• อดีตวุฒิสมาชิก นายคำนูณ สิทธิสมาน เขียนบทความสำคัญเรื่อง “เกาะกูดเป็นของไทย ทั้งตัวเกาะ-ทะเลอาณาเขต รัฐอื่นจะลากเส้นผ่ากลางไม่ได้” เนื้อหาระบุว่า

    “ เกาะกูดเป็นของไทยมา 127 ปีแล้ว !

    ตามหนังสือสัญญาระหว่างกรุงสยามกับกรุงฝรั่งเศส ลงวันที่ 23 มีนาคม ค.ศ. 1907 ข้อ 2

    แต่ต้องเข้าใจให้ตรงกันว่าไม่ใช่เพียงแค่ตัวเกาะที่เป็นแผ่นดินโผล่พ้นน้ำและมีน้ำล้อมรอบเท่านั้น หากหมายรวมถึงผืนน้ำโดยรอบทั้งหมด ทั้งส่วนที่ไม่ว่าจะเป็น “ทะเลอาณาเขต”, “เขตต่อเนื่อง”, “เขตเศรษฐกิจจำเพาะ” หรือ “ไหล่ทวีป” ด้วย

    นี่คือประเด็นสำคัญที่สุดของเรื่องนี้

    เพราะเกาะกูดแม้จะเป็น “เกาะ” แต่ในทางกฎหมายระหว่างประเทศที่ยึดถือกันอยู่ในปัจจุบันมีค่าเท่ากับ “แผ่นดิน(ของรัฐชายฝั่ง)” มีอาณาเขตทางทะเลของตนเหมือนกันทุกประการ

    ทั้งนี้ ตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (UNCLOS 1982) ข้อ 121

    การที่กัมพูชาประกาศกฤษฎีกา 439/72/PRK กำหนดเขตไหล่ทวีป เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1972 (พ.ศ. 2515) โดยลากเส้นเขตไหล่ทวีปด้านทิศเหนือผ่ากลางเกาะกูดตรงมายังจุดกึ่งกลางอ่าวไทย ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเขียนแผนที่หรือแผนผังแบบไหนก็ตามใน 3 แบบนี้

    - แบบลากพาดผ่านตัวเกาะตรง ๆ (ก.ต่างประเทศกัมพูชาจัดทำขึ้นประกอบการแถลงข่าวชี้แจงกฤษฎีกา 1972)

    - แบบลากมาหยุดอยู่ที่ตัวเกาะด้านทิศตะวันออก/เว้นตัวเกาะ/แล้วลากต่อออกจากตัวเกาะด้านทิศตะวันตกไปยังกลางอ่าวไทย (แผนที่เดินเรือของกรมอุทกศาสตร์ฝรั่งเศสที่ใช้เป็นแผนที่แนบท้ายกฤษฎีกาฯ 1972)

    - หรือล่าสุด จะเขียนเส้นโค้งเว้าอ้อมประชิดตัวเกาะด้านทิศใต้เป็นรูปตัว U (แผนผังแนบท้าย MOU 2544)

    ล้วนมีค่าเสมอกันทั้งสิ้น

    ผิดทั้งหมด !

    เพราะเป็นการจงใจละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพเหนือดินแดนของประเทศไทย

    รวมทั้งอาจเป็นการแสดงออกทางกฎหมายถึงการรับรู้หรือยอมรับโดยปริยายซึ่งการมีอยู่และคงอยู่ของการจงใจละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพเหนือดินแดนของประเทศไทยดังกล่าว

    การที่ประกาศกฤษฎีกา 1972 ของกัมพูชาอ้างหนังสือสัญญาระหว่างกรุงสยามกับกรุงฝรั่งเศส ค.ศ. 1907 และสัญญาว่าด้วยการปักปันเขตร์แดนติดท้ายหนังสือสัญญา ค.ศ. 1907 ที่มีแผนที่หรือแผนผังต่อท้ายปรากฎเส้นประ (dotted line) จากเกาะกูดถึงแผ่นดินชายฝั่งทะเลจังหวัดตราดเพื่อแสดงจุดเล็งหาหลักเขตที่ 73 อันเป็นหลักเขตสุดท้ายด้านทิศใต้ของการปักปันเขตแดนทางบกระหว่างสยามกับกัมพูขา (อินโดจีนของฝรั่งเศสในปี 1907) โดยระบุเท็จว่ามีการปักปันเขตแดนทางทะเลระหว่างสยามกับฝรั่งเศสแล้ว จากนั้นบนพื้นฐานเท็จดังกล่าวกฤษฎีกาก็กำหนดให้ยอดเขาสูงสุดของเกาะกูดเป็นจุด “S” เพื่อรับช่วงเชื่อมต่อเส้นจากหลักเขตที่ 73 ที่กำหนดไว้เป็นจุด “A” เจือสมให้รับกับความมุ่งหวังให้เขตไหล่ทวีปของประเทศเขามีเส้นฐานตรง (Straight baseline) ลากตรงไปยังกึ่งกลางอ่าวไทยที่จุด ”P” ด้านหนึ่งเป็นการบิดเบือนข้อเท็จจริงโดยสิ้นเชิง แต่อีกด้านหนึ่งก็เป็นการเปลือยให้เห็นเจตนาที่แท้จริงของรัฐบาลเพื่อนบ้านเราเมื่อ 52 ปีก่อน

    แท้จริงแล้ว เป็นการเสกสรรค์ปั้นแต่งเรื่องหาช่องเพื่อสนองเจตนาหวัง “ฮุบ” ทรัพยากรปิโตรเลี่ยมใต้อ่าวไทยเป็นสำคัญ !

    ถ้าไม่มีเส้นเขตไหล่ทวีปแนว “A-S-P” ที่ผ่ากลางเกาะกูดมาจบที่กึ่งกลางอ่าวไทยก่อนวกลงใต้ ก็ไม่สามารถสนองเจตนา ”ฮุบ“ ทรัพยากรกลางอ่าวไทยได้

    นายพลลอนนอล ประธานาธิบดีกัมพูชายุคนั้น เคยชี้แจงกับจอมพลประภาส จารุเสถียรเมื่อปี 2515-2516 ว่าเป็นการลากเส้นที่เจ้าหน้าที่ทางเทคนิคและบริษัทเอกชนตะวันตกที่ขอสัมปทานผลิตปิโตรเลี่ยมเสนอมา ทั้งนี้ จากการบอกเล่าของพล.ร.อ.ถนอม เจริญลาภ ผู้เชี่ยวชาญด้านเขตแดนไทย-กัมพูชาที่อยู่ในคณะกรรมการพลายชุด (ปัจจุบันเสียชีวิตแล้ว) ต่อสาธารณะ ณ สยามสมาคม เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2554

    นี่คือกระดุมเม็ดแรกที่จงใจกลัดผิด !

    ประเทศไทยดำเนินการตอบโต้มาโดยตลอดเป็นขั้นตอน เริ่มตั้งแต่มีประกาศพระบรมราชโองการกำหนดเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 (ค.ศ. 1973) ตามด้วยการตั้งประภาคารและกระโจมไฟบนเกาะกูดรวม 6 จุด เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2517 รวมทั้งการส่งกำลังทางทหารเข้าประจำการและลาดตระเวนเพื่อรักษาอธิปไตยทั้งบนตัวเกาะและน่านน้ำโดยรอบ กำลังทหารยังคงทำหน้าที่อย่างเข้มแข็งมาจนทุกวันนี้ โดยกองทัพเรือได้จัดตั้งหน่วยตรวจการพิเศษที่ 1 ขึ้นบนเกาะกูดเมื่อปี 2521 และเปลี่ยนชื่อเป็น “หน่วยปฏิบัติการเกาะกูด” (อักษรย่อ “นปก.”) เมื่อปี 2529 เป็นกองกำลังเฉพาะกิจอยู่ภายใต้หน่วยบัญชาการต่อสู้อากาศยานและรักษาฝั่ง (สอ.รฝ.) ขึ้นตรงทางยุทธการกับกองบัญชาการป้องกันชายแดนจันทบุรีและตราด

    “นปก.เกาะกูด” มีการซ้อมรบทางยุทธวิธีเป็นประจำทุกปี ล่าสุดก็เมื่อเดือนมีนาคม 2567 นี้

    อย่างไรก็ดี การที่ทั้งกัมพูชาและไทยต่างประกาศเขตพื้นที่ไหล่ทวีปของตนออกมาในปี 1972 และ 1973 โดยมีความแตกต่างกันจึงก่อให้เกิดผลโดยธรรมชาติในประการสำคัญ

    เกิดสิ่งที่เรียกว่า “พื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อน” หรือ OCA ขึ้นมา

    แต่แม้จะเป็นผลที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ แต่ประเทศไทยก็ไม่เคยยอมรับอย่างเป็นทางการที่สามารถนำไปอ้างอิงทางกฎหมายได้ว่ามีพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อนในอ่าวไทย

    จาก “ฮุบ” กัมพูชาแปรมาเป็น “ฮั้ว” ในเวลาต่อมา !

    นั่นคือนับแต่มีความสงบในแผ่นดินตามสมควรในช่วงทศวรรษที่ 2530 กัมพูชาได้เริ่มกระบวนการเจรจาปัญหาเขตพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อนกับประเทศไทย

    โดยหลักคือขอแบ่งผลประโยชน์กัน ไม่ต้องพูดเรื่องเขตแดน

    ไม่ใช่แบ่งตัวเกาะกูดที่เป็นแผ่นดินโผล่พ้นน้ำและมีน้ำล้อมรอบ แต่เป็นการแบ่งทรัพยาการปิโตรเลี่ยมใต้ท้องทะเลในพื้นที่อ้างสิทธิในเขตไหล่ทวีปที่แตกต่างและทับซ้อนกันของ 2 ประเทศ ระหว่างเส้น 1972 ของกัมพูชา กับเส้น 1973 ของไทย เป็นพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 26,000 ตารางกิโลเมตร

    ไทยตอบสนองยอมรับการเจรจาด้วยเหตุผลอย่างน้อย 3 ประการ ประการหนึ่ง เป็นประเทศเพื่อนบ้านพรมแดนประชิดติดกันเมื่อมีปัญหาใดก็ต้องพูดคุยกัน ประการสอง ไทยเองทางฟากฝั่งหน่วยงานด้านพลังงานก็ต้องการนำทรัพยากรปิโตรเลี่ยมขึ้นมาใช้เช่นกัน และประการสุดท้ายที่สำคัญมากเช่นกัน คือ ไทยทางฟากฝั่งกระทรวงการต่างประเทศต้องการเคลียร์เรื่องเส้นกำหนดเขตไหล่ทวีป 1972 ของกัมพูชาที่ผ่ากลางเกาะกูดตรงไปกลางอ่าวไทย ภาษาของคนทำงานด้านการต่างประเทศคือ…

    “พยายามเอาเส้น 1972 ลงให้ได้”

    การเจรจาเกิดขึ้นหลายยก

    แต่ไม่คืบหน้า เพราะกัมพูชายืนยันจะพูดแต่เรื่องแบ่งผลประโยชน์ ไม่พูดเรื่องเส้นเขตไหล่ทวีป 1972 ที่ละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพเหนือดินแดนของประเทศไทย

    โดนรุกหนัก ๆ ก็บอกว่าตามรัฐธรรมนูญกัมพูชา ค.ศ. 1993 ห้ามเปลี่ยนแปลงเขตแดน

    พอจะกล่าวได้ว่าคืบหน้ามากที่สุดคือเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2544 (ค.ศ. 2001) ไทยกับกัมพูชาได้ลงนามใน “บันทึกความเข้าใจร่วมระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแห่งราขอาณาจักรกัมพูชาว่าด้วยพื้นที่ที่ไทยและกัมพูชาอ้างสิทธิในไหล่ทวีปทับซ้อนกัน พ.ศ. 2544“ หรือ “MOU 2544” ที่มีแผนผังจำลองเส้นเขตไหล่ทวีป 1972 ของกัมพูชาเขียนแบบใหม่อ้อมประชิดเกาะกูดทางทิศใต้เป็นรูปตัว U

    วันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2544 เป็นหมุดหมายทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญมาก เพราะในมุมมองหนึ่งเสมือนเป็นครั้งแรกที่รัฐไทยยอมรับอย่างเป็นทางการถึงการมีอยู่ของพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อน รวมทั้งการมีอยู่ของเขตไหล่ทวีป 1972 ของกัมพูชา

    MOU 2544 จะเป็นความคืบหน้าในทางบวกหรือลบกับประเทศไทย ถูกหรือผิด นี่เป็นประเด็นวิวาทะกันมายาวนานกว่า 20 ปี

    แม้แต่คณะรัฐมนตรีก็เคยมีมติเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2552 ให้ยกเลิก MOU 2544 ไปแล้วครั้งหนึ่ง แต่ไม่ได้ดำเนินการยกเลิกจริง ๆ ในที่สุด

    หมุดหมายทางประวัติศาสตร์ที่มีนัยสำคัญของปัญหานี้ผ่านมา 23 ปี ลูกสาวของนายกรัฐมนตรีคนที่ทำ MOU 2544 กับกัมพูชาได้ขึ้นมาเป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย วิวาทะเดิมเกิดขึ้นอีกครั้ง

    ไม่ว่าจะอย่างไร MOU 2544 คือทางตัน ไม่ใช่ทางออกของปัญหาแน่ แต่อาจเป็นได้แค่ทางออกจากตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีด้วยซ้ำ

    หากถามแบรวบยอดขอข้อสรุปสั้น ๆ ว่าทางออกของปัญหาคืออะไร

    ขอฟันธงว่าต้องแก้ที่ต้นเหตุ !

    ทางแก้มีหนึ่งเดียวเป็นปฐมบท คือก่อนเดินหน้าเจรจาใด ๆ เกี่ยวกับทรัพยากรปิโตรเลี่ยมใต้อ่าวไทย ประเทศไทยต้องขอตรง ๆ ให้กัมพูชาปลดกระดุมเม็ดแรกที่จงใจกลัดผิดเมื่อปี 1972 ออกเสียก่อน

    ยกเลิกกฤษฎีกา 439/72/PRK กำหนดเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย ค.ศ. 1972 เสีย

    แล้วดำเนินการประกาศกฤษฎีกากำหนดเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาด้านอ่าวไทยเสียใหม่ที่ไม่เป็นการละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพเหนือดินแดนของไทย โดยให้เป็นไปตามหลักการในบทบัญญัติแห่งอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982

    หากเขตไหล่ทวีปที่กำหนดใหม่นั้นยังคงมีความแตกต่างกับเขตไหล่ทวีปของประเทศไทยที่มีประกาศพระบรมราชโองการไว้เมื่อปี 2516 และยังคงมีพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อนเหลืออยู่ หากไทยพิจารณาแล้วเห็นว่าประกาศกฤษฎีกากำหนดเขตไหล่ทวีปใหม่นั้นไม่เป็นการละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพแห่งดินแดนของประเทศไทย จึงค่อยพิจารณาหาหนทางเจรจากัน ทั้งการปักปันเขตแดนทางทะเล รวมทั้งการบริหารจัดการทรัพยากรปิโตรเลี่ยมใต้ทะเลในบริเวณพื้นที่ทับซ้อนที่ยังเหลืออยู่นั้น

    เอาเส้นฮุบปิโตรเลี่ยม 1972 ลงก่อน แล้วค่อยคุยกัน - ว่างั้นเถอะ !

    หากกัมพูชาไม่อาจแก้ไขการกระทำที่ผิดในอดีต ก็ไม่มีเหตุใดให้ประเทศไทยต้องไปเจรจาด้วยในเรื่องนี้

    ที่มา https://www.isranews.org/article/isranews-article/132953-thai-3.html?fbclid=IwZXh0bgNhZW0CMTEAAR0Y2pOmFG6gs__qtC3DLdEJhxo-f2CSzSda_vFloiUYKIrhaV-5FbhP3-k_aem_SPiVtR0CAy5ruurc2LQGTA

    #Thaitimes
    อดีตวุฒิสมาชิก นายคำนูณ สิทธิสมาน เขียนบทความสำคัญเรื่อง “เกาะกูดเป็นของไทย ทั้งตัวเกาะ-ทะเลอาณาเขต รัฐอื่นจะลากเส้นผ่ากลางไม่ได้” เนื้อหาระบุว่า “ เกาะกูดเป็นของไทยมา 127 ปีแล้ว ! ตามหนังสือสัญญาระหว่างกรุงสยามกับกรุงฝรั่งเศส ลงวันที่ 23 มีนาคม ค.ศ. 1907 ข้อ 2 แต่ต้องเข้าใจให้ตรงกันว่าไม่ใช่เพียงแค่ตัวเกาะที่เป็นแผ่นดินโผล่พ้นน้ำและมีน้ำล้อมรอบเท่านั้น หากหมายรวมถึงผืนน้ำโดยรอบทั้งหมด ทั้งส่วนที่ไม่ว่าจะเป็น “ทะเลอาณาเขต”, “เขตต่อเนื่อง”, “เขตเศรษฐกิจจำเพาะ” หรือ “ไหล่ทวีป” ด้วย นี่คือประเด็นสำคัญที่สุดของเรื่องนี้ เพราะเกาะกูดแม้จะเป็น “เกาะ” แต่ในทางกฎหมายระหว่างประเทศที่ยึดถือกันอยู่ในปัจจุบันมีค่าเท่ากับ “แผ่นดิน(ของรัฐชายฝั่ง)” มีอาณาเขตทางทะเลของตนเหมือนกันทุกประการ ทั้งนี้ ตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (UNCLOS 1982) ข้อ 121 การที่กัมพูชาประกาศกฤษฎีกา 439/72/PRK กำหนดเขตไหล่ทวีป เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1972 (พ.ศ. 2515) โดยลากเส้นเขตไหล่ทวีปด้านทิศเหนือผ่ากลางเกาะกูดตรงมายังจุดกึ่งกลางอ่าวไทย ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเขียนแผนที่หรือแผนผังแบบไหนก็ตามใน 3 แบบนี้ - แบบลากพาดผ่านตัวเกาะตรง ๆ (ก.ต่างประเทศกัมพูชาจัดทำขึ้นประกอบการแถลงข่าวชี้แจงกฤษฎีกา 1972) - แบบลากมาหยุดอยู่ที่ตัวเกาะด้านทิศตะวันออก/เว้นตัวเกาะ/แล้วลากต่อออกจากตัวเกาะด้านทิศตะวันตกไปยังกลางอ่าวไทย (แผนที่เดินเรือของกรมอุทกศาสตร์ฝรั่งเศสที่ใช้เป็นแผนที่แนบท้ายกฤษฎีกาฯ 1972) - หรือล่าสุด จะเขียนเส้นโค้งเว้าอ้อมประชิดตัวเกาะด้านทิศใต้เป็นรูปตัว U (แผนผังแนบท้าย MOU 2544) ล้วนมีค่าเสมอกันทั้งสิ้น ผิดทั้งหมด ! เพราะเป็นการจงใจละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพเหนือดินแดนของประเทศไทย รวมทั้งอาจเป็นการแสดงออกทางกฎหมายถึงการรับรู้หรือยอมรับโดยปริยายซึ่งการมีอยู่และคงอยู่ของการจงใจละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพเหนือดินแดนของประเทศไทยดังกล่าว การที่ประกาศกฤษฎีกา 1972 ของกัมพูชาอ้างหนังสือสัญญาระหว่างกรุงสยามกับกรุงฝรั่งเศส ค.ศ. 1907 และสัญญาว่าด้วยการปักปันเขตร์แดนติดท้ายหนังสือสัญญา ค.ศ. 1907 ที่มีแผนที่หรือแผนผังต่อท้ายปรากฎเส้นประ (dotted line) จากเกาะกูดถึงแผ่นดินชายฝั่งทะเลจังหวัดตราดเพื่อแสดงจุดเล็งหาหลักเขตที่ 73 อันเป็นหลักเขตสุดท้ายด้านทิศใต้ของการปักปันเขตแดนทางบกระหว่างสยามกับกัมพูขา (อินโดจีนของฝรั่งเศสในปี 1907) โดยระบุเท็จว่ามีการปักปันเขตแดนทางทะเลระหว่างสยามกับฝรั่งเศสแล้ว จากนั้นบนพื้นฐานเท็จดังกล่าวกฤษฎีกาก็กำหนดให้ยอดเขาสูงสุดของเกาะกูดเป็นจุด “S” เพื่อรับช่วงเชื่อมต่อเส้นจากหลักเขตที่ 73 ที่กำหนดไว้เป็นจุด “A” เจือสมให้รับกับความมุ่งหวังให้เขตไหล่ทวีปของประเทศเขามีเส้นฐานตรง (Straight baseline) ลากตรงไปยังกึ่งกลางอ่าวไทยที่จุด ”P” ด้านหนึ่งเป็นการบิดเบือนข้อเท็จจริงโดยสิ้นเชิง แต่อีกด้านหนึ่งก็เป็นการเปลือยให้เห็นเจตนาที่แท้จริงของรัฐบาลเพื่อนบ้านเราเมื่อ 52 ปีก่อน แท้จริงแล้ว เป็นการเสกสรรค์ปั้นแต่งเรื่องหาช่องเพื่อสนองเจตนาหวัง “ฮุบ” ทรัพยากรปิโตรเลี่ยมใต้อ่าวไทยเป็นสำคัญ ! ถ้าไม่มีเส้นเขตไหล่ทวีปแนว “A-S-P” ที่ผ่ากลางเกาะกูดมาจบที่กึ่งกลางอ่าวไทยก่อนวกลงใต้ ก็ไม่สามารถสนองเจตนา ”ฮุบ“ ทรัพยากรกลางอ่าวไทยได้ นายพลลอนนอล ประธานาธิบดีกัมพูชายุคนั้น เคยชี้แจงกับจอมพลประภาส จารุเสถียรเมื่อปี 2515-2516 ว่าเป็นการลากเส้นที่เจ้าหน้าที่ทางเทคนิคและบริษัทเอกชนตะวันตกที่ขอสัมปทานผลิตปิโตรเลี่ยมเสนอมา ทั้งนี้ จากการบอกเล่าของพล.ร.อ.ถนอม เจริญลาภ ผู้เชี่ยวชาญด้านเขตแดนไทย-กัมพูชาที่อยู่ในคณะกรรมการพลายชุด (ปัจจุบันเสียชีวิตแล้ว) ต่อสาธารณะ ณ สยามสมาคม เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2554 นี่คือกระดุมเม็ดแรกที่จงใจกลัดผิด ! ประเทศไทยดำเนินการตอบโต้มาโดยตลอดเป็นขั้นตอน เริ่มตั้งแต่มีประกาศพระบรมราชโองการกำหนดเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 (ค.ศ. 1973) ตามด้วยการตั้งประภาคารและกระโจมไฟบนเกาะกูดรวม 6 จุด เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2517 รวมทั้งการส่งกำลังทางทหารเข้าประจำการและลาดตระเวนเพื่อรักษาอธิปไตยทั้งบนตัวเกาะและน่านน้ำโดยรอบ กำลังทหารยังคงทำหน้าที่อย่างเข้มแข็งมาจนทุกวันนี้ โดยกองทัพเรือได้จัดตั้งหน่วยตรวจการพิเศษที่ 1 ขึ้นบนเกาะกูดเมื่อปี 2521 และเปลี่ยนชื่อเป็น “หน่วยปฏิบัติการเกาะกูด” (อักษรย่อ “นปก.”) เมื่อปี 2529 เป็นกองกำลังเฉพาะกิจอยู่ภายใต้หน่วยบัญชาการต่อสู้อากาศยานและรักษาฝั่ง (สอ.รฝ.) ขึ้นตรงทางยุทธการกับกองบัญชาการป้องกันชายแดนจันทบุรีและตราด “นปก.เกาะกูด” มีการซ้อมรบทางยุทธวิธีเป็นประจำทุกปี ล่าสุดก็เมื่อเดือนมีนาคม 2567 นี้ อย่างไรก็ดี การที่ทั้งกัมพูชาและไทยต่างประกาศเขตพื้นที่ไหล่ทวีปของตนออกมาในปี 1972 และ 1973 โดยมีความแตกต่างกันจึงก่อให้เกิดผลโดยธรรมชาติในประการสำคัญ เกิดสิ่งที่เรียกว่า “พื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อน” หรือ OCA ขึ้นมา แต่แม้จะเป็นผลที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ แต่ประเทศไทยก็ไม่เคยยอมรับอย่างเป็นทางการที่สามารถนำไปอ้างอิงทางกฎหมายได้ว่ามีพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อนในอ่าวไทย จาก “ฮุบ” กัมพูชาแปรมาเป็น “ฮั้ว” ในเวลาต่อมา ! นั่นคือนับแต่มีความสงบในแผ่นดินตามสมควรในช่วงทศวรรษที่ 2530 กัมพูชาได้เริ่มกระบวนการเจรจาปัญหาเขตพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อนกับประเทศไทย โดยหลักคือขอแบ่งผลประโยชน์กัน ไม่ต้องพูดเรื่องเขตแดน ไม่ใช่แบ่งตัวเกาะกูดที่เป็นแผ่นดินโผล่พ้นน้ำและมีน้ำล้อมรอบ แต่เป็นการแบ่งทรัพยาการปิโตรเลี่ยมใต้ท้องทะเลในพื้นที่อ้างสิทธิในเขตไหล่ทวีปที่แตกต่างและทับซ้อนกันของ 2 ประเทศ ระหว่างเส้น 1972 ของกัมพูชา กับเส้น 1973 ของไทย เป็นพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 26,000 ตารางกิโลเมตร ไทยตอบสนองยอมรับการเจรจาด้วยเหตุผลอย่างน้อย 3 ประการ ประการหนึ่ง เป็นประเทศเพื่อนบ้านพรมแดนประชิดติดกันเมื่อมีปัญหาใดก็ต้องพูดคุยกัน ประการสอง ไทยเองทางฟากฝั่งหน่วยงานด้านพลังงานก็ต้องการนำทรัพยากรปิโตรเลี่ยมขึ้นมาใช้เช่นกัน และประการสุดท้ายที่สำคัญมากเช่นกัน คือ ไทยทางฟากฝั่งกระทรวงการต่างประเทศต้องการเคลียร์เรื่องเส้นกำหนดเขตไหล่ทวีป 1972 ของกัมพูชาที่ผ่ากลางเกาะกูดตรงไปกลางอ่าวไทย ภาษาของคนทำงานด้านการต่างประเทศคือ… “พยายามเอาเส้น 1972 ลงให้ได้” การเจรจาเกิดขึ้นหลายยก แต่ไม่คืบหน้า เพราะกัมพูชายืนยันจะพูดแต่เรื่องแบ่งผลประโยชน์ ไม่พูดเรื่องเส้นเขตไหล่ทวีป 1972 ที่ละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพเหนือดินแดนของประเทศไทย โดนรุกหนัก ๆ ก็บอกว่าตามรัฐธรรมนูญกัมพูชา ค.ศ. 1993 ห้ามเปลี่ยนแปลงเขตแดน พอจะกล่าวได้ว่าคืบหน้ามากที่สุดคือเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2544 (ค.ศ. 2001) ไทยกับกัมพูชาได้ลงนามใน “บันทึกความเข้าใจร่วมระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแห่งราขอาณาจักรกัมพูชาว่าด้วยพื้นที่ที่ไทยและกัมพูชาอ้างสิทธิในไหล่ทวีปทับซ้อนกัน พ.ศ. 2544“ หรือ “MOU 2544” ที่มีแผนผังจำลองเส้นเขตไหล่ทวีป 1972 ของกัมพูชาเขียนแบบใหม่อ้อมประชิดเกาะกูดทางทิศใต้เป็นรูปตัว U วันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2544 เป็นหมุดหมายทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญมาก เพราะในมุมมองหนึ่งเสมือนเป็นครั้งแรกที่รัฐไทยยอมรับอย่างเป็นทางการถึงการมีอยู่ของพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อน รวมทั้งการมีอยู่ของเขตไหล่ทวีป 1972 ของกัมพูชา MOU 2544 จะเป็นความคืบหน้าในทางบวกหรือลบกับประเทศไทย ถูกหรือผิด นี่เป็นประเด็นวิวาทะกันมายาวนานกว่า 20 ปี แม้แต่คณะรัฐมนตรีก็เคยมีมติเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2552 ให้ยกเลิก MOU 2544 ไปแล้วครั้งหนึ่ง แต่ไม่ได้ดำเนินการยกเลิกจริง ๆ ในที่สุด หมุดหมายทางประวัติศาสตร์ที่มีนัยสำคัญของปัญหานี้ผ่านมา 23 ปี ลูกสาวของนายกรัฐมนตรีคนที่ทำ MOU 2544 กับกัมพูชาได้ขึ้นมาเป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย วิวาทะเดิมเกิดขึ้นอีกครั้ง ไม่ว่าจะอย่างไร MOU 2544 คือทางตัน ไม่ใช่ทางออกของปัญหาแน่ แต่อาจเป็นได้แค่ทางออกจากตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีด้วยซ้ำ หากถามแบรวบยอดขอข้อสรุปสั้น ๆ ว่าทางออกของปัญหาคืออะไร ขอฟันธงว่าต้องแก้ที่ต้นเหตุ ! ทางแก้มีหนึ่งเดียวเป็นปฐมบท คือก่อนเดินหน้าเจรจาใด ๆ เกี่ยวกับทรัพยากรปิโตรเลี่ยมใต้อ่าวไทย ประเทศไทยต้องขอตรง ๆ ให้กัมพูชาปลดกระดุมเม็ดแรกที่จงใจกลัดผิดเมื่อปี 1972 ออกเสียก่อน ยกเลิกกฤษฎีกา 439/72/PRK กำหนดเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย ค.ศ. 1972 เสีย แล้วดำเนินการประกาศกฤษฎีกากำหนดเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาด้านอ่าวไทยเสียใหม่ที่ไม่เป็นการละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพเหนือดินแดนของไทย โดยให้เป็นไปตามหลักการในบทบัญญัติแห่งอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 หากเขตไหล่ทวีปที่กำหนดใหม่นั้นยังคงมีความแตกต่างกับเขตไหล่ทวีปของประเทศไทยที่มีประกาศพระบรมราชโองการไว้เมื่อปี 2516 และยังคงมีพื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อนเหลืออยู่ หากไทยพิจารณาแล้วเห็นว่าประกาศกฤษฎีกากำหนดเขตไหล่ทวีปใหม่นั้นไม่เป็นการละเมิดอธิปไตยและบูรณภาพแห่งดินแดนของประเทศไทย จึงค่อยพิจารณาหาหนทางเจรจากัน ทั้งการปักปันเขตแดนทางทะเล รวมทั้งการบริหารจัดการทรัพยากรปิโตรเลี่ยมใต้ทะเลในบริเวณพื้นที่ทับซ้อนที่ยังเหลืออยู่นั้น เอาเส้นฮุบปิโตรเลี่ยม 1972 ลงก่อน แล้วค่อยคุยกัน - ว่างั้นเถอะ ! หากกัมพูชาไม่อาจแก้ไขการกระทำที่ผิดในอดีต ก็ไม่มีเหตุใดให้ประเทศไทยต้องไปเจรจาด้วยในเรื่องนี้ ที่มา https://www.isranews.org/article/isranews-article/132953-thai-3.html?fbclid=IwZXh0bgNhZW0CMTEAAR0Y2pOmFG6gs__qtC3DLdEJhxo-f2CSzSda_vFloiUYKIrhaV-5FbhP3-k_aem_SPiVtR0CAy5ruurc2LQGTA #Thaitimes
    WWW.ISRANEWS.ORG
    เกาะกูดเป็นของไทย ทั้งตัวเกาะ-ทะเลอาณาเขต รัฐอื่นจะลากเส้นผ่ากลางไม่ได้
    ประเทศไทยดำเนินการตอบโต้มาโดยตลอดเป็นขั้นตอน เริ่มตั้งแต่มีประกาศพระบรมราชโองการกำหนดเขตไหล่ทวีปด้านอ่าวไทย เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 (ค.ศ. 1973) ตามด้วยการตั้งประภาคารและกระโจมไฟบนเกาะกูดรวม 6 จุด เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2517 รวมทั้งการส่งกำลังทางทหารเข้าประจำการและลาดตระเวนเพื่อรักษาอธิปไตยทั้งบนตัวเกาะและน่านน้ำโดยรอบ กำลังทหารยังคงทำหน้าที่อย่างเข้มแข็งมาจนทุกวันนี้ โดยกองทัพเรือได้จัดตั้งหน่วยตรวจการพิเศษที่ 1 ขึ้นบนเกาะกูดเมื่อปี 2521 และเปลี่ยนชื่อเป็น “หน่วยปฏิบัติการเกาะกูด” (อักษรย่อ “นปก.”) เมื่อปี 2529 เป็นกองกำลังเฉพาะกิจอยู่ภายใต้หน่วยบัญชาการต่อสู้อากาศยานและรักษาฝั่ง (สอ.รฝ.) ขึ้นตรงทางยุทธการกับกองบัญชาการป้องกันชายแดนจันทบุรีและตราด
    Love
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 334 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 6 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 6 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 6 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 6 มุมมอง 0 รีวิว
  • ภาพวิดีโอเจ้าหน้าที่รัสเซียในกรุงมอสโก กำลังพังประตูเพื่อบุกจับกุมผู้อพยพเข้าเมืองอย่างผิดกฎหมาย
    ภาพวิดีโอเจ้าหน้าที่รัสเซียในกรุงมอสโก กำลังพังประตูเพื่อบุกจับกุมผู้อพยพเข้าเมืองอย่างผิดกฎหมาย
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 63 มุมมอง 29 0 รีวิว

  • ..การล่มสลายเริ่มจากสิ่งนี้อย่างเป็นทางการ ยุโรปเริ่มพังทั้งยุโรปอย่างเป็นรูปธรรม&เปิดเผย แล้วกระจายลุกลามถึงเอเชียอาเชียนที่เราเห็นๆในปัจจุบัน.
    ..ฟ้าเรารู้สิ่งนี้ดี จึงปฏิเสธการเข้าร่วมตามที่เป็นข่าว ราชินีกิ่งก่า น่าไปตรงไหน ตัวจริงตายนานแล้วด้วย เขาเก็บนานแล้ว รวมท่านลอร์ดต่างๆด้วย.

    ..จากอดีต คนข่าวเล่าว่า
    Healthความคิด...

    ☠งานศพของราชินีเป็นสัญลักษณ์ของการล่มสลายของคับบาลาห์: ตายแล้วถูกฝัง

    💥จำไว้ว่าก้อนหินแห่งจอร์เจียตกลงมาได้อย่างไร สัญลักษณ์ที่มองเห็นได้ของการทำลายล้างแผนโลกาภิวัตน์ของซาตาน

    👉 มีการแสดงความคิดเห็นด้วยว่าจิตรกรรมฝาผนังซาตานที่สนามบินเดนเวอร์หายไป (หนึ่งในเด็กจากทั่วทุกมุมโลกที่มีธงปากกระบอกปืนของแต่ละประเทศ) (ไม่ยืนยัน)

    ⚡️วันนี้สมาชิกของ Dark Cabal จะมาพบกันที่ลอนดอน บางทีอาจจะพยายามตกลงกันว่าจะรื้อฟื้นโครงการที่ล้มเหลวในการครอบครองโลกและการปราบปรามมนุษยชาติ บางทีอาจจะลองพิธีกรรมอันมืดมน...หรือบางทีอาจจะเห็นด้วยกับการยอมจำนนทั้งหมดของพวกเขา และลองเจรจาเงื่อนไขที่เป็นประโยชน์สำหรับพวกเขา 🔥

    เราต้องการให้พวกเขาออกไปจากโลกนี้โดยเร็วที่สุด

    ⚡️ไม่ว่าในกรณีใด ราชินีของพวกเขาจะไม่ปรากฏต่อสาธารณะอีกต่อไป แต่หัวของสัตว์ร้ายสองตัวยังคงอยู่ในแกลเลอรี (วาติกันและดีซี)

    😎มาดูกันว่าตั้งแต่วันนี้จะเกิดอะไรขึ้น... ⚡️

    โดยส่วนตัวแล้ว ฉันพนันได้เลยว่าความสมดุลจะเอียงไปทางกิจกรรม GOOD อย่างเห็นได้ชัด 🍿Kat
    ...
    ..การล่มสลายเริ่มจากสิ่งนี้อย่างเป็นทางการ ยุโรปเริ่มพังทั้งยุโรปอย่างเป็นรูปธรรม&เปิดเผย แล้วกระจายลุกลามถึงเอเชียอาเชียนที่เราเห็นๆในปัจจุบัน. ..ฟ้าเรารู้สิ่งนี้ดี จึงปฏิเสธการเข้าร่วมตามที่เป็นข่าว ราชินีกิ่งก่า น่าไปตรงไหน ตัวจริงตายนานแล้วด้วย เขาเก็บนานแล้ว รวมท่านลอร์ดต่างๆด้วย. ..จากอดีต คนข่าวเล่าว่า Healthความคิด... ☠งานศพของราชินีเป็นสัญลักษณ์ของการล่มสลายของคับบาลาห์: ตายแล้วถูกฝัง 💥จำไว้ว่าก้อนหินแห่งจอร์เจียตกลงมาได้อย่างไร สัญลักษณ์ที่มองเห็นได้ของการทำลายล้างแผนโลกาภิวัตน์ของซาตาน 👉 มีการแสดงความคิดเห็นด้วยว่าจิตรกรรมฝาผนังซาตานที่สนามบินเดนเวอร์หายไป (หนึ่งในเด็กจากทั่วทุกมุมโลกที่มีธงปากกระบอกปืนของแต่ละประเทศ) (ไม่ยืนยัน) ⚡️วันนี้สมาชิกของ Dark Cabal จะมาพบกันที่ลอนดอน บางทีอาจจะพยายามตกลงกันว่าจะรื้อฟื้นโครงการที่ล้มเหลวในการครอบครองโลกและการปราบปรามมนุษยชาติ บางทีอาจจะลองพิธีกรรมอันมืดมน...หรือบางทีอาจจะเห็นด้วยกับการยอมจำนนทั้งหมดของพวกเขา และลองเจรจาเงื่อนไขที่เป็นประโยชน์สำหรับพวกเขา 🔥 เราต้องการให้พวกเขาออกไปจากโลกนี้โดยเร็วที่สุด ⚡️ไม่ว่าในกรณีใด ราชินีของพวกเขาจะไม่ปรากฏต่อสาธารณะอีกต่อไป แต่หัวของสัตว์ร้ายสองตัวยังคงอยู่ในแกลเลอรี (วาติกันและดีซี) 😎มาดูกันว่าตั้งแต่วันนี้จะเกิดอะไรขึ้น... ⚡️ โดยส่วนตัวแล้ว ฉันพนันได้เลยว่าความสมดุลจะเอียงไปทางกิจกรรม GOOD อย่างเห็นได้ชัด 🍿Kat ...
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 31 มุมมอง 0 รีวิว
  • ผบ.ตร.เผยพร้อมสนับสนุนดีเอสไอหลังรับโอนคดี "ดิไอคอน" เป็นคดีพิเศษ สั่งเร่งรัดผลสอบข้อเท็จจริงบอสตำรวจ ยันผิดก็ว่าไปตามผิดไม่มีปกป้อง

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000104700

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    ผบ.ตร.เผยพร้อมสนับสนุนดีเอสไอหลังรับโอนคดี "ดิไอคอน" เป็นคดีพิเศษ สั่งเร่งรัดผลสอบข้อเท็จจริงบอสตำรวจ ยันผิดก็ว่าไปตามผิดไม่มีปกป้อง อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000104700 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Love
    12
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 2921 มุมมอง 0 รีวิว
  • 💥💥30/10/2567 ตลาดหุ้นไทย
    สิ่งที่น่าสนใจวันนี้คือ นักลงทุนต่างประเทศ
    คือ ผู้ขายหุ้นไทยหลักๆในวันนี้

    ส่วนผู้ซื้อหุ้นไทยหลักๆในวันนี้ คือ นักลงทุนในประเทศ
    สมทบการซื้อด้วย นักลงทุนสถาบัน หรือ กองทุน
    และ โบรกเกอร์

    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #SET #ตลาดหุ้นไทย
    #thaitimes
    💥💥30/10/2567 ตลาดหุ้นไทย สิ่งที่น่าสนใจวันนี้คือ นักลงทุนต่างประเทศ คือ ผู้ขายหุ้นไทยหลักๆในวันนี้ ส่วนผู้ซื้อหุ้นไทยหลักๆในวันนี้ คือ นักลงทุนในประเทศ สมทบการซื้อด้วย นักลงทุนสถาบัน หรือ กองทุน และ โบรกเกอร์ #หุ้นติดดอย #การลงทุน #SET #ตลาดหุ้นไทย #thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 227 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 44 มุมมอง 16 0 รีวิว
  • ย้อนประวัติ “ทนายตั้ม” ษิทรา เบี้ยบังเกิด (30/10/67) #news1 #ทนายตั้ม #ษิทราเบี้ยบังเกิด #ทนายคนดัง
    ย้อนประวัติ “ทนายตั้ม” ษิทรา เบี้ยบังเกิด (30/10/67) #news1 #ทนายตั้ม #ษิทราเบี้ยบังเกิด #ทนายคนดัง
    Like
    Haha
    Yay
    Love
    Sad
    23
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 2061 มุมมอง 760 0 รีวิว
  • "ทนายบอสพอล" เยี่ยมลูกความพบกำลังใจดี พูดคุยการต่อสู้คดี แจงเข้าระบบข้อมูลหลังบ้าน "ดิไอคอน" ได้แล้ว เตรียมรวบรวมพยานฝั่งผู้ต้องหาให้ปากคำ

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000104714

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    "ทนายบอสพอล" เยี่ยมลูกความพบกำลังใจดี พูดคุยการต่อสู้คดี แจงเข้าระบบข้อมูลหลังบ้าน "ดิไอคอน" ได้แล้ว เตรียมรวบรวมพยานฝั่งผู้ต้องหาให้ปากคำ อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000104714 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Haha
    Angry
    Sad
    15
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 2963 มุมมอง 0 รีวิว
  • Like
    Love
    2
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 52 มุมมอง 0 รีวิว
  • ..เขาเล่าว่า พวกนี้ยังมีชีวิตอยู่ ได้รับการรักษาตัว&ตน คงสภาพร่างกายไว้ ด้วยเตียงล้ำๆนี้ "MEDBEDS" ก็ว่า.,หลอกตายเพื่อหนีการไล่ล่าสั่งตายที่ไปรู้ความลับฝ่ายไม่ดี เพื่อกลับมาเป็นพยาน&เปิดตัว&เปิดเผยค่าจริงทั้งหมดแก่ชาวโลก ว่าพวกซาตานชั่วเลวจริงขนาดไหน,บอกค่าจริงแก่โลก.
    ..เขาเล่าว่า พวกนี้ยังมีชีวิตอยู่ ได้รับการรักษาตัว&ตน คงสภาพร่างกายไว้ ด้วยเตียงล้ำๆนี้ "MEDBEDS" ก็ว่า.,หลอกตายเพื่อหนีการไล่ล่าสั่งตายที่ไปรู้ความลับฝ่ายไม่ดี เพื่อกลับมาเป็นพยาน&เปิดตัว&เปิดเผยค่าจริงทั้งหมดแก่ชาวโลก ว่าพวกซาตานชั่วเลวจริงขนาดไหน,บอกค่าจริงแก่โลก.
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 22 มุมมอง 0 รีวิว
  • ย้อนประวัติ “ทนายตั้ม” ษิทรา เบี้ยบังเกิด (30/10/67) #news1 #ทนายตั้ม #ษิทราเบี้ยบังเกิด #ทนายคนดัง
    ย้อนประวัติ “ทนายตั้ม” ษิทรา เบี้ยบังเกิด (30/10/67) #news1 #ทนายตั้ม #ษิทราเบี้ยบังเกิด #ทนายคนดัง
    Like
    Haha
    21
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 2109 มุมมอง 776 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 4 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 4 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 4 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://www.eat24mall.com/shop/125520240322/?v=75dfaed2dded&license=2949
    https://www.eat24mall.com/shop/125520240322/?v=75dfaed2dded&license=2949
    WWW.EAT24MALL.COM
    ข้าวกล้องไรซ์เบอรี่ - EAT24MALL
    ข้าวกล้องไรซ์เบอรี่ น้ำหนัก : 1กก. รูปแบบ : เมล็ดวงรี ส [...]
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 7 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 5 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 5 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 4 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 5 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 5 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 44 มุมมอง 40 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 5 มุมมอง 0 รีวิว
  • ..เขาทรัมป์อยู่หลังฉากงานเก็บกวาด&กวาดล้างซาตานคาบาลาทั้งหมด,ทรัมป์ไปเยือนQE2,QE2หวาดกลัว&ตกใจมาก จากนั้นไม่นานการประกาศการตายของQE2ราชินีกิ่งก่าจึงจัดงานขึ้นอย่างเป็นทางการ,เชื่อหรือไม่ ไม่ใช่ตัวเราตัดสินใจ มันเหนือการควบคุมเราไปแล้ว.,ดูค่าจริงในอนาคต,มีเหี้ยกับโคตรสุดยอดทางดีเท่านั้น.
    ..จริงๆมันต้องจบ&สมควรจบสิ่งเลวร้ายบนโลกนี้อย่างจริงจังนานแล้ว.
    ..เขาทรัมป์อยู่หลังฉากงานเก็บกวาด&กวาดล้างซาตานคาบาลาทั้งหมด,ทรัมป์ไปเยือนQE2,QE2หวาดกลัว&ตกใจมาก จากนั้นไม่นานการประกาศการตายของQE2ราชินีกิ่งก่าจึงจัดงานขึ้นอย่างเป็นทางการ,เชื่อหรือไม่ ไม่ใช่ตัวเราตัดสินใจ มันเหนือการควบคุมเราไปแล้ว.,ดูค่าจริงในอนาคต,มีเหี้ยกับโคตรสุดยอดทางดีเท่านั้น. ..จริงๆมันต้องจบ&สมควรจบสิ่งเลวร้ายบนโลกนี้อย่างจริงจังนานแล้ว.
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 24 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 6 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 6 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 6 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 60 มุมมอง 35 0 รีวิว
  • การ์ตูนการเมือง : บัญชา/คามิน
    ที่มา : ผู้จัดการออนไลน์
    #Thaitimes
    การ์ตูนการเมือง : บัญชา/คามิน ที่มา : ผู้จัดการออนไลน์ #Thaitimes
    Angry
    Like
    Love
    7
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 316 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 6 มุมมอง 0 รีวิว
  • ..อีกมุมมองหนึ่งก่อนปฐมบทกวาดล้างซาตาน.(จริงหรือเท็จ ไม่รู้)

    ..ข้อความที่ยอดเยี่ยมจากแดเนียล

    “เมื่อเราเอาชนะพายุแห่งการล่มสลายของคับบาลและระบบทั้งหมดของมัน เราก็สามารถเริ่มต้นได้... เริ่มส่องแสงของเรา เริ่มให้ความรู้แก่ลูกหลานของเราให้ดูแลการรักษาของมนุษยชาติและโลกนี้ด้วยความสามัคคี จิตสำนึก และความตระหนักในจิตวิญญาณ และกฎสากลควอนตัม แทนที่จะเรียนรู้ที่จะใช้ชีวิตแบบหนูแข่ง 9 ถึง 5 งาน จำนองและเงินบำนาญด้วยความกลัวและความเครียดอย่างต่อเนื่องเนื่องจากภาพลวงตาของการแยกจากกันและความตาย ถึงเวลาแล้ว! ถึงเวลาสำหรับการเปลี่ยนแปลงและการตระหนักรู้"

    ส่งความรัก ดาเนียล สโตติจน์


    ..อีกมุมมองหนึ่งก่อนปฐมบทกวาดล้างซาตาน.(จริงหรือเท็จ ไม่รู้) ..ข้อความที่ยอดเยี่ยมจากแดเนียล “เมื่อเราเอาชนะพายุแห่งการล่มสลายของคับบาลและระบบทั้งหมดของมัน เราก็สามารถเริ่มต้นได้... เริ่มส่องแสงของเรา เริ่มให้ความรู้แก่ลูกหลานของเราให้ดูแลการรักษาของมนุษยชาติและโลกนี้ด้วยความสามัคคี จิตสำนึก และความตระหนักในจิตวิญญาณ และกฎสากลควอนตัม แทนที่จะเรียนรู้ที่จะใช้ชีวิตแบบหนูแข่ง 9 ถึง 5 งาน จำนองและเงินบำนาญด้วยความกลัวและความเครียดอย่างต่อเนื่องเนื่องจากภาพลวงตาของการแยกจากกันและความตาย ถึงเวลาแล้ว! ถึงเวลาสำหรับการเปลี่ยนแปลงและการตระหนักรู้" ส่งความรัก ดาเนียล สโตติจน์
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 26 มุมมอง 0 รีวิว
  • ชาวญี่ปุ่นทนไม่ไหว ยื่นฟ้อง Meta เจ้าของ Facebook เกือบร้อยล้านบาท ฐานปล่อยโฆษณาปลอมหลอกลงทุนเต็มหน้าฟีด

    ผู้เสียหาย 30 ราย รวมตัวกันฟ้องบริษัท Meta Platforms Inc. ซึ่งเป็นเจ้าของ Facebook และ Instagram โดยการปล่อยให้มีโฆษณาปลอมและหลอกลวงชักชวนให้ลงทุนด้วยการแอบอ้างใช้ผู้มีชื่อเสียงในสังคมเพื่อรับรองการลงทุนปลอมนี้

    ผู้เสียหายในหลายพื้นที่ ต่างพากันยื่นฟ้องต่อศาลในหลายจังหวัด เช่น โอซากะ โกเบ โยโกฮามา ชิบะ และไซตามะ มูลค่าความเสียหายรวม 435 ล้านเยน (2.8 ล้านดอลลาร์ หรือ 96 ล้านบาท)

    บางส่วนในรายละเอียดคำฟ้องระบุว่า Meta มีหน้าที่ตรวจสอบเนื้อหาของโฆษณาและต้องไม่ปล่อยให้มีโพสต์โฆษณาเหล่านี้บนโซเชียลมีเดีย หากสามารถคาดการณ์ว่าความเสี่ยงเหล่านี้จะเกิดอันตรายต่อผู้ใช้งาน

    ผู้ฟ้องมีการร้องขอให้ Meta ลบโฆษณาปลอมเหล่านี้ แต่ Meta กลับ "เพิกเฉยจนสร้างความเสียหายมากขึ้น" Kusuo Tsuneoka ทนายความฝ่ายโจทก์กล่าวกับผู้สื่อข่าว
    ชาวญี่ปุ่นทนไม่ไหว ยื่นฟ้อง Meta เจ้าของ Facebook เกือบร้อยล้านบาท ฐานปล่อยโฆษณาปลอมหลอกลงทุนเต็มหน้าฟีด ผู้เสียหาย 30 ราย รวมตัวกันฟ้องบริษัท Meta Platforms Inc. ซึ่งเป็นเจ้าของ Facebook และ Instagram โดยการปล่อยให้มีโฆษณาปลอมและหลอกลวงชักชวนให้ลงทุนด้วยการแอบอ้างใช้ผู้มีชื่อเสียงในสังคมเพื่อรับรองการลงทุนปลอมนี้ ผู้เสียหายในหลายพื้นที่ ต่างพากันยื่นฟ้องต่อศาลในหลายจังหวัด เช่น โอซากะ โกเบ โยโกฮามา ชิบะ และไซตามะ มูลค่าความเสียหายรวม 435 ล้านเยน (2.8 ล้านดอลลาร์ หรือ 96 ล้านบาท) บางส่วนในรายละเอียดคำฟ้องระบุว่า Meta มีหน้าที่ตรวจสอบเนื้อหาของโฆษณาและต้องไม่ปล่อยให้มีโพสต์โฆษณาเหล่านี้บนโซเชียลมีเดีย หากสามารถคาดการณ์ว่าความเสี่ยงเหล่านี้จะเกิดอันตรายต่อผู้ใช้งาน ผู้ฟ้องมีการร้องขอให้ Meta ลบโฆษณาปลอมเหล่านี้ แต่ Meta กลับ "เพิกเฉยจนสร้างความเสียหายมากขึ้น" Kusuo Tsuneoka ทนายความฝ่ายโจทก์กล่าวกับผู้สื่อข่าว
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 44 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 7 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 7 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 7 มุมมอง 0 รีวิว
  • เนื่องจากเป็นคนกลางๆไม่มีซ้ายไม่มีขวามาตั้งแต่เล็กๆจนถึงอายุ 48 ปี...ถ้าจะทำพอดแคสต์ควรตั้งหัวข้อและทำเรื่องอะไรดีขอความคิดเห็นจากพี่ๆเพื่อนๆและน้องๆครับ
    เนื่องจากเป็นคนกลางๆไม่มีซ้ายไม่มีขวามาตั้งแต่เล็กๆจนถึงอายุ 48 ปี...ถ้าจะทำพอดแคสต์ควรตั้งหัวข้อและทำเรื่องอะไรดีขอความคิดเห็นจากพี่ๆเพื่อนๆและน้องๆครับ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 7 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 8 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 8 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 8 มุมมอง 0 รีวิว
  • Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 22 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 8 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 8 มุมมอง 0 รีวิว
  • RIP คุณโสภณ ครับ
    ผมฟังคุณอาลอดๆ
    RIP คุณโสภณ ครับ ผมฟังคุณอาลอดๆ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 8 มุมมอง 0 รีวิว
  • เบื่อพวก...
    ลูกอีช่างขอ (ขอไม่เลิก)
    ลูกอีช่างติ (ติไปจนวันตาย)
    ลูกอีช่างขุด (ขุดอดีตอยู่นั่น)
    เบื่อพวก... ลูกอีช่างขอ (ขอไม่เลิก) ลูกอีช่างติ (ติไปจนวันตาย) ลูกอีช่างขุด (ขุดอดีตอยู่นั่น)
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 11 มุมมอง 0 รีวิว
  • “หนิง” เดินทางเข้าพบพนักงานสอบสวน สน.พระโขนงให้ข้อมูลเพิ่มเติมคดีเมียอดีตบิ๊ก ตร.ฟอกเงิน มั่นใจพยานหลักฐานมากพอเอาผิดได้

    อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000104728

    #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    “หนิง” เดินทางเข้าพบพนักงานสอบสวน สน.พระโขนงให้ข้อมูลเพิ่มเติมคดีเมียอดีตบิ๊ก ตร.ฟอกเงิน มั่นใจพยานหลักฐานมากพอเอาผิดได้ อ่านต่อ..https://news1live.com/detail/9670000104728 #News1feed #News1 #Sondhitalk #คุยทุกเรื่องกับสนธิ #Thaitimes
    Like
    Love
    Haha
    26
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 2954 มุมมอง 0 รีวิว
  • #2 ด่วน!!!
    วิดีโอเพิ่มเติม เหตุเพลิงไหม้รุนแรงที่อู่ต่อเรือดำน้ำนิวเคลียร์ของอังกฤษ ในพื้นที่โรงงานของบริษัท BAE Systems ซึ่งเป็นบริษัทด้านการป้องกันประเทศที่ใหญ่ที่สุด ในเมืองบาร์โรว์อินเฟอร์เนส(Barrow-in-Furness)
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 8 มุมมอง 24 0 รีวิว
  • ตักบาตร >>> วันที่ 1,671
    วันพุธ: แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๗ (30 October 2024)

    ใส่บาตรภิกษุ/สามเณร 23 รูป เป็นเงิน 253 บาท
    ตลาดสดบางจาก เขตพระโขนง กรุงเทพฯ

    สิ่งของใส่บาตร ชุดละ 11 บาท
    1. นมถั่วเหลือง ซังซัง 125ml. (4 บาท)
    2. คุกกี้ราดคาราเมล รสนม 13g. (2 บาท)
    3. เลเยอร์เค้ก เฟอร์เชย์ วานิลลา 15g. (2 บาท)
    4. แครกเกอร์ เมจิก ช็อกโกแลต 15g. (2 บาท)
    5. ลูกอม เมนทอส คละรส 2.7g. 4 เม็ด (1 บาท)
    #ทำบุญตักบาตรโดยคุณณรงค์
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 105 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ตักบาตร >>> วันที่ 1,671 วันพุธ: แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๗ (30 October 2024) ใส่บาตรภิกษุ/สามเณร 23 รูป เป็นเงิน 253 บาท ตลาดสดบางจาก เขตพระโขนง กรุงเทพฯ สิ่งของใส่บาตร ชุดละ 11 บาท 1. นมถั่วเหลือง ซังซัง 125ml. (4 บาท) 2. คุกกี้ราดคาราเมล รสนม 13g. (2 บาท) 3. เลเยอร์เค้ก เฟอร์เชย์ วานิลลา 15g. (2 บาท) 4. แครกเกอร์ เมจิก ช็อกโกแลต 15g. (2 บาท) 5. ลูกอม เมนทอส คละรส 2.7g. 4 เม็ด (1 บาท) #ทำบุญตักบาตรโดยคุณณรงค์ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 105 วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 8 มุมมอง 0 รีวิว
  • ตักบาตร >>> วันที่ 1,671
    วันพุธ: แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๗ (30 October 2024)

    ใส่บาตรภิกษุ/สามเณร 23 รูป เป็นเงิน 253 บาท
    ตลาดสดบางจาก เขตพระโขนง กรุงเทพฯ

    สิ่งของใส่บาตร ชุดละ 11 บาท
    1. นมถั่วเหลือง ซังซัง 125ml. (4 บาท)
    2. คุกกี้ราดคาราเมล รสนม 13g. (2 บาท)
    3. เลเยอร์เค้ก เฟอร์เชย์ วานิลลา 15g. (2 บาท)
    4. แครกเกอร์ เมจิก ช็อกโกแลต 15g. (2 บาท)
    5. ลูกอม เมนทอส คละรส 2.7g. 4 เม็ด (1 บาท)
    #ทำบุญตักบาตรโดยคุณณรงค์
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 105 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ตักบาตร >>> วันที่ 1,671 วันพุธ: แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๗ (30 October 2024) ใส่บาตรภิกษุ/สามเณร 23 รูป เป็นเงิน 253 บาท ตลาดสดบางจาก เขตพระโขนง กรุงเทพฯ สิ่งของใส่บาตร ชุดละ 11 บาท 1. นมถั่วเหลือง ซังซัง 125ml. (4 บาท) 2. คุกกี้ราดคาราเมล รสนม 13g. (2 บาท) 3. เลเยอร์เค้ก เฟอร์เชย์ วานิลลา 15g. (2 บาท) 4. แครกเกอร์ เมจิก ช็อกโกแลต 15g. (2 บาท) 5. ลูกอม เมนทอส คละรส 2.7g. 4 เม็ด (1 บาท) #ทำบุญตักบาตรโดยคุณณรงค์ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 105 วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 15 มุมมอง 0 รีวิว
  • "ข่มใจ"

    จิตของปุถุชน ย่อมไหลไปตามกระแสของกิเลสต่างๆ ที่ถาโถมเข้ามาทาง "อายตนะ ๖" เปรียบเสมือนกระแสน้ำย่อมไหลลงสู่ที่ต่ำเสมอ.

    หากท่านไม่มีสติรู้เท่าทันสภาวะจิต ในขณะกิเลสครอบงำแล้ว ท่านอาจจะถลำตัวเข้าไปสู่ความชั่วหรือความผิดได้โดยไม่ได้ตั้งใจ.

    ณรงค์ คนขำ
    30/10/2567
    "ข่มใจ" จิตของปุถุชน ย่อมไหลไปตามกระแสของกิเลสต่างๆ ที่ถาโถมเข้ามาทาง "อายตนะ ๖" เปรียบเสมือนกระแสน้ำย่อมไหลลงสู่ที่ต่ำเสมอ. หากท่านไม่มีสติรู้เท่าทันสภาวะจิต ในขณะกิเลสครอบงำแล้ว ท่านอาจจะถลำตัวเข้าไปสู่ความชั่วหรือความผิดได้โดยไม่ได้ตั้งใจ. ณรงค์ คนขำ 30/10/2567
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 15 มุมมอง 0 รีวิว
  • "ข่มใจ"

    จิตของปุถุชน ย่อมไหลไปตามกระแสของกิเลสต่างๆ ที่ถาโถมเข้ามาทาง "อายตนะ ๖" เปรียบเสมือนกระแสน้ำย่อมไหลลงสู่ที่ต่ำเสมอ.

    หากท่านไม่มีสติรู้เท่าทันสภาวะจิต ในขณะกิเลสครอบงำแล้ว ท่านอาจจะถลำตัวเข้าไปสู่ความชั่วหรือความผิดได้โดยไม่ได้ตั้งใจ.

    ณรงค์ คนขำ
    30/10/2567
    "ข่มใจ" จิตของปุถุชน ย่อมไหลไปตามกระแสของกิเลสต่างๆ ที่ถาโถมเข้ามาทาง "อายตนะ ๖" เปรียบเสมือนกระแสน้ำย่อมไหลลงสู่ที่ต่ำเสมอ. หากท่านไม่มีสติรู้เท่าทันสภาวะจิต ในขณะกิเลสครอบงำแล้ว ท่านอาจจะถลำตัวเข้าไปสู่ความชั่วหรือความผิดได้โดยไม่ได้ตั้งใจ. ณรงค์ คนขำ 30/10/2567
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 8 มุมมอง 0 รีวิว
  • ไหว้พระพรหม >>> วันที่ 306
    วันอังคาร: แรม ๑๒ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๖๗ (29 October 2024)

    ไหว้ศาลพระพรหม และกรวดน้ำอุทิศผลบุญ
    บริเวณด้านหน้า บริษัท บีซีพีจี จำกัด (มหาชน)
    เลขที่ 2098 อาคารเอ็ม ทาวเวอร์ ชั้น 12 ถ.สุขุมวิท
    แขวงพระโขนงใต้ เขตพระโขนง กรุงเทพฯ 10260
    #ไหว้พระพรหมโดยคุณณรงค์
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 105 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ไหว้พระพรหม >>> วันที่ 306 วันอังคาร: แรม ๑๒ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๖๗ (29 October 2024) ไหว้ศาลพระพรหม และกรวดน้ำอุทิศผลบุญ บริเวณด้านหน้า บริษัท บีซีพีจี จำกัด (มหาชน) เลขที่ 2098 อาคารเอ็ม ทาวเวอร์ ชั้น 12 ถ.สุขุมวิท แขวงพระโขนงใต้ เขตพระโขนง กรุงเทพฯ 10260 #ไหว้พระพรหมโดยคุณณรงค์ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 105 วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 7 มุมมอง 0 รีวิว
  • ึไหว้พระพรหม >>> วันที่ 306
    วันอังคาร: แรม ๑๒ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๖๗ (29 October 2024)

    ไหว้ศาลพระพรหม และกรวดน้ำอุทิศผลบุญ
    บริเวณด้านหน้า บริษัท บีซีพีจี จำกัด (มหาชน)
    เลขที่ 2098 อาคารเอ็ม ทาวเวอร์ ชั้น 12 ถ.สุขุมวิท
    แขวงพระโขนงใต้ เขตพระโขนง กรุงเทพฯ 10260
    #ไหว้พระพรหมโดยคุณณรงค์
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 105 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    ึไหว้พระพรหม >>> วันที่ 306 วันอังคาร: แรม ๑๒ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๖๗ (29 October 2024) ไหว้ศาลพระพรหม และกรวดน้ำอุทิศผลบุญ บริเวณด้านหน้า บริษัท บีซีพีจี จำกัด (มหาชน) เลขที่ 2098 อาคารเอ็ม ทาวเวอร์ ชั้น 12 ถ.สุขุมวิท แขวงพระโขนงใต้ เขตพระโขนง กรุงเทพฯ 10260 #ไหว้พระพรหมโดยคุณณรงค์ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 105 วัน I am willing to depart this life at the age of 75.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 15 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 273
    วันพุธ: แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๗ (30 October 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๐ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ

    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.
    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 17: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ.

    บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.
    ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 105 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 273 วันพุธ: แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๗ (30 October 2024) บทสวดมนต์ ๒๐ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 17: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ. บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 105 วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 22 มุมมอง 0 รีวิว
  • สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 273
    วันพุธ: แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๗ (30 October 2024)

    บทสวดมนต์ ๒๐ บท
    บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย
    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.

    บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
    สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.

    บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า.
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)

    บทที่ 04: ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    บทที่ 05: สมาทานศีลห้า
    ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
    ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

    บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ.

    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ.

    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
    ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

    บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา
    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ.
    เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ.

    บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร
    มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ

    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

    บทที่ 09: คาถาชินบัญชร
    ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
    อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ.
    ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
    ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
    ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
    ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
    ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า
    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ)

    บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ
    มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
    พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ
    พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง
    อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย
    อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ.

    บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด
    นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ)

    บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่
    นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ)

    บทที่ 14: คาถาโมรปริตร
    นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ)

    บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล
    ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
    ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
    จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
    ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน.

    บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ
    อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา
    ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ
    ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ.

    บทที่ 17: บูชาพญายมราช
    ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ
    จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ)

    บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก
    นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ ,
    มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ ,
    สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ.

    บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว
    สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา
    พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.

    บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต
    พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ.
    ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~
    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 105 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน
    #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    สวดมนต์ประจำวัน >>> วันที่ 273 วันพุธ: แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๗ (30 October 2024) บทสวดมนต์ ๒๐ บท บทที่ 01: คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. บทที่ 02: สวดบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. บทที่ 03: สวดนมัสการพระพุทธเจ้า. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ) บทที่ 04: ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ บทที่ 05: สมาทานศีลห้า ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. บทที่ 06: สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหี ติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จิตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. บทที่ 07: บทพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๒. มาราติเรกมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันติสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๕. กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิพุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณะคะเทนะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิ. เอตาปิ พุทธะชัยมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. บทที่ 08: บทสวดชัยปริตร มหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะพุทธา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะธัมมา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุสัพพะเทวะตา สัพพะสังฆา นุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. บทที่ 09: คาถาชินบัญชร ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง อัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ. ๐๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ๐๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. ๐๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. ๐๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ๐๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. ๐๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว. ๐๗.กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ๐๘.ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. ๐๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง. ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา. ๑๒.ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. บทที่ 10: คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ. (๙ จบ) บทที่ 11: คาถามหาจักรพรรดิ นะโมพุทธายะ พระพุทธะ ไตรรัตนะญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวลี จะมหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ. บทที่ 12: คาถาบูชาหลวงปู่ทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภะคะวา. (๓ จบ) บทที่ 13: คาถาบูชาหลวงปู่ดู่ นะโม โพธิสัตโต พรหมะปัญโญ. (๓ จบ) บทที่ 14: คาถาโมรปริตร นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. (๓ จบ) บทที่ 15: คาถาบูชาท้าวโลกบาล ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏ โฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ รูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัพทัฬหะมานะ อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุโน. บทที่ 16: บูชาท้าวเวสสุวรรณ อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตา ภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ. บทที่ 17: บูชาพญายมราช ปะโตเมตัง ปะระชีวินัง สุขะโตจุติ จิตตะเมตะ นิพพานัง สุขะโตจุติ. (๓ จบ) บทที่ 18: คาถาแก้วสารพัดนึก นะ โม พุท ธา ยะ , นะ มะ พะ ทะ , มะ อะ อุ , สัง วิ ทา ปุ กะ ยะ ปะ , สะ ทะ วิ ปิ ปะ สะ อุ , อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ. บทที่ 19: คำเชิญพระเข้าตัว สัพเพ พุทธา สัพเพ ธัมมา สัพเพ สังฆา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส. บทที่ 20: คำอธิษฐานจิต พุทธัง อธิฏฐามิ ธัมมัง อธิฏฐามิ สังฆัง อธิฏฐามิ. ~~~∆สวดมนต์ด้วยความศรัทธาและวิริยะ∆~~~ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 105 วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดมนต์ #สวดมนต์ไหว้พระ #สวดมนต์ทุกวัน #praying #prayers #payrespect #lordbuddha
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 15 มุมมอง 0 รีวิว
  • อิติปิโส ๑๐๘ จบ(Two-way) >>> วันที่ 7
    วันพุธ: แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๗ (30 October 2024)

    บทสวดอิติปิโส (ปกติ):
    อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ,
    วิชชาจะระณะสัมปันโน, สุขโต โลกะวิทู,
    อนุตตะโร ปุริสสะทัมมะสาระถิ,
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง,
    พุทโธ ภะคะวาติ.

    บทสวดอิติปิโส (ถอยหลัง):
    ๑. ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา
    ๒. นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ
    ๓. สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ
    ๔. นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ
    ๕. สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา
    ๖. วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ
    ๗. อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิ ฯ

    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 105 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดอิติปิโส #พุทธานุสสติ #สมถกรรมฐาน
    #วิริยะบารมี #อธิษฐานบารมี #สัจจะบารมี
    อิติปิโส ๑๐๘ จบ(Two-way) >>> วันที่ 7 วันพุธ: แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๗ (30 October 2024) บทสวดอิติปิโส (ปกติ): อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, วิชชาจะระณะสัมปันโน, สุขโต โลกะวิทู, อนุตตะโร ปุริสสะทัมมะสาระถิ, สัตถา เทวะมะนุสสานัง, พุทโธ ภะคะวาติ. บทสวดอิติปิโส (ถอยหลัง): ๑. ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา ๒. นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ ๓. สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ ๔. นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ ๕. สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา ๖. วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ ๗. อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิ ฯ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 105 วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดอิติปิโส #พุทธานุสสติ #สมถกรรมฐาน #วิริยะบารมี #อธิษฐานบารมี #สัจจะบารมี
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 9 มุมมอง 0 รีวิว
  • อิติปิโส ๑๐๘ จบ(Two-way) >>> วันที่ 7
    วันพุธ: แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง
    วันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๗ (30 October 2024)

    บทสวดอิติปิโส (ปกติ):
    อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ,
    วิชชาจะระณะสัมปันโน, สุขโต โลกะวิทู,
    อนุตตะโร ปุริสสะทัมมะสาระถิ,
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง,
    พุทโธ ภะคะวาติ.

    บทสวดอิติปิโส (ถอยหลัง):
    ๑. ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา
    ๒. นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ
    ๓. สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ
    ๔. นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ
    ๕. สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา
    ๖. วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ
    ๗. อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิ ฯ

    คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 105 วัน
    I am willing to depart this life at the age of 75.
    #สวดอิติปิโส #พุทธานุสสติ #สมถกรรมฐาน
    #วิริยะบารมี #อธิษฐานบารมี #สัจจะบารมี
    อิติปิโส ๑๐๘ จบ(Two-way) >>> วันที่ 7 วันพุธ: แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะโรง วันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๗ (30 October 2024) บทสวดอิติปิโส (ปกติ): อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, วิชชาจะระณะสัมปันโน, สุขโต โลกะวิทู, อนุตตะโร ปุริสสะทัมมะสาระถิ, สัตถา เทวะมะนุสสานัง, พุทโธ ภะคะวาติ. บทสวดอิติปิโส (ถอยหลัง): ๑. ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา ๒. นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ ๓. สา มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ ๔. นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ ๕. สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา ๖. วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ ๗. อะ วา คะ ภะ โส ปิ ติ อิ ฯ คำนวณเวลาที่ยังเหลืออยู่ในชาตินี้ = 26 ปี 105 วัน I am willing to depart this life at the age of 75. #สวดอิติปิโส #พุทธานุสสติ #สมถกรรมฐาน #วิริยะบารมี #อธิษฐานบารมี #สัจจะบารมี
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 16 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 7 มุมมอง 0 รีวิว