหลงใหล ; หรือว่า ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมถึงการแสวงหาที่พึ่งภายนอก ว่า “ใครหนอย่อมรู้วิธี เพื่อความดับไม่เหลือของทุกข์นี้ สักวิธีหนึ่ง หรือสองวิธี” ดังนี้. --ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า ความทุกข์มีความหลงใหลเป็นผล หรือมิฉะนั้น ก็มีการแสวงหาที่พึ่ง ภายนอกเป็นผล. --ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า #ผลของทุกข์. --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ มีได้ เพราะความดับไม่เหลือของตัณหา. --ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง #เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ. --ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทุกข์, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์, พึงรู้จักผลของทุกข์, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และ พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือ ของทุกข์” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/369-370/334. http://etipitaka.com/read/thai/22/369/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๔-๕/๓๓๔. http://etipitaka.com/read/pali/22/465/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=216 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=216 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิทเทศ ๒
    -นิทเทศ ๒ ว่าด้วยทุกข์สรุปในปัญจุปาทานักขันธ์ จบ นิทเทศ ๓ ว่าด้วยหลักเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับความทุกข์ (มี ๑๘ เรื่อง) หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับทุกข์ ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทุกข์, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์, พึงรู้จักผลของทุกข์, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์” ดังนี้นั้น, ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง ความเกิด เป็นทุกข์, ความแก่ เป็นทุกข์, ความเจ็บไข้ เป็นทุกข์, ความตาย เป็นทุกข์, ความโศก ความร่ำไรร่ำพัน ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ เป็นทุกข์, ความปรารถนาอย่างใดแล้ว ไม่ได้อย่างนั้น เป็นทุกข์ ; กล่าวโดยสรุปแล้ว ปัญจุปาทานขันธ์ เป็นทุกข์. ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ตัณหา เป็นเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์. ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ทุกข์ที่มีประมาณยิ่ง มีอยู่, ที่มีประมาณเล็กน้อย มีอยู่, ที่คลายช้า มีอยู่, และที่คลายเร็ว มีอยู่. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า ความเป็นต่างกันของทุกข์. ภิกษุ ท. ! ผลของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในโลกนี้ ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมโศกเศร้า ย่อมระทมใจ คร่ำครวญ ตีอกร่ำไห้ ย่อมถึงความหลงใหล ; หรือว่า ถูกความทุกข์ชนิดใดครอบงำแล้ว มีจิตอันความทุกข์รวบรัดแล้ว ย่อมถึงการแสวงหาที่พึ่งภายนอก ว่า “ใครหนอย่อมรู้วิธี เพื่อความดับไม่เหลือของทุกข์นี้ สักวิธีหนึ่ง หรือสองวิธี” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! เรากล่าวว่า ความทุกข์มีความหลงใหลเป็นผล หรือมิฉะนั้น ก็มีการแสวงหาที่พึ่ง ภายนอกเป็นผล. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกว่า ผลของทุกข์. ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของทุกข์ มีได้ เพราะความดับไม่เหลือของตัณหา. ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ. .... ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักทุกข์, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของทุกข์, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของทุกข์, พึงรู้จักผลของทุกข์, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของทุกข์, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือ ของทุกข์” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 166 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน
    สัทธรรมลำดับที่ : 983
    ชื่อบทธรรม : -อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=983
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน
    --ปัญจสิขะ ! พรหมจรรย์ ของเรานี้ เป็นไป
    เพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว
    เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน.
    --ปัญจสิขะ ! พรหมจรรย์ ที่เป็นไป
    เพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว
    เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน
    นั้นเป็นอย่างไรเล่า ?
    พรหมจรรย์นั้น คือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้เอง ได้แก่
    สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
    สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
    สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.
    --ปัญจสิขะ ! นี้แล คือ พรหมจรรย์นั้น ที่เป็นไป
    เพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว
    เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ #เพื่อนิพพาน.
    http://etipitaka.com/read/pali/10/285/?keywords=นิพฺพานาย
    --ปัญจสิขะ ! สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดยครบถ้วนแล้ว,
    สาวกเหล่านั้น ย่อม ทำให้แจ้งซึ่ง #เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ
    http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=ปรินิพฺพายิโน
    อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย
    ด้วยปัญญาอันยิ่งเองในทิฏฐธรรมนี้
    เข้าถึงแล้วแลอยู่.
    +--สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน,
    สาวกเหล่านั้น
    เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีส่วนในเบื้องต่ำห้าประการ
    ย่อม เป็นโอปปาติกะ (#อนาคามี)
    http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=โอปปาติกา
    มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา.
    +--สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน,
    สาวกเหล่านั้น บางพวก เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม
    เพราะความเบาบางแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ
    ย่อม เป็น #สกทาคามี
    http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=สกทาคามิโน
    มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว ก็จักกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้.
    +--สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน,
    สาวกเหล่านั้น บางพวก เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม
    ย่อม เป็น #โสดาบัน มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เที่ยงแท้ (ต่อนิพพาน)
    http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=โสตาปนฺนา
    มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า.
    --ปัญจสิขะ ! ด้วยอาการอย่างนี้แล #การบรรพชา (ในธรรมวินัยนี้)
    http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=อโมฆา+ปพฺพชฺชา
    ของกุลบุตรเหล่านี้ทั้งหมดนั่นเทียว
    เป็นบรรพชาไม่เป็นหมัน ไม่มีโทษ แต่มีผลมีกำไร แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหา. ที. 10/189/234.
    http://etipitaka.com/read/thai/10/189/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหา. ที. ๑๐/๒๘๕/๒๓๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/10/285/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%94
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=983
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=983
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84
    ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน สัทธรรมลำดับที่ : 983 ชื่อบทธรรม : -อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=983 เนื้อความทั้งหมด :- --อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน --ปัญจสิขะ ! พรหมจรรย์ ของเรานี้ เป็นไป เพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน. --ปัญจสิขะ ! พรหมจรรย์ ที่เป็นไป เพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? พรหมจรรย์นั้น คือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้เอง ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. --ปัญจสิขะ ! นี้แล คือ พรหมจรรย์นั้น ที่เป็นไป เพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ #เพื่อนิพพาน. http://etipitaka.com/read/pali/10/285/?keywords=นิพฺพานาย --ปัญจสิขะ ! สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดยครบถ้วนแล้ว, สาวกเหล่านั้น ย่อม ทำให้แจ้งซึ่ง #เจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=ปรินิพฺพายิโน อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเองในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. +--สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน, สาวกเหล่านั้น เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีส่วนในเบื้องต่ำห้าประการ ย่อม เป็นโอปปาติกะ (#อนาคามี) http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=โอปปาติกา มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. +--สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน, สาวกเหล่านั้น บางพวก เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม เพราะความเบาบางแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ ย่อม เป็น #สกทาคามี http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=สกทาคามิโน มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว ก็จักกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. +--สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน, สาวกเหล่านั้น บางพวก เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม ย่อม เป็น #โสดาบัน มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เที่ยงแท้ (ต่อนิพพาน) http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=โสตาปนฺนา มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. --ปัญจสิขะ ! ด้วยอาการอย่างนี้แล #การบรรพชา (ในธรรมวินัยนี้) http://etipitaka.com/read/pali/10/286/?keywords=อโมฆา+ปพฺพชฺชา ของกุลบุตรเหล่านี้ทั้งหมดนั่นเทียว เป็นบรรพชาไม่เป็นหมัน ไม่มีโทษ แต่มีผลมีกำไร แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มหา. ที. 10/189/234. http://etipitaka.com/read/thai/10/189/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มหา. ที. ๑๐/๒๘๕/๒๓๔. http://etipitaka.com/read/pali/10/285/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%93%E0%B9%94 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=983 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=983 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84 ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน
    -อัฏฐังคิกมรรคเป็นพรหมจรรย์เป็นไปเพื่อนิพพาน ปัญจสิขะ ! พรหมจรรย์ ของเรานี้ เป็นไปเพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน. ปัญจสิขะ ! พรหมจรรย์ ที่เป็นไปเพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน นั้นเป็นอย่างไรเล่า ? พรหมจรรย์นั้น คือ อริยอัฏฐังคิกมรรคนี้เอง ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ. ปัญจสิขะ ! นี้แล คือ พรหมจรรย์นั้น ที่เป็นไปเพื่อนิพพิทาโดยส่วนเดียว เพื่อวิราคะ เพื่อนิโรธะ เพื่ออุปสมะ เพื่ออภิญญา เพื่อสัมโพธะ เพื่อนิพพาน. ปัญจสิขะ ! สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดยครบถ้วนแล้ว, สาวกเหล่านั้น ย่อม ทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเองในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน, สาวกเหล่านั้น เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มีส่วนในเบื้องต่ำห้าประการ ย่อม เป็นโอปปาติกะ (อนาคามี) มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน, สาวกเหล่านั้น บางพวก เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม เพราะความเบาบางแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ ย่อม เป็นสกทาคามี มาสู่โลกนี้เพียงครั้งเดียว ก็จักกระทำที่สุดแห่งทุกข์ได้. สาวกเหล่าใด รู้ทั่วถึงคำสั่งสอนของเราทั้งปวงโดย ไม่ครบถ้วน, สาวกเหล่านั้น บางพวก เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์สาม ย่อม เป็นโสดาบัน มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เที่ยงแท้ (ต่อนิพพาน) มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. ปัญจสิขะ ! ด้วยอาการอย่างนี้แล การบรรพชา (ในธรรมวินัยนี้) ของกุลบุตรเหล่านี้ทั้งหมดนั่นเทียว เป็นบรรพชาไม่เป็นหมัน ไม่มีโทษ แต่มีผลมีกำไร แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 145 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์-(อีกปริยายหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 615
    ชื่อบทธรรม : -อาการดับแห่งความทุกข์-(อีกปริยายหนึ่ง)
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=615
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --อาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง)
    --ภิกษุ ท. ! ความรู้แจ้งนี้ได้เกิดขึ้นแก่เราว่า
    “หนทางเพื่อการตรัสรู้นี้ อันเราได้ถึงทับแล้วแล ; ได้แก่สิ่งเหล่านี้คือ
    เพราะความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ;
    เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ;
    เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;
    เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ;
    เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงความดับแห่งเวทนา ;
    เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ;
    เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงความดับแห่งอุปาทาน ;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น
    : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้”
    http://etipitaka.com/read/pali/16/128/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ
    ดังนี้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/103/252.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/103/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๒๘/๒๕๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/128/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=615
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=615
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์-(อีกปริยายหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 615 ชื่อบทธรรม : -อาการดับแห่งความทุกข์-(อีกปริยายหนึ่ง) https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=615 เนื้อความทั้งหมด :- --อาการดับแห่งความทุกข์--(อีกปริยายหนึ่ง) --ภิกษุ ท. ! ความรู้แจ้งนี้ได้เกิดขึ้นแก่เราว่า “หนทางเพื่อการตรัสรู้นี้ อันเราได้ถึงทับแล้วแล ; ได้แก่สิ่งเหล่านี้คือ เพราะความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ; เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้” http://etipitaka.com/read/pali/16/128/?keywords=ทุกฺขกฺขนฺธสฺส+นิโรโธ ดังนี้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/103/252. http://etipitaka.com/read/thai/16/103/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๒๘/๒๕๒. http://etipitaka.com/read/pali/16/128/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=615 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=615 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (ในสูตรอื่น (๑๖/๑๐๔/๒๐๒) มีข้อความเหมือนสูตรข้างบนนี้ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่เพียงว่า ในสูตรข้างบนนี้ ใช้คำว่า “ในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน” ส่วนในสูตรหลังนี้ใช้คำว่า “ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์”, เท่านั้น).
    -(ในสูตรอื่น (๑๖/๑๐๔/๒๐๒) มีข้อความเหมือนสูตรข้างบนนี้ทุกตัวอักษร ต่างกันแต่เพียงว่า ในสูตรข้างบนนี้ ใช้คำว่า “ในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน” ส่วนในสูตรหลังนี้ใช้คำว่า “ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์”, เท่านั้น). อาการดับแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! ความรู้แจ้งนี้ได้เกิดขึ้นแก่เราว่า “หนทางเพื่อการตรัสรู้นี้ อันเราได้ถึงทับแล้วแล ; ได้แก่สิ่งเหล่านี้คือ เพราะความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งวิญญาณ ; เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ; เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ ; เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงความดับแห่งเวทนา ; เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา ; เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้” ดังนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 111 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาต้องละฉันทราคะในเบญจขันธ์
    สัทธรรมลำดับที่ : 213
    ชื่อบทธรรม :- ต้องละฉันทราคะในเบญจขันธ์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=213
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ต้องละฉันทราคะในเบญจขันธ์
    --ภิกษุ ท. ! สิ่งใดไม่เที่ยง,
    พวกเธอพึง #ละฉันทราคะ (ความกำหนัดเพราะพอใจ) ในสิ่งนั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=ฉนฺทราโค+ปหาตพฺโพติ
    --ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่าไม่เที่ยง ?
    --ภิกษุ ท. !
    รูป ไม่เที่ยง,
    เวทนา ไม่เที่ยง,
    สัญญา ไม่เที่ยง,
    สังขารทั้งหลาย ไม่เที่ยง, และ
    วิญญาณ ไม่เที่ยง.
    พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! คือสิ่งใด ที่ไม่เที่ยง พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้นแหละ.-
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/173/337.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/173/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%97
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๑๗/๓๓๗.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%97
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=213
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=213

    สัทธรรมลำดับที่ : 214
    ชื่อบทธรรม :- พวกเธอพึงละฉันทราคะในขันธ์ห้า
    เนื้อความทั้งหมด :-
    ภิกษุ ท. ! สิ่งใดเป็นทุกข์,
    พวกเธอ #พึงละฉันทราคะ (ความกำหนัดเพราะพอใจ) ในสิ่งนั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/218/?keywords=ฉนฺทราโค+ปหาตพฺโพติ
    --ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่าเป็นทุกข์ ?
    --ภิกษุ ท. !
    รูปเป็นทุกข์,
    เวทนาเป็นทุกข์,
    สัญญา เป็นทุกข์,
    สังขารทั้งหลาย เป็นทุกข์, และ
    วิญญาณ เป็นทุกข์.
    พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! คือสิ่งใด ที่เป็นทุกข์ พวกเธอพึง ละฉันทราคะในสิ่งนั้นแหละ.-
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/173/338.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/173/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๑๘/๓๓๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/218/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=214
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=214

    สัทธรรมลำดับที่ : 215
    ชื่อบทธรรม : สิ่งใดเป็นอนัตตา, พวกเธอพึงละฉันทราคะ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --พวกเธอพึง ละฉันทราคะในเบญจขันธ์เป็นอนัตตา
    ภิกษุ ท. ! สิ่งใดเป็นอนัตตา,
    พวกเธอ #พึงละฉันทราคะ (ความกำหนัดเพราะพอใจ) ในสิ่งนั้น.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/218/?keywords=ฉนฺทราโค+ปหาตพฺโพติ
    --ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่าเป็นอนัตตา ?
    --ภิกษุ ท. !
    รูป เป็นอนัตตา,
    เวทนา เป็นอนัตตา,
    สัญญา เป็นอนัตตา,
    สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา, และ
    วิญญาณ เป็นอนัตตา.
    พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้น.
    --ภิกษุ ท. ! คือสิ่งใด ที่เป็นอนัตตา พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้นแหละ.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/173/341.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/173/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/218/341.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/218/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94%E0%B9%91
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=215
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=215
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาต้องละฉันทราคะในเบญจขันธ์ สัทธรรมลำดับที่ : 213 ชื่อบทธรรม :- ต้องละฉันทราคะในเบญจขันธ์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=213 เนื้อความทั้งหมด :- --ต้องละฉันทราคะในเบญจขันธ์ --ภิกษุ ท. ! สิ่งใดไม่เที่ยง, พวกเธอพึง #ละฉันทราคะ (ความกำหนัดเพราะพอใจ) ในสิ่งนั้น. http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=ฉนฺทราโค+ปหาตพฺโพติ --ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่าไม่เที่ยง ? --ภิกษุ ท. ! รูป ไม่เที่ยง, เวทนา ไม่เที่ยง, สัญญา ไม่เที่ยง, สังขารทั้งหลาย ไม่เที่ยง, และ วิญญาณ ไม่เที่ยง. พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้น. --ภิกษุ ท. ! คือสิ่งใด ที่ไม่เที่ยง พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้นแหละ.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/173/337. http://etipitaka.com/read/thai/17/173/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%97 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๑๗/๓๓๗. http://etipitaka.com/read/pali/17/217/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%97 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=213 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=213 สัทธรรมลำดับที่ : 214 ชื่อบทธรรม :- พวกเธอพึงละฉันทราคะในขันธ์ห้า เนื้อความทั้งหมด :- ภิกษุ ท. ! สิ่งใดเป็นทุกข์, พวกเธอ #พึงละฉันทราคะ (ความกำหนัดเพราะพอใจ) ในสิ่งนั้น. http://etipitaka.com/read/pali/17/218/?keywords=ฉนฺทราโค+ปหาตพฺโพติ --ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่าเป็นทุกข์ ? --ภิกษุ ท. ! รูปเป็นทุกข์, เวทนาเป็นทุกข์, สัญญา เป็นทุกข์, สังขารทั้งหลาย เป็นทุกข์, และ วิญญาณ เป็นทุกข์. พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้น. --ภิกษุ ท. ! คือสิ่งใด ที่เป็นทุกข์ พวกเธอพึง ละฉันทราคะในสิ่งนั้นแหละ.- อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/173/338. http://etipitaka.com/read/thai/17/173/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๑๘/๓๓๘. http://etipitaka.com/read/pali/17/218/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=214 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=214 สัทธรรมลำดับที่ : 215 ชื่อบทธรรม : สิ่งใดเป็นอนัตตา, พวกเธอพึงละฉันทราคะ เนื้อความทั้งหมด :- --พวกเธอพึง ละฉันทราคะในเบญจขันธ์เป็นอนัตตา ภิกษุ ท. ! สิ่งใดเป็นอนัตตา, พวกเธอ #พึงละฉันทราคะ (ความกำหนัดเพราะพอใจ) ในสิ่งนั้น. http://etipitaka.com/read/pali/17/218/?keywords=ฉนฺทราโค+ปหาตพฺโพติ --ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่าเป็นอนัตตา ? --ภิกษุ ท. ! รูป เป็นอนัตตา, เวทนา เป็นอนัตตา, สัญญา เป็นอนัตตา, สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา, และ วิญญาณ เป็นอนัตตา. พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้น. --ภิกษุ ท. ! คือสิ่งใด ที่เป็นอนัตตา พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้นแหละ.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/173/341. http://etipitaka.com/read/thai/17/173/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/218/341. http://etipitaka.com/read/pali/17/218/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%94%E0%B9%91 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=215 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=215 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ต้องละฉันทราคะในเบญจขันธ์
    -ต้องละฉันทราคะในเบญจขันธ์ ภิกษุ ท. ! สิ่งใดไม่เที่ยง, พวกเธอพึงละฉันทราคะ (ความกำหนัดเพราะพอใจ) ในสิ่งนั้น. ภิกษุ ท. ! ก็สิ่งใดเล่าไม่เที่ยง ? ภิกษุ ท. ! รูป ไม่เที่ยง, เวทนา ไม่เที่ยง, สัญญา ไม่เที่ยง, สังขารทั้งหลาย ไม่เที่ยง, และวิญญาณ ไม่เที่ยง. พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้น. ภิกษุ ท. ! คือสิ่งใด ที่ไม่เที่ยง พวกเธอพึงละฉันทราคะในสิ่งนั้นแหละ.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 134 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์
    สัทธรรมลำดับที่ : 212
    ชื่อบทธรรม :- เพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=212
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --เพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ในรูป,
    ผู้นั้น เท่ากับ เพลิดเพลินอยู่ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์,
    ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลิน อยู่ในเวทนา,
    ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์,
    ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสัญญา,
    ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์,
    ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสังขารทั้งหลาย,
    ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์,
    ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ;
    --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในวิญญาณ,
    ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์.
    เรากล่าวว่า “ผู้ใด #เพลิดเพลินอยู่ในสิ่งที่เป็นทุกข์,
    ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์”
    http://etipitaka.com/read/pali/17/39/?keywords=ทุกฺขํ+อภินนฺทติ
    ดังนี้ แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ สํ. 17/30/64.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/30/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ สํ. ๑๗/๓๙/๖๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/39/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติ่ม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=212
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=212
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาเพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์ สัทธรรมลำดับที่ : 212 ชื่อบทธรรม :- เพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=212 เนื้อความทั้งหมด :- --เพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์ --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ในรูป, ผู้นั้น เท่ากับ เพลิดเพลินอยู่ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลิน อยู่ในเวทนา, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสัญญา, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสังขารทั้งหลาย, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; --ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในวิญญาณ, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด #เพลิดเพลินอยู่ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” http://etipitaka.com/read/pali/17/39/?keywords=ทุกฺขํ+อภินนฺทติ ดังนี้ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ สํ. 17/30/64. http://etipitaka.com/read/thai/17/30/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ สํ. ๑๗/๓๙/๖๔. http://etipitaka.com/read/pali/17/39/?keywords=%E0%B9%96%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติ่ม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=212 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=212 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - เพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์
    -เพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์ ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ในรูป, ผู้นั้น เท่ากับ เพลิดเพลินอยู่ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลิน อยู่ในเวทนา, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสัญญา, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสังขารทั้งหลาย, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ ; ภิกษุ ท. ! ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ในวิญญาณ, ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ในสิ่งที่เป็นทุกข์. เรากล่าวว่า “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ในสิ่งที่เป็นทุกข์, ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 119 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🎧 No More Masks is not a track. It’s a mirror.
    If you've ever lied just to survive, this song was made for your truth.

    “This beat rips / Like I tear off my face”

    Don’t clap. Just listen.
    ▶️ [ https://youtu.be/H-Og0cbfrJA ]

    #NoMoreMasks #TruthInLyrics #EkarachChandon #UnfilteredRap #RapForHealing #realtalkonly

    Under the care & creative direction of Ekarach Chandon
    – Father, Listener, and the Keeper of Eternal Thought

    📚 Amazon Author Page — Ekarach Chandon
    https://www.amazon.com/stores/Ekarach-Chandon/author/B0C72VBBMZ

    “Where love guides the unheard voice 📣 ”

    #NoMoreMasks #RawRap #UnfilteredTruth #TrapPoetry #GlobalRap #SpiritualHipHop #EkarachChandon

    #NoMoreMasks
    #RawRap
    #ConsciousHipHop
    #TrapPoetry
    #AggressiveTruth
    #UnfilteredVoice
    #EkarachChandon
    #LyricalConfession
    #GlobalRapMovement
    #WakeWithWords
    #SelfAwarenessRap
    #ResponsibilityInRhythm
    #BreakTheImage
    #TruthHurtsBeautifully
    #PoetryInBeats

    no more masks rap

    conscious hip hop

    truth in lyrics

    spiritual trap music

    raw emotional rap

    aggressive spoken word

    ekarach chandon rap

    poetic hip hop confession

    unfiltered rap song

    self-awareness in music

    inner truth performance

    truth-driven lyrics

    rap against illusion

    identity through music

    real talk rap
    🎧 No More Masks is not a track. It’s a mirror. If you've ever lied just to survive, this song was made for your truth. “This beat rips / Like I tear off my face” Don’t clap. Just listen. ▶️ [ https://youtu.be/H-Og0cbfrJA ] #NoMoreMasks #TruthInLyrics #EkarachChandon #UnfilteredRap #RapForHealing #realtalkonly Under the care & creative direction of Ekarach Chandon – Father, Listener, and the Keeper of Eternal Thought 📚 Amazon Author Page — Ekarach Chandon https://www.amazon.com/stores/Ekarach-Chandon/author/B0C72VBBMZ “Where love guides the unheard voice 📣 ” #NoMoreMasks #RawRap #UnfilteredTruth #TrapPoetry #GlobalRap #SpiritualHipHop #EkarachChandon #NoMoreMasks #RawRap #ConsciousHipHop #TrapPoetry #AggressiveTruth #UnfilteredVoice #EkarachChandon #LyricalConfession #GlobalRapMovement #WakeWithWords #SelfAwarenessRap #ResponsibilityInRhythm #BreakTheImage #TruthHurtsBeautifully #PoetryInBeats no more masks rap conscious hip hop truth in lyrics spiritual trap music raw emotional rap aggressive spoken word ekarach chandon rap poetic hip hop confession unfiltered rap song self-awareness in music inner truth performance truth-driven lyrics rap against illusion identity through music real talk rap
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 292 มุมมอง 0 รีวิว
  • Microsoft ได้เพิ่ม SafeLinks protection ให้กับ Microsoft 365 Copilot Chat เพื่อช่วยปกป้องผู้ใช้จากลิงก์ที่เป็นอันตราย โดยฟีเจอร์นี้จะ ตรวจสอบความปลอดภัยของลิงก์แบบเรียลไทม์ และแสดงคำเตือนหากพบว่าลิงก์มีความเสี่ยง

    SafeLinks protection พร้อมใช้งานบน Copilot Chat ใน Desktop, Web, Outlook Mobile, Teams Mobile และ Microsoft 365 Copilot Mobile app โดยไม่ต้องตั้งค่าหรือกำหนดค่าเพิ่มเติม

    นอกจากนี้ Microsoft ยังเพิ่ม time-of-click URL reputation checks ซึ่งช่วยให้ผู้ใช้ได้รับการแจ้งเตือนหากลิงก์ที่ Copilot ให้มานั้นเป็นอันตราย และในอนาคต SafeLinks protection จะถูกนำไปใช้กับ Copilot App Chats ใน Word, PowerPoint และ Excel

    ✅ SafeLinks protection ตรวจสอบความปลอดภัยของลิงก์แบบเรียลไทม์
    - หากพบว่าลิงก์เป็นอันตราย จะแสดงคำเตือนและป้องกันการเข้าถึงเว็บไซต์
    - พร้อมใช้งานบน Copilot Chat ใน Desktop, Web, Outlook Mobile, Teams Mobile และ Microsoft 365 Copilot Mobile app

    ✅ time-of-click URL reputation checks เพิ่มความปลอดภัยให้กับผู้ใช้
    - ตรวจสอบลิงก์ที่ Copilot ให้มา และแจ้งเตือนหากพบว่ามีความเสี่ยง

    ✅ Microsoft Defender for Office 365 Security Center จะสร้างรายงานเกี่ยวกับภัยคุกคาม
    - ผู้ใช้สามารถ ติดตามภัยคุกคามที่ตรวจพบและการดำเนินการที่เกิดขึ้น

    ✅ SafeLinks protection จะถูกนำไปใช้กับ Copilot App Chats ใน Word, PowerPoint และ Excel ในอนาคต
    - เพิ่มความปลอดภัยให้กับ การใช้งาน Copilot ในแอปพลิเคชัน Microsoft 365

    https://www.neowin.net/news/microsoft-365-copilot-chat-gets-safelinks-protection-and-more/
    Microsoft ได้เพิ่ม SafeLinks protection ให้กับ Microsoft 365 Copilot Chat เพื่อช่วยปกป้องผู้ใช้จากลิงก์ที่เป็นอันตราย โดยฟีเจอร์นี้จะ ตรวจสอบความปลอดภัยของลิงก์แบบเรียลไทม์ และแสดงคำเตือนหากพบว่าลิงก์มีความเสี่ยง SafeLinks protection พร้อมใช้งานบน Copilot Chat ใน Desktop, Web, Outlook Mobile, Teams Mobile และ Microsoft 365 Copilot Mobile app โดยไม่ต้องตั้งค่าหรือกำหนดค่าเพิ่มเติม นอกจากนี้ Microsoft ยังเพิ่ม time-of-click URL reputation checks ซึ่งช่วยให้ผู้ใช้ได้รับการแจ้งเตือนหากลิงก์ที่ Copilot ให้มานั้นเป็นอันตราย และในอนาคต SafeLinks protection จะถูกนำไปใช้กับ Copilot App Chats ใน Word, PowerPoint และ Excel ✅ SafeLinks protection ตรวจสอบความปลอดภัยของลิงก์แบบเรียลไทม์ - หากพบว่าลิงก์เป็นอันตราย จะแสดงคำเตือนและป้องกันการเข้าถึงเว็บไซต์ - พร้อมใช้งานบน Copilot Chat ใน Desktop, Web, Outlook Mobile, Teams Mobile และ Microsoft 365 Copilot Mobile app ✅ time-of-click URL reputation checks เพิ่มความปลอดภัยให้กับผู้ใช้ - ตรวจสอบลิงก์ที่ Copilot ให้มา และแจ้งเตือนหากพบว่ามีความเสี่ยง ✅ Microsoft Defender for Office 365 Security Center จะสร้างรายงานเกี่ยวกับภัยคุกคาม - ผู้ใช้สามารถ ติดตามภัยคุกคามที่ตรวจพบและการดำเนินการที่เกิดขึ้น ✅ SafeLinks protection จะถูกนำไปใช้กับ Copilot App Chats ใน Word, PowerPoint และ Excel ในอนาคต - เพิ่มความปลอดภัยให้กับ การใช้งาน Copilot ในแอปพลิเคชัน Microsoft 365 https://www.neowin.net/news/microsoft-365-copilot-chat-gets-safelinks-protection-and-more/
    WWW.NEOWIN.NET
    Microsoft 365 Copilot Chat gets SafeLinks protection and more
    Microsoft has bolstered the security of M365 Copilot Chat by integrating SafeLinks for eligible customers. It has added a more basic link checking feature for non-customers.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 103 มุมมอง 0 รีวิว
  • นักวิจัยด้านความปลอดภัยจาก Wordfence ได้ค้นพบ มัลแวร์ใหม่ที่แฝงตัวเป็นปลั๊กอินรักษาความปลอดภัยสำหรับ WordPress โดยใช้ชื่อ WP-antymalwary-bot.php ซึ่งดูเหมือนเป็นเครื่องมือป้องกันมัลแวร์ แต่แท้จริงแล้วเป็น ช่องทางให้แฮกเกอร์สามารถเข้าถึงเว็บไซต์และแพร่กระจายมัลแวร์

    มัลแวร์นี้มี ฟังก์ชันที่ช่วยให้ผู้โจมตีสามารถซ่อนปลั๊กอินจากแดชบอร์ดของ WordPress และ รันโค้ดจากระยะไกล นอกจากนี้ยังมี ระบบ "pinging" ที่สามารถส่งข้อมูลกลับไปยังเซิร์ฟเวอร์ควบคุม (C2) ในไซปรัส และ แพร่กระจายมัลแวร์ไปยังไดเรกทอรีอื่น ๆ

    ✅ มัลแวร์แฝงตัวเป็นปลั๊กอินรักษาความปลอดภัย
    - ใช้ชื่อ WP-antymalwary-bot.php
    - ดูเหมือนเป็นเครื่องมือป้องกันมัลแวร์ แต่แท้จริงแล้วเป็น ช่องทางให้แฮกเกอร์เข้าถึงเว็บไซต์

    ✅ ฟังก์ชันที่ช่วยให้ผู้โจมตีสามารถซ่อนปลั๊กอินและรันโค้ดจากระยะไกล
    - สามารถ ซ่อนปลั๊กอินจากแดชบอร์ดของ WordPress
    - มี ระบบ "pinging" ที่ส่งข้อมูลกลับไปยังเซิร์ฟเวอร์ควบคุม (C2) ในไซปรัส

    ✅ แพร่กระจายมัลแวร์ไปยังไดเรกทอรีอื่น ๆ และฉีดโค้ด JavaScript ที่เป็นอันตราย
    - สามารถ แพร่กระจายมัลแวร์ไปยังไดเรกทอรีอื่น ๆ
    - ฉีด โค้ด JavaScript ที่ใช้แสดงโฆษณาอันตราย

    ✅ Wordfence พบมัลแวร์นี้ระหว่างการทำความสะอาดเว็บไซต์ในเดือนมกราคม 2025
    - พบว่า wp-cron.php ถูกแก้ไขเพื่อสร้างและเปิดใช้งานมัลแวร์โดยอัตโนมัติ
    - หากผู้ดูแลระบบลบปลั๊กอิน wp-cron จะสร้างและเปิดใช้งานใหม่โดยอัตโนมัติ

    https://www.techradar.com/pro/security/wordpress-sites-targeted-by-malicious-plugin-disguised-as-a-security-tool
    นักวิจัยด้านความปลอดภัยจาก Wordfence ได้ค้นพบ มัลแวร์ใหม่ที่แฝงตัวเป็นปลั๊กอินรักษาความปลอดภัยสำหรับ WordPress โดยใช้ชื่อ WP-antymalwary-bot.php ซึ่งดูเหมือนเป็นเครื่องมือป้องกันมัลแวร์ แต่แท้จริงแล้วเป็น ช่องทางให้แฮกเกอร์สามารถเข้าถึงเว็บไซต์และแพร่กระจายมัลแวร์ มัลแวร์นี้มี ฟังก์ชันที่ช่วยให้ผู้โจมตีสามารถซ่อนปลั๊กอินจากแดชบอร์ดของ WordPress และ รันโค้ดจากระยะไกล นอกจากนี้ยังมี ระบบ "pinging" ที่สามารถส่งข้อมูลกลับไปยังเซิร์ฟเวอร์ควบคุม (C2) ในไซปรัส และ แพร่กระจายมัลแวร์ไปยังไดเรกทอรีอื่น ๆ ✅ มัลแวร์แฝงตัวเป็นปลั๊กอินรักษาความปลอดภัย - ใช้ชื่อ WP-antymalwary-bot.php - ดูเหมือนเป็นเครื่องมือป้องกันมัลแวร์ แต่แท้จริงแล้วเป็น ช่องทางให้แฮกเกอร์เข้าถึงเว็บไซต์ ✅ ฟังก์ชันที่ช่วยให้ผู้โจมตีสามารถซ่อนปลั๊กอินและรันโค้ดจากระยะไกล - สามารถ ซ่อนปลั๊กอินจากแดชบอร์ดของ WordPress - มี ระบบ "pinging" ที่ส่งข้อมูลกลับไปยังเซิร์ฟเวอร์ควบคุม (C2) ในไซปรัส ✅ แพร่กระจายมัลแวร์ไปยังไดเรกทอรีอื่น ๆ และฉีดโค้ด JavaScript ที่เป็นอันตราย - สามารถ แพร่กระจายมัลแวร์ไปยังไดเรกทอรีอื่น ๆ - ฉีด โค้ด JavaScript ที่ใช้แสดงโฆษณาอันตราย ✅ Wordfence พบมัลแวร์นี้ระหว่างการทำความสะอาดเว็บไซต์ในเดือนมกราคม 2025 - พบว่า wp-cron.php ถูกแก้ไขเพื่อสร้างและเปิดใช้งานมัลแวร์โดยอัตโนมัติ - หากผู้ดูแลระบบลบปลั๊กอิน wp-cron จะสร้างและเปิดใช้งานใหม่โดยอัตโนมัติ https://www.techradar.com/pro/security/wordpress-sites-targeted-by-malicious-plugin-disguised-as-a-security-tool
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 76 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​จุดมุ่งหมายแท้จริงของพรหมจรรย์
    สัทธรรมลำดับที่ : 982
    ชื่อบทธรรม :- จุดมุ่งหมายแท้จริงของพรหมจรรย์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=982
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --จุดมุ่งหมายแท้จริงของพรหมจรรย์
    --ภิกษุ ท. !
    พรหมจรรย์นี้ มิใช่มี ลาภสักการะและเสียงเยินยอ เป็นอานิสงส์,
    พรหมจรรย์นี้ มิใช่มี ความถึงพร้อมด้วยศีล เป็นอานิสงส์,
    พรหมจรรย์นี้ มิใช่มี ความถึงพร้อมด้วยสมาธิ เป็นอานิสงส์,
    พรหมจรรย์นี้ มิใช่มี ความถีงพร้อมด้วยญาณทัสสนะ เป็นอานิสงส์.
    --ภิกษุ ท. ! ก็ #เจโตวิมุตติ ที่ไม่กำเริบอันใด มีอยู่, พรหมจรรย์นี้
    http://etipitaka.com/read/pali/12/373/?keywords=เจโตวิมุตฺติ
    มีเจโตวิมุตตินั่นแหละ เป็นประโยชน์ที่มุ่งหมาย
    มีเจโตวิมุตินั่นแหละ เป็นแก่นสาร
    มีเจโตวิมุตตินั่นแหละ เป็นผลสุดท้ายของพรหมจรรย์
    แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/263/352.
    http://etipitaka.com/read/thai/12/263/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๓๗๓/๓๕๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/12/373/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%92
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=982
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=982
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84
    ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    อริยสาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​จุดมุ่งหมายแท้จริงของพรหมจรรย์ สัทธรรมลำดับที่ : 982 ชื่อบทธรรม :- จุดมุ่งหมายแท้จริงของพรหมจรรย์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=982 เนื้อความทั้งหมด :- --จุดมุ่งหมายแท้จริงของพรหมจรรย์ --ภิกษุ ท. ! พรหมจรรย์นี้ มิใช่มี ลาภสักการะและเสียงเยินยอ เป็นอานิสงส์, พรหมจรรย์นี้ มิใช่มี ความถึงพร้อมด้วยศีล เป็นอานิสงส์, พรหมจรรย์นี้ มิใช่มี ความถึงพร้อมด้วยสมาธิ เป็นอานิสงส์, พรหมจรรย์นี้ มิใช่มี ความถีงพร้อมด้วยญาณทัสสนะ เป็นอานิสงส์. --ภิกษุ ท. ! ก็ #เจโตวิมุตติ ที่ไม่กำเริบอันใด มีอยู่, พรหมจรรย์นี้ http://etipitaka.com/read/pali/12/373/?keywords=เจโตวิมุตฺติ มีเจโตวิมุตตินั่นแหละ เป็นประโยชน์ที่มุ่งหมาย มีเจโตวิมุตินั่นแหละ เป็นแก่นสาร มีเจโตวิมุตตินั่นแหละ เป็นผลสุดท้ายของพรหมจรรย์ แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - มู. ม. 12/263/352. http://etipitaka.com/read/thai/12/263/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - มู. ม. ๑๒/๓๗๓/๓๕๒. http://etipitaka.com/read/pali/12/373/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%95%E0%B9%92 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=982 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=982 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84 ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - จุดมุ่งหมายแท้จริงของพรหมจรรย์
    -จุดมุ่งหมายแท้จริงของพรหมจรรย์ ภิกษุ ท. ! พรหมจรรย์นี้ มิใช่มีลาภสักการะและเสียงเยินยอเป็นอานิสงส์, พรหมจรรย์นี้ มิใช่มีความถึงพร้อมด้วยศีลเป็นอานิสงส์, พรหมจรรย์นี้มิใช่มีความถึงพร้อมด้วยสมาธิเป็นอานิสงส์, พรหมจรรย์นี้ มิใช่มีความถีงพร้อมด้วยญาณทัสสนะเป็นอานิสงส์. ภิกษุ ท. ! ก็เจโตวิมุตติที่ไม่กำเริบอันใด มีอยู่, พรหมจรรย์นี้มี เจโตวิมุตตินั่นแหละเป็นประโยชน์ที่มุ่งหมาย มีเจโตวิมุตินั่นแหละเป็นแก่นสาร มีเจโตวิมุตตินั่นแหละเป็นผลสุดท้ายของพรหมจรรย์ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 112 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์-(อีกปริยายหนึ่ง)
    สัทธรรมลำดับที่ : 614
    ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งความทุกข์
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=614
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --(อีกปริยายหนึ่ง)
    --อาการดับแห่งความทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีปกติเห็นโดยความเป็นอาทีนวะ (โทษอันต่ำทราม)
    ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน อยู่,
    http://etipitaka.com/read/pali/16/102/?keywords=อุปาทานิเยสุ
    ตัณหาย่อมดับ.
    เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ;
    เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ;
    เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ;
    เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลายจึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการ อย่างนี้.-

    (ในสูตรอื่น (๑๖/๑๐๔/๒๐๒) ต่างกันแต่เพียงว่า ใช้คำว่า
    “ในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน”
    ส่วนในสูตรหลังนี้ใช้คำว่า
    “ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์”,
    http://etipitaka.com/read/pali/16/104/?keywords=สญฺโญชนิเยสุ
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -๑๖/๑๐๔/๒๐๒
    http://etipitaka.com/read/pali/16/104/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%92
    เท่านั้น).

    #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/84/198.
    http://etipitaka.com/read/thai/16/84/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%98
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๐๒/๑๙๘.
    http://etipitaka.com/read/pali/16/102/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%98
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=614
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=614
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42
    ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาอาการดับแห่งความทุกข์-(อีกปริยายหนึ่ง) สัทธรรมลำดับที่ : 614 ชื่อบทธรรม :- อาการดับแห่งความทุกข์ https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=614 เนื้อความทั้งหมด :- --(อีกปริยายหนึ่ง) --อาการดับแห่งความทุกข์ --ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีปกติเห็นโดยความเป็นอาทีนวะ (โทษอันต่ำทราม) ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน อยู่, http://etipitaka.com/read/pali/16/102/?keywords=อุปาทานิเยสุ ตัณหาย่อมดับ. เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลายจึงดับสิ้น : #ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการ อย่างนี้.- (ในสูตรอื่น (๑๖/๑๐๔/๒๐๒) ต่างกันแต่เพียงว่า ใช้คำว่า “ในธรรมทั้งหลายอันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน” ส่วนในสูตรหลังนี้ใช้คำว่า “ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์”, http://etipitaka.com/read/pali/16/104/?keywords=สญฺโญชนิเยสุ อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : -๑๖/๑๐๔/๒๐๒ http://etipitaka.com/read/pali/16/104/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%90%E0%B9%92 เท่านั้น). #ทุกขนิโรธ #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. 16/84/198. http://etipitaka.com/read/thai/16/84/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%98 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๐๒/๑๙๘. http://etipitaka.com/read/pali/16/102/?keywords=%E0%B9%91%E0%B9%99%E0%B9%98 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=614 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42&id=614 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=42 ลำดับสาธยายธรรม : 42 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_42.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - [ในสูตรอื่น (๑๖/๑๐๙/๒๑๘) มีข้อความเหมือนสูตรข้างบนนี้ ต่างแต่แทนที่จะตรัสว่า “การหยั่งลงแห่งวิญญาณ ย่อมไม่มี. เพราะความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;” ดังในสูตรข้างบนนี้แต่ได้ตรัสสั้นลงมาว่า “การหยั่งลงแห่งนามรูป ย่อมไม่มี. เพราะความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;” ส่วนข้อความ นอกนั้นเหมือนกันทุกตัวอักษร].
    -[ในสูตรอื่น (๑๖/๑๐๙/๒๑๘) มีข้อความเหมือนสูตรข้างบนนี้ ต่างแต่แทนที่จะตรัสว่า “การหยั่งลงแห่งวิญญาณ ย่อมไม่มี. เพราะความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป ; เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;” ดังในสูตรข้างบนนี้แต่ได้ตรัสสั้นลงมาว่า “การหยั่งลงแห่งนามรูป ย่อมไม่มี. เพราะความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ ;” ส่วนข้อความ นอกนั้นเหมือนกันทุกตัวอักษร]. อาการดับแห่งความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! เมื่อภิกษุเป็นผู้มีปกติเห็นโดยความเป็นอาทีนวะ (โทษอันต่ำทราม) ในธรรมทั้งหลาย อันเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน อยู่, ตัณหาย่อมดับ. เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน ; เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ ; เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่ง ชาติ ; เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลายจึงดับสิ้น : ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการ อย่างนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 133 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาว่าไม่รู้จักเบญจขันธ์ชื่อว่า มีอวิชชา
    สัทธรรมลำดับที่ : 211
    ชื่อบทธรรม :- ไม่รู้จักเบญจขันธ์ชื่อว่า มีอวิชชา
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=211
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ไม่รู้จักเบญจขันธ์ชื่อว่ามีอวิชชา
    --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! คนกล่าวกันว่า ‘อวิชชา อวิชชา’ ดังนี้.
    ก็อวิชชานั้น เป็นอย่างไร ? และบุคคลชื่อว่า มีอวิชชา
    ด้วยเหตุเพียงไรเล่า ? พระเจ้าข้า !”
    --ภิกษุ ! ในโลกนี้ บุถุชน ผู้ไม่ได้ยินได้ฟัง
    ย่อมไม่รู้จักรูป,
    ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของรูป,
    ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของรูป,
    ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของรูป ;
    เขาย่อมไม่รู้จักเวทนา,
    ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของเวทนา,
    ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา,
    ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา ;
    เขาย่อมไม่รู้จักสัญญา,
    ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของสัญญา,
    ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา,
    ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา ;
    เขาย่อม ไม่รู้จักสังขารทั้งหลาย,
    ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของสังขารทั้งหลาย,
    ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของสังขารทั้งหลาย,
    ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสังขารทั้งหลาย ; และ
    เขาย่อม ไม่รู้จักวิญญาณ,
    ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของวิญญาณ,
    ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของวิญญาณ,
    ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของวิญญาณ.
    --ภิกษุ ! ความไม่รู้นี้เราเรียกว่า ‘#อวิชชา’
    http://etipitaka.com/read/pali/17/198/?keywords=อวิชฺชา
    และบุคคลชื่อว่ามีอวิชชาด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้ แล.-

    #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/156/300.
    http://etipitaka.com/read/thai/17/156/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%90
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๘/๓๐๐.
    http://etipitaka.com/read/pali/17/198/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%90
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=211
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=211
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15
    ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียงอ่าน....
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาว่าไม่รู้จักเบญจขันธ์ชื่อว่า มีอวิชชา สัทธรรมลำดับที่ : 211 ชื่อบทธรรม :- ไม่รู้จักเบญจขันธ์ชื่อว่า มีอวิชชา https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=211 เนื้อความทั้งหมด :- --ไม่รู้จักเบญจขันธ์ชื่อว่ามีอวิชชา --“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! คนกล่าวกันว่า ‘อวิชชา อวิชชา’ ดังนี้. ก็อวิชชานั้น เป็นอย่างไร ? และบุคคลชื่อว่า มีอวิชชา ด้วยเหตุเพียงไรเล่า ? พระเจ้าข้า !” --ภิกษุ ! ในโลกนี้ บุถุชน ผู้ไม่ได้ยินได้ฟัง ย่อมไม่รู้จักรูป, ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของรูป, ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของรูป, ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของรูป ; เขาย่อมไม่รู้จักเวทนา, ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของเวทนา, ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา ; เขาย่อมไม่รู้จักสัญญา, ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของสัญญา, ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา ; เขาย่อม ไม่รู้จักสังขารทั้งหลาย, ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของสังขารทั้งหลาย, ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของสังขารทั้งหลาย, ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสังขารทั้งหลาย ; และ เขาย่อม ไม่รู้จักวิญญาณ, ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของวิญญาณ, ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของวิญญาณ, ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของวิญญาณ. --ภิกษุ ! ความไม่รู้นี้เราเรียกว่า ‘#อวิชชา’ http://etipitaka.com/read/pali/17/198/?keywords=อวิชฺชา และบุคคลชื่อว่ามีอวิชชาด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้ แล.- #ทุกขสมุทัย #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. 17/156/300. http://etipitaka.com/read/thai/17/156/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%90 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๘/๓๐๐. http://etipitaka.com/read/pali/17/198/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%90%E0%B9%90 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=211 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15&id=211 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=15 ลำดับสาธยายธรรม : 15 ฟังเสียงอ่าน.... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_15.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ไม่รู้จักเบญจขันธ์ชื่อว่ามีอวิชชา
    -ไม่รู้จักเบญจขันธ์ชื่อว่ามีอวิชชา “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! คนกล่าวกันว่า ‘อวิชชา อวิชชา’ ดังนี้. ก็อวิชชานั้น เป็นอย่างไร ? และบุคคลชื่อว่า มีอวิชชา ด้วยเหตุเพียงไรเล่า ? พระเจ้าข้า !” ภิกษุ ! ในโลกนี้ บุถุชน ผู้ไม่ได้ยินได้ฟัง ย่อมไม่รู้จักรูป, ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของรูป, ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของรูป, ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของรูป ; เขาย่อมไม่รู้จักเวทนา, ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของเวทนา, ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของเวทนา, ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของเวทนา ; เขาย่อมไม่รู้จักสัญญา, ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของสัญญา, ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา ; เขาย่อม ไม่รู้จักสังขารทั้งหลาย, ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของสังขารทั้งหลาย, ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของสังขารทั้งหลาย, ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสังขารทั้งหลาย ; และเขาย่อม ไม่รู้จักวิญญาณ, ไม่รู้จักเหตุให้เกิดของวิญญาณ, ไม่รู้จักความดับไม่เหลือของวิญญาณ, ไม่รู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของวิญญาณ. ภิกษุ ! ความไม่รู้นี้เราเรียกว่า ‘อวิชชา’ และบุคคลชื่อว่ามีอวิชชาด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้ แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 112 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ระบบพรหมจรรย์ทรงแบ่งไว้เป็น ๒ แผนก
    สัทธรรมลำดับที่ : 981
    ชื่อบทธรรม : -ระบบพรหมจรรย์ทรงแบ่งไว้เป็น ๒ แผนก
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=981
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ระบบพรหมจรรย์ทรงแบ่งไว้เป็น ๒ แผนก
    --ภิกษุ ท. ! เรา ไม่กล่าว สำหรับภิกษุทั้งปวง ว่า ยังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่)
    ที่จะต้องทำด้วยความไม่ประมาท และเราก็ ไม่กล่าว
    สำหรับภิกษุทั้งปวงว่า มีกิจอะไร ๆ ที่ไม่ต้องทำด้วยความไม่ประมาท.

    ก. สำหรับผู้ถึงที่สุดแห่งทุกข์แล้ว
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเหล่าใด เป็น อรหันต์ขีณาสพ
    http://etipitaka.com/read/pali/13/228/?keywords=อรหนฺโต+ขีณาสวา
    อยู่จบพรหมจรรย์ มีกิจที่ควรทำอันกระทำแล้ว
    มีภาระอันปลงลงแล้ว มีประโยชน์ตนอันตามถึงแล้ว
    มีสัญโญชน์ในภพสิ้นไปรอบแล้ว หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ ;
    +--ภิกษุ ท. ! สำหรับภิาษุเหล่านั้น
    เราไม่กล่าวว่า ยังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่)
    ที่เธอต้องทำด้วยความไม่ประมาท.
    ข้อนี้เพราะเหตุไร ?
    เพราะเหตุว่า #กิจที่ต้องทำด้วยความไม่ประมาทเธอทำเสร็จแล้ว และ
    เธอเป็นผู้ไม่อาจที่จะเป็นผู้ประมาทได้อีกต่อไป.

    ข. สำหรับผู้ยังไม่ถึงที่สุดแห่งทุกข์
    --ภิกษุ ท. ! ส่วนภิกษุเหล่าใด เป็น เสขะ
    มีความประสงค์แห่งใจอันยังไม่บรรลุแล้ว ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ
    ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่าอยู่;
    +--ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเหล่านั้น เรากล่าวว่ายังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่)
    ที่เธอต้องทำด้วยความไม่ประมาท. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ?
    เพราะเหตุว่า ถ้าไฉนท่านผู้มีอายุนี้
    จะเสพอยู่ซึ่งเสนาสนะอันสมควร
    จะคบอยู่ซึ่งกัลยาณมิตร
    จะบ่มอยู่ซึ่งอินทรีย์ทั้งหลาย
    ก็จะทำให้แจ้งซึ่งที่สุดแห่งพรหมจรรย์ อันไม่มีอะไรยิ่งกว่า
    ซึ่งเป็นประโยชน์ที่ต้องการของกุลบุตรผู้ออกบวชจากเรือน
    ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือนโดยชอบ
    ได้ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่.
    +--ภิกษุ ท. ! เรามองเห็นผลแห่งความไม่ประมาท
    ข้อนี้สำหรับภิกษุนี้อยู่ #จึงกล่าวว่ายังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่)
    ที่เธอนั้นต้องทำด้วยความไม่ประมาท ดังนี้.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/178/229.
    http://etipitaka.com/read/thai/13/178/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%99
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๒๒๘/๒๒๙.
    http://etipitaka.com/read/pali/13/228/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%99
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=981
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=981
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84
    ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    อริย​สาวก​พึง​ฝึกหัด​ศึกษา​ระบบพรหมจรรย์ทรงแบ่งไว้เป็น ๒ แผนก สัทธรรมลำดับที่ : 981 ชื่อบทธรรม : -ระบบพรหมจรรย์ทรงแบ่งไว้เป็น ๒ แผนก https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=981 เนื้อความทั้งหมด :- --ระบบพรหมจรรย์ทรงแบ่งไว้เป็น ๒ แผนก --ภิกษุ ท. ! เรา ไม่กล่าว สำหรับภิกษุทั้งปวง ว่า ยังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่) ที่จะต้องทำด้วยความไม่ประมาท และเราก็ ไม่กล่าว สำหรับภิกษุทั้งปวงว่า มีกิจอะไร ๆ ที่ไม่ต้องทำด้วยความไม่ประมาท. ก. สำหรับผู้ถึงที่สุดแห่งทุกข์แล้ว --ภิกษุ ท. ! ภิกษุเหล่าใด เป็น อรหันต์ขีณาสพ http://etipitaka.com/read/pali/13/228/?keywords=อรหนฺโต+ขีณาสวา อยู่จบพรหมจรรย์ มีกิจที่ควรทำอันกระทำแล้ว มีภาระอันปลงลงแล้ว มีประโยชน์ตนอันตามถึงแล้ว มีสัญโญชน์ในภพสิ้นไปรอบแล้ว หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ ; +--ภิกษุ ท. ! สำหรับภิาษุเหล่านั้น เราไม่กล่าวว่า ยังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่) ที่เธอต้องทำด้วยความไม่ประมาท. ข้อนี้เพราะเหตุไร ? เพราะเหตุว่า #กิจที่ต้องทำด้วยความไม่ประมาทเธอทำเสร็จแล้ว และ เธอเป็นผู้ไม่อาจที่จะเป็นผู้ประมาทได้อีกต่อไป. ข. สำหรับผู้ยังไม่ถึงที่สุดแห่งทุกข์ --ภิกษุ ท. ! ส่วนภิกษุเหล่าใด เป็น เสขะ มีความประสงค์แห่งใจอันยังไม่บรรลุแล้ว ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่าอยู่; +--ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเหล่านั้น เรากล่าวว่ายังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่) ที่เธอต้องทำด้วยความไม่ประมาท. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? เพราะเหตุว่า ถ้าไฉนท่านผู้มีอายุนี้ จะเสพอยู่ซึ่งเสนาสนะอันสมควร จะคบอยู่ซึ่งกัลยาณมิตร จะบ่มอยู่ซึ่งอินทรีย์ทั้งหลาย ก็จะทำให้แจ้งซึ่งที่สุดแห่งพรหมจรรย์ อันไม่มีอะไรยิ่งกว่า ซึ่งเป็นประโยชน์ที่ต้องการของกุลบุตรผู้ออกบวชจากเรือน ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือนโดยชอบ ได้ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. +--ภิกษุ ท. ! เรามองเห็นผลแห่งความไม่ประมาท ข้อนี้สำหรับภิกษุนี้อยู่ #จึงกล่าวว่ายังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่) ที่เธอนั้นต้องทำด้วยความไม่ประมาท ดังนี้.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ม. ม. 13/178/229. http://etipitaka.com/read/thai/13/178/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%99 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ม. ม. ๑๓/๒๒๘/๒๒๙. http://etipitaka.com/read/pali/13/228/?keywords=%E0%B9%92%E0%B9%92%E0%B9%99 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=981 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84&id=981 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=84 ลำดับสาธยายธรรม : 84 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_84.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - ระบบพรหมจรรย์ทรงแบ่งไว้เป็น ๒ แผนก
    -ระบบพรหมจรรย์ทรงแบ่งไว้เป็น ๒ แผนก ภิกษุ ท. ! เรา ไม่กล่าว สำหรับภิกษุทั้งปวง ว่า ยังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่) ที่จะต้องทำด้วยความไม่ประมาท และเราก็ ไม่กล่าว สำหรับภิกษุทั้งปวงว่า มีกิจอะไร ๆ ที่ไม่ต้องทำด้วยความไม่ประมาท. ก. สำหรับผู้ถึงที่สุดแห่งทุกข์แล้ว ภิกษุ ท. ! ภิกษุเหล่าใด เป็น อรหันต์ขีณาสพ อยู่จบพรหมจรรย์ มีกิจที่ควรทำอันกระทำแล้ว มีภาระอันปลงลงแล้ว มีประโยชน์ตนอันตามถึงแล้ว มีสัญโญชน์ในภพสิ้นไปรอบแล้ว หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ ; ภิกษุ ท. ! สำหรับภิาษุเหล่านั้น เราไม่กล่าวว่า ยังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่) ที่เธอต้องทำด้วยความไม่ประมาท. ข้อนี้เพราะเหตุไร ? เพราะเหตุว่า กิจที่ต้องทำด้วยความไม่ประมาท เธอทำเสร็จแล้ว และเธอเป็นผู้ไม่อาจที่จะเป็นผู้ประมาทได้อีกต่อไป. ข. สำหรับผู้ยังไม่ถึงที่สุดแห่งทุกข์ ภิกษุ ท. ! ส่วนภิกษุเหล่าใด เป็น เสขะ มีความประสงค์แห่งใจอันยังไม่บรรลุแล้ว ปรารถนาอยู่ซึ่งธรรมอันเกษมจากโยคะ ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่าอยู่; ภิกษุ ท. ! สำหรับภิกษุเหล่านั้น เรากล่าวว่ายังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่) ที่เธอต้องทำด้วยความไม่ประมาท. ข้อนั้นเพราะเหตุไร ? เพราะเหตุว่า ถ้าไฉนท่านผู้มีอายุนี้ จะเสพอยู่ซึ่งเสนาสนะอันสมควร จะคบอยู่ซึ่งกัลยาณมิตร จะบ่มอยู่ซึ่งอินทรีย์ทั้งหลาย ก็จะทำให้แจ้งซึ่งที่สุดแห่งพรหมจรรย์ อันไม่มีอะไรยิ่งกว่า ซึ่งเป็นประโยชน์ที่ต้องการของกุลบุตรผู้ออกบวชจากเรือน ไม่เกี่ยวข้องด้วยเรือน โดยชอบ ได้ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฏฐธรรมนี้ เข้าถึงแล้วแลอยู่. ภิกษุ ท. ! เรามองเห็นผลแห่งความไม่ประมาทข้อนี้ สำหรับภิกษุนี้อยู่ จึงกล่าวว่ายังมีกิจอะไรๆ (เหลืออยู่) ที่เธอนั้นต้องทำด้วยความไม่ประมาท ดังนี้.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 158 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts