• https://youtube.com/shorts/YZLZMKOvw4M?si=NmIn6eRkFSmZ3JiD
    https://youtube.com/shorts/YZLZMKOvw4M?si=NmIn6eRkFSmZ3JiD
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 34 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/AwIslz5ww2Y?si=VtYCrjGiutcM4KeY
    https://youtube.com/shorts/AwIslz5ww2Y?si=VtYCrjGiutcM4KeY
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 34 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/aVej1u96jPM?si=MK-tnShiVG1jq-1H
    https://youtube.com/shorts/aVej1u96jPM?si=MK-tnShiVG1jq-1H
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 36 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/_mwMsycQNYY?si=f0epBhJzi9Cjn-5Z
    https://youtube.com/shorts/_mwMsycQNYY?si=f0epBhJzi9Cjn-5Z
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 32 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtube.com/shorts/CymXV_9EW5Y?si=fWlRICiyOLa7sUN-
    https://youtube.com/shorts/CymXV_9EW5Y?si=fWlRICiyOLa7sUN-
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 36 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/2-Sn8I1AjP0?si=uQ0mbexMo9Aasp7r
    https://youtu.be/2-Sn8I1AjP0?si=uQ0mbexMo9Aasp7r
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 29 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงศึกษาหลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา
    สัทธรรมลำดับที่ : 156
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=156
    ชื่อบทธรรม :- หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา
    --ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักสัญญา,
    พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา,
    พึงรู้จักความเป็นต่างกันของสัญญา,
    พึงรู้จักผลของสัญญา,
    พึงรู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, และ
    พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา”
    ดังนี้ นั้น,
    เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ?
    --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง สัญญาหก เหล่านี้ คือ
    สัญญาในรูป
    สัญญาในเสียง
    สัญญาในกลิ่น
    สัญญาในรส
    สัญญาในโผฏฐัพพะ และ
    สัญญาในธรรมารมณ์.
    --ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ผัสสะ (การประจวบกันแห่งอายตนะภายใน และภายนอก และวิญญาณ)
    เป็นเหตุ เป็นแดน เกิดของสัญญา.
    --ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. !
    สัญญาในรูป ก็เป็นอย่างหนึ่ง,
    สัญญาในเสียง ก็เป็นอย่างหนึ่ง,
    สัญญาในกลิ่น ก็เป็นอย่างหนึ่ง,
    สัญญาในรส ก็เป็นอย่างหนึ่ง,
    สัญญาในโผฏฐัพพะ ก็เป็นอย่างหนึ่ง, และ
    สัญญาในธรรมารมณ์ ก็เป็นอย่างหนึ่ง.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ความเป็นต่างกันของสัญญา.

    --ภิกษุ ท. ! ผลของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! เรากล่าว สัญญา
    ว่า มีถ้อยคำที่พูดออกมานั้นแหละ เป็นผล,
    เพราะบุคคลย่อมพูดไปตามสัญญา
    โดยรู้สึกว่า “เราได้มีสัญญาอย่างนี้ ๆ”
    ดังนี้.
    +--ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ผลของสัญญา.

    --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ?
    +--ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของสัญญา มีได้ #เพราะความดับไม่เหลือของผัสสะ.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/463/?keywords=สญฺญานิโรโธ+ผสฺสนิโรธา

    --ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง
    เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา, ได้แก่
    ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ;
    การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ;
    ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ.

    --ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า
    “พึงรู้จักสัญญา,
    พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา,
    พึงรู้จักความเป็นต่างกันของสัญญา,
    พึงรู้จักผลของสัญญา,
    พึงรู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, และ
    พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา”
    ดังนี้นั้น,
    เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้แล.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/367/334.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/367/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๓/๓๓๔.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/463/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=156
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=156
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12
    สาธยายธรรม 12 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    อริยสาวกพึงศึกษาหลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา สัทธรรมลำดับที่ : 156 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=156 ชื่อบทธรรม :- หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา เนื้อความทั้งหมด :- --หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา --ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักสัญญา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของสัญญา, พึงรู้จักผลของสัญญา, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, และ พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา” ดังนี้ นั้น, เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ? --ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง สัญญาหก เหล่านี้ คือ สัญญาในรูป สัญญาในเสียง สัญญาในกลิ่น สัญญาในรส สัญญาในโผฏฐัพพะ และ สัญญาในธรรมารมณ์. --ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ผัสสะ (การประจวบกันแห่งอายตนะภายใน และภายนอก และวิญญาณ) เป็นเหตุ เป็นแดน เกิดของสัญญา. --ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! สัญญาในรูป ก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในเสียง ก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในกลิ่น ก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในรส ก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในโผฏฐัพพะ ก็เป็นอย่างหนึ่ง, และ สัญญาในธรรมารมณ์ ก็เป็นอย่างหนึ่ง. +--ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ความเป็นต่างกันของสัญญา. --ภิกษุ ท. ! ผลของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! เรากล่าว สัญญา ว่า มีถ้อยคำที่พูดออกมานั้นแหละ เป็นผล, เพราะบุคคลย่อมพูดไปตามสัญญา โดยรู้สึกว่า “เราได้มีสัญญาอย่างนี้ ๆ” ดังนี้. +--ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า #ผลของสัญญา. --ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? +--ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของสัญญา มีได้ #เพราะความดับไม่เหลือของผัสสะ. http://etipitaka.com/read/pali/22/463/?keywords=สญฺญานิโรโธ+ผสฺสนิโรธา --ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งจิตมั่นชอบ. --ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักสัญญา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของสัญญา, พึงรู้จักผลของสัญญา, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, และ พึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้แล.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. 22/367/334. http://etipitaka.com/read/thai/22/367/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๖๓/๓๓๔. http://etipitaka.com/read/pali/22/463/?keywords=%E0%B9%93%E0%B9%93%E0%B9%94 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=156 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12&id=156 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=12 สาธยายธรรม 12 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_12.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา
    -หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับ สัญญา ภิกษุ ท. ! ข้อที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักสัญญา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของสัญญา, พึงรู้จักผลของสัญญา, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ข้อนั้น เรากล่าวหมายถึง สัญญาหก เหล่านี้ คือ สัญญาในรูป สัญญาในเสียง สัญญาในกลิ่น สัญญาในรส สัญญาในโผฏฐัพพะ และสัญญาในธรรมารมณ์. ภิกษุ ท. ! เหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ผัสสะ (การประจวบกันแห่งอายตนะภายใน และภายนอก และวิญญาณ) เป็นเหตุ เป็นแดน เกิดของสัญญา. ภิกษุ ท. ! ความเป็นต่างกันของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! สัญญาในรูปก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในเสียงก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในกลิ่นก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในรสก็เป็นอย่างหนึ่ง, สัญญาในโผฏฐัพพะก็เป็นอย่างหนึ่ง, และสัญญาในธรรมารมณ์ก็เป็นอย่างหนึ่ง. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ความเป็นต่างกันของสัญญา. ภิกษุ ท. ! ผลของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! เรากล่าวสัญญา ว่า มีถ้อยคำที่พูดออกมานั้นแหละ เป็นผล, เพราะบุคคลย่อมพูด ไปตามสัญญา โดยรู้สึกว่า “เราได้มีสัญญาอย่างนี้ ๆ” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! นี้ เรียกว่า ผลของสัญญา. ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของสัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ท. ! ความดับไม่เหลือของสัญญา มีได้ เพราะความดับไม่เหลือของผัสสะ. ภิกษุ ท. ! อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็นทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ ; การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ; ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ. .... ภิกษุ ท. ! คำใด ที่เรากล่าวว่า “พึงรู้จักสัญญา, พึงรู้จักเหตุเป็นแดนเกิดของสัญญา, พึงรู้จักความเป็นต่างกันของสัญญา, พึงรู้จักผลของสัญญา, พึงรู้จักความดับไม่เหลือของสัญญา, และพึงรู้จักทางดำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือของสัญญา” ดังนี้นั้น, เรากล่าวหมายถึงความข้อนี้แล.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 159 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/e-HWtsQ-dOw?si=B0UTXdu6UPgQzesK
    https://youtu.be/e-HWtsQ-dOw?si=B0UTXdu6UPgQzesK
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 35 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/mUGtZKH_-G8?si=P-_Tezkip1XsWS00
    https://youtu.be/mUGtZKH_-G8?si=P-_Tezkip1XsWS00
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 30 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าพระอรหันต์ทั้งหลาย เป็นผู้ไม่มีหนามยอกตำ
    สัทธรรมลำดับที่ : 590
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=590
    ชื่อบทธรรม :- ผู้ไม่มีหนามยอกตำ
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --ผู้ไม่มีหนามยอกตำ
    ...
    --ภิกษุ ท. เรากล่าวฌานว่ามีเสียงเป็นปฏิปักษ์ -[มีหนาม (ยอกตำใจ)]
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปฏิปักษ์ ๑๐ ประการนี้ ๑๐ ประการเป็นไฉน คือ
    ๑.ความเป็นผู้ยินดีในการคลุกคลีด้วยหมู่คณะเป็นปฏิปักษ์ต่อความเป็นผู้ยินดีในที่สงัด ๑
    ๒.การประกอบสุภนิมิต เป็นปฏิปักษ์ต่อผู้ประกอบอสุภนิมิต ๑
    ๓.การดูมหรสพที่เป็นข้าศึก เป็นปฏิปักษ์ต่อผู้คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย ๑
    ๔.การติดต่อกับมาตุคาม เป็นปฏิปักษ์ต่อพรหมจรรย์ ๑
    ๕.เสียงเป็นปฏิปักษ์ต่อปฐมฌาน ๑
    ๖.วิตกวิจารเป็นปฏิปักษ์ต่อทุติยฌาน ๑
    ๗.ปีติเป็นปฏิปักษ์ต่อตติยฌาน ๑
    ๘.ลมอัสสาสปัสสาสะเป็นปฏิปักษ์ต่อจตุตถฌาน ๑
    ๙.สัญญาและเวทนาเป็นปฏิปักษ์ต่อสัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ ๑
    ๑๐.ราคะเป็นปฏิปักษ์โทสะเป็นปฏิปักษ์ --[มีหนาม (ยอกตำใจ)]​ ๑

    --ภิกษุ ท. เธอทั้งหลายจงเป็นผู้ไม่มีปฏิปักษ์อยู่เถิด
    --ภิกษุ ท. เธอทั้งหลายจงเป็นผู้ไม่มีปฏิปักษ์ จงเป็นผู้หมดปฏิปักษ์อยู่เถิด
    --ภิกษุ ท. พระอรหันต์ทั้งหลาย เป็นผู้ไม่มีปฏิปักษ์
    พระอรหันต์ทั้งหลายไม่มีปฏิปักษ์ เป็นผู้หมดปฏิปักษ์ ฯ
    http://etipitaka.com/read/pali/24/145/?keywords=อรหนฺ
    ...
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลาย จงเป็นอยู่ อย่างผู้ไม่มีหนาม (ยอกตำใจ) เถิด.
    --ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลาย จงเป็นอยู่ อย่างผู้ไม่มีหนาม หมดเสี้ยนหนามยอกตำ เถิด.
    --ภิกษุ ท. ! พระอรหันต์ทั้งหลาย เป็นผู้ไม่มีหนามยอกใจ.
    --ภิกษุ ท. ! พระอรหันต์ทั้งหลาย เป็นผู้ไม่มีหนาม หมดเสี้ยนหนามยอกตำเสียแล้ว.-

    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/119/72.
    http://etipitaka.com/read/thai/24/119/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%92
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๑๔๕/๗๒.
    http://etipitaka.com/read/pali/24/145/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%92
    ศึกษาเพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=590
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=590
    หรือ
    http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39
    ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียง...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    อริยสาวกพึงฝึกหัดศึกษาว่าพระอรหันต์ทั้งหลาย เป็นผู้ไม่มีหนามยอกตำ สัทธรรมลำดับที่ : 590 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=590 ชื่อบทธรรม :- ผู้ไม่มีหนามยอกตำ เนื้อความทั้งหมด :- --ผู้ไม่มีหนามยอกตำ ... --ภิกษุ ท. เรากล่าวฌานว่ามีเสียงเป็นปฏิปักษ์ -[มีหนาม (ยอกตำใจ)] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปฏิปักษ์ ๑๐ ประการนี้ ๑๐ ประการเป็นไฉน คือ ๑.ความเป็นผู้ยินดีในการคลุกคลีด้วยหมู่คณะเป็นปฏิปักษ์ต่อความเป็นผู้ยินดีในที่สงัด ๑ ๒.การประกอบสุภนิมิต เป็นปฏิปักษ์ต่อผู้ประกอบอสุภนิมิต ๑ ๓.การดูมหรสพที่เป็นข้าศึก เป็นปฏิปักษ์ต่อผู้คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย ๑ ๔.การติดต่อกับมาตุคาม เป็นปฏิปักษ์ต่อพรหมจรรย์ ๑ ๕.เสียงเป็นปฏิปักษ์ต่อปฐมฌาน ๑ ๖.วิตกวิจารเป็นปฏิปักษ์ต่อทุติยฌาน ๑ ๗.ปีติเป็นปฏิปักษ์ต่อตติยฌาน ๑ ๘.ลมอัสสาสปัสสาสะเป็นปฏิปักษ์ต่อจตุตถฌาน ๑ ๙.สัญญาและเวทนาเป็นปฏิปักษ์ต่อสัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ ๑ ๑๐.ราคะเป็นปฏิปักษ์โทสะเป็นปฏิปักษ์ --[มีหนาม (ยอกตำใจ)]​ ๑ --ภิกษุ ท. เธอทั้งหลายจงเป็นผู้ไม่มีปฏิปักษ์อยู่เถิด --ภิกษุ ท. เธอทั้งหลายจงเป็นผู้ไม่มีปฏิปักษ์ จงเป็นผู้หมดปฏิปักษ์อยู่เถิด --ภิกษุ ท. พระอรหันต์ทั้งหลาย เป็นผู้ไม่มีปฏิปักษ์ พระอรหันต์ทั้งหลายไม่มีปฏิปักษ์ เป็นผู้หมดปฏิปักษ์ ฯ http://etipitaka.com/read/pali/24/145/?keywords=อรหนฺ ... --ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลาย จงเป็นอยู่ อย่างผู้ไม่มีหนาม (ยอกตำใจ) เถิด. --ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลาย จงเป็นอยู่ อย่างผู้ไม่มีหนาม หมดเสี้ยนหนามยอกตำ เถิด. --ภิกษุ ท. ! พระอรหันต์ทั้งหลาย เป็นผู้ไม่มีหนามยอกใจ. --ภิกษุ ท. ! พระอรหันต์ทั้งหลาย เป็นผู้ไม่มีหนาม หมดเสี้ยนหนามยอกตำเสียแล้ว.- #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. 24/119/72. http://etipitaka.com/read/thai/24/119/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%92 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ทสก. อํ. ๒๔/๑๔๕/๗๒. http://etipitaka.com/read/pali/24/145/?keywords=%E0%B9%97%E0%B9%92 ศึกษาเพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=590 http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39&id=590 หรือ http://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=39 ลำดับสาธยายธรรม : 39 ฟังเสียง... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_39.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - (กายนี้ ได้ชื่อว่า กายนคร เพราะมีอะไร ๆ ที่ต้องจัดการรักษาป้องกันเหมือนกับนคร. กายนครนี้มีมารคอยรังควาญอยู่ตลอดเวลา ; เมื่ออริยสาวกประกอบอยู่ด้วยสัทธรรมทั้งเจ็ด และมีฌานทั้งสี่เป็นเครื่องอยู่อย่างผาสุกแล้ว มารก็ทำอะไรไม่ได้ จัดเป็นกายนครที่ปลอดภัยด้วยข้อความเป็นอุปมาอุปไมยอย่างไพเราะมาก แห่งพระบาลีนี้).
    -(กายนี้ ได้ชื่อว่า กายนคร เพราะมีอะไร ๆ ที่ต้องจัดการรักษาป้องกันเหมือนกับนคร. กายนครนี้มีมารคอยรังควาญอยู่ตลอดเวลา ; เมื่ออริยสาวกประกอบอยู่ด้วยสัทธรรมทั้งเจ็ด และมีฌานทั้งสี่เป็นเครื่องอยู่อย่างผาสุกแล้ว มารก็ทำอะไรไม่ได้ จัดเป็นกายนครที่ปลอดภัยด้วยข้อความเป็นอุปมาอุปไมยอย่างไพเราะมาก แห่งพระบาลีนี้). ผู้ไม่มีหนามยอกตำ ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลาย จงเป็นอยู่ อย่างผู้ไม่มีหนาม (ยอกตำใจ) เถิด. ภิกษุ ท. ! พวกเธอทั้งหลาย จงเป็นอยู่ อย่างผู้ไม่มีหนาม หมดเสี้ยนหนามยอกตำ เถิด. ภิกษุ ท. ! พระอรหันต์ทั้งหลาย เป็นผู้ไม่มีหนามยอกใจ. ภิกษุ ท. ! พระอรหันต์ทั้งหลาย เป็นผู้ไม่มีหนาม หมดเสี้ยนหนามยอกตำเสียแล้ว.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 124 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/TPzHHNXn1Vw?si=9-VWQ49Q9LP-Unhx
    https://youtu.be/TPzHHNXn1Vw?si=9-VWQ49Q9LP-Unhx
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 39 มุมมอง 0 รีวิว
  • อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง
    สัทธรรมลำดับที่ : 958
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=958
    ชื่อบทธรรม : -นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง
    เนื้อความทั้งหมด :-
    --นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง
    --ภิกษุ ท. ! นิวรณ์เป็นเครื่องกางกั้น ๕ อย่างเหล่านี้
    ท่วมทับจิตแล้วทำปัญญาให้ถอยกำลัง มีอยู่.
    ห้าอย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่าง คือ : -
    +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ กามฉันทะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง;
    +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ พยาบาท ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง;
    +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ ถีนมิทธะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง;
    +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ อุทธัจจกุกกุจจะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง;
    +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ วิจิกิจฉา ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง.
    --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่ไม่ละนิวรณ์อันเป็นเครื่องกางกั้นจิต ๕ อย่างเหล่านี้แล้ว
    จักรู้ซึ่งประโยชน์ตน หรือประโยชน์ผู้อื่น หรือประโยชน์ทั้งสองฝ่าย หรือ
    จักกระทำให้แจ้งซึ่ง #ญาณทัสสนะอันวิเศษอันควรแก่ความเป็นอริยะ
    http://etipitaka.com/read/pali/22/72/?keywords=อลมริยญาณทสฺสน
    ยิ่งกว่าธรรมดาแห่งมนุษย์ ด้วยปัญญาอันทุพพลภาพ ไร้กำลัง ดังนี้
    นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้.

    --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนแม่น้ำที่ไหลลงจากภูเขา
    ไหลไปสู่ที่ไกล มีกระแสเชี่ยว พัดพาสิ่งต่างๆ ไปได้
    มีบุรุษมาเปิดช่องทั้งหลายที่เขาขุดขึ้น ด้วยเครื่องไถทั้งสองฝั่งแม่น้ำนั้น
    เมื่อเป็นเช่นนี้ กระแสกลางแม่น้ำนั้น ก็ซัดส่าย ไหลผิดทาง ไม่ไหลไปสู่ที่ไกล
    ไม่มีกระแสเชี่ยว ไม่พัดสิ่งต่างๆ ไปได้, นี้ฉันใด;

    --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน
    : ภิกษุ ที่ไม่ละนิวรณ์อันเป็นเครื่องกางกั้นจิต ๕ อย่างเหล่านี้แล้ว
    จะรู้ซึ่งประโยชน์ตน หรือประโยชน์ผู้อื่น หรือประโยชน์ทั้งสองฝ่าย หรือ
    จักกระทำให้แจ้งซึ่งญาณทัสสนะอันวิเศษอันควรแก่ความเป็นอริยะ
    ยิ่งกว่าธรรมดาแห่งมนุษย์ ด้วยปัญญาอันทุพพลภาพ ไร้กำลังดังนี้
    นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้.

    (ต่อไปนี้ ได้ตรัสโดยปฏิปักขนัย คือ
    http://etipitaka.com/read/pali/22/74/?keywords=อริยาย+นิพฺเพธิกาย
    ภิกษุละนิวรณ์ แล้วทำญาณวิเศษให้แจ้งได้ด้วยปัญญาอันมีกำลัง
    เหมือนแม่น้ำที่เขาอุดรูรั่วทั้งสองฝั่งเสียแล้ว มีกระแสเชี่ยวแรงมาก
    ฉะนั้น
    ).-

    #สัมมาวายามะ#สัมมาสมาธิ
    #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์
    อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/56​/51.
    http://etipitaka.com/read/thai/22/56/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91
    อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๗๒/๕๑.
    http://etipitaka.com/read/pali/22/72/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91
    ศึกษา​เพิ่มเติม...
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=958
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=958
    https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82
    ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน...
    http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    อริยสาวก​พึง​ศึกษา​ว่า​นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง สัทธรรมลำดับที่ : 958 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=958 ชื่อบทธรรม : -นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง เนื้อความทั้งหมด :- --นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง --ภิกษุ ท. ! นิวรณ์เป็นเครื่องกางกั้น ๕ อย่างเหล่านี้ ท่วมทับจิตแล้วทำปัญญาให้ถอยกำลัง มีอยู่. ห้าอย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่าง คือ : - +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ กามฉันทะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง; +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ พยาบาท ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง; +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ ถีนมิทธะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง; +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ อุทธัจจกุกกุจจะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง; +--นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ วิจิกิจฉา ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง. --ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่ไม่ละนิวรณ์อันเป็นเครื่องกางกั้นจิต ๕ อย่างเหล่านี้แล้ว จักรู้ซึ่งประโยชน์ตน หรือประโยชน์ผู้อื่น หรือประโยชน์ทั้งสองฝ่าย หรือ จักกระทำให้แจ้งซึ่ง #ญาณทัสสนะอันวิเศษอันควรแก่ความเป็นอริยะ http://etipitaka.com/read/pali/22/72/?keywords=อลมริยญาณทสฺสน ยิ่งกว่าธรรมดาแห่งมนุษย์ ด้วยปัญญาอันทุพพลภาพ ไร้กำลัง ดังนี้ นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้. --ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนแม่น้ำที่ไหลลงจากภูเขา ไหลไปสู่ที่ไกล มีกระแสเชี่ยว พัดพาสิ่งต่างๆ ไปได้ มีบุรุษมาเปิดช่องทั้งหลายที่เขาขุดขึ้น ด้วยเครื่องไถทั้งสองฝั่งแม่น้ำนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ กระแสกลางแม่น้ำนั้น ก็ซัดส่าย ไหลผิดทาง ไม่ไหลไปสู่ที่ไกล ไม่มีกระแสเชี่ยว ไม่พัดสิ่งต่างๆ ไปได้, นี้ฉันใด; --ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน : ภิกษุ ที่ไม่ละนิวรณ์อันเป็นเครื่องกางกั้นจิต ๕ อย่างเหล่านี้แล้ว จะรู้ซึ่งประโยชน์ตน หรือประโยชน์ผู้อื่น หรือประโยชน์ทั้งสองฝ่าย หรือ จักกระทำให้แจ้งซึ่งญาณทัสสนะอันวิเศษอันควรแก่ความเป็นอริยะ ยิ่งกว่าธรรมดาแห่งมนุษย์ ด้วยปัญญาอันทุพพลภาพ ไร้กำลังดังนี้ นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้. (ต่อไปนี้ ได้ตรัสโดยปฏิปักขนัย คือ http://etipitaka.com/read/pali/22/74/?keywords=อริยาย+นิพฺเพธิกาย ภิกษุละนิวรณ์ แล้วทำญาณวิเศษให้แจ้งได้ด้วยปัญญาอันมีกำลัง เหมือนแม่น้ำที่เขาอุดรูรั่วทั้งสองฝั่งเสียแล้ว มีกระแสเชี่ยวแรงมาก ฉะนั้น ).- #สัมมาวายามะ​ #สัมมาสมาธิ​ #ทุกขมรรค #อริยสัจสี่ #สุตันตปิฎก #บาลีสุตันตปิฎก #พุทธธัมมเจดีย์ อ้างอิงไทยสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. 22/56​/51. http://etipitaka.com/read/thai/22/56/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91 อ้างอิงบาลีสุตันตปิฎก : - ปญฺจก. อํ. ๒๒/๗๒/๕๑. http://etipitaka.com/read/pali/22/72/?keywords=%E0%B9%95%E0%B9%91 ศึกษา​เพิ่มเติม... https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/AriyasajSearch/SinglePage.php?key=958 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82&id=958 https://www.xn--n3ccdaca9awfta5nmbzd0nd.com/2015/checkForm.php?songno=82 ลำดับสาธยายธรรม : 82 ฟังเสียงอ่าน... http://www.manodham.com/sound/002/mp3/002_82.mp3
    WWW.XN--N3CCDACA9AWFTA5NMBZD0ND.COM
    - นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง
    -นิวรณ์เป็นเครื่องทำกระแสจิตไม่ให้รวมกำลัง ภิกษุ ท. ! นิวรณ์เป็นเครื่องกางกั้น ๕ อย่างเหล่านี้ ท่วมทับจิตแล้วทำปัญญาให้ถอยกำลัง มีอยู่. ห้าอย่าง อย่างไรเล่า ? ห้าอย่าง คือ : นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ กามฉันทะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง; นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ พยาบาท ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง; นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ ถีนมิทธะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง; นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ อุทธัจจกุกกุจจะ ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง; นิวรณ์เครื่องกางกั้น คือ วิจิกิจฉา ครอบงำจิตแล้ว ทำปัญญาให้ถอยกำลัง. ภิกษุ ท. ! ภิกษุที่ไม่ละนิวรณ์อันเป็นเครื่องกางกั้นจิต ๕ อย่างเหล่านี้แล้ว จักรู้ซึ่งประโยชน์ตน หรือประโยชน์ผู้อื่น หรือประโยชน์ทั้งสองฝ่าย หรือจักกระทำให้แจ้งซึ่งญาณทัสสนะอันวิเศษอันควรแก่ความเป็นอริยะ ยิ่งกว่าธรรมดาแห่งมนุษย์ ด้วยปัญญาอันทุพพลภาพ ไร้กำลัง ดังนี้ นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้. ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนแม่น้ำที่ไหลลงจากภูเขา ไหลไปสู่ที่ไกล มีกระแสเชี่ยว พัดพาสิ่งต่างๆ ไปได้ มีบุรุษมาเปิดช่องทั้งหลายที่เขาขุดขึ้น ด้วยเครื่องไถทั้งสองฝั่งแม่น้ำนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ กระแสกลางแม่น้ำนั้น ก็ซัดส่าย ไหลผิดทาง ไม่ไหลไปสู่ที่ไกลไม่มีกระแสเชี่ยว ไม่พัดสิ่งต่างๆ ไปได้, นี้ฉันใด; ภิกษุ ท. ! ข้อนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน : ภิกษุ ที่ไม่ละนิวรณ์อันเป็นเครื่องกางกั้นจิต ๕ อย่างเหล่านี้แล้ว จะรู้ซึ่งประโยชน์ตน หรือประโยชน์ผู้อื่น หรือประโยชน์ทั้งสองฝ่าย หรือจักกระทำให้แจ้งซึ่งญาณทัสสนะอันวิเศษอันควรแก่ความเป็นอริยะ ยิ่งกว่าธรรมดาแห่งมนุษย์ ด้วยปัญญาอันทุพพลภาพ ไร้กำลังดังนี้ นั่นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้. (ต่อไปนี้ ได้ตรัสโดยปฏิปักขนัย คือ ภิกษุละนิวรณ์ แล้วทำญาณวิเศษให้แจ้งได้ด้วยปัญญาอันมีกำลัง เหมือนแม่น้ำที่เขาอุดรูรั่วทั้งสองฝั่งเสียแล้ว มีกระแสเชี่ยวแรงมาก ฉะนั้น).
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 131 มุมมอง 0 รีวิว
  • https://youtu.be/ahgPdcZ4gr0?si=niISmhsrKowkzCuX
    https://youtu.be/ahgPdcZ4gr0?si=niISmhsrKowkzCuX
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 40 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 33 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 32 มุมมอง 0 รีวิว

  • 🙏✨เหรียญรุ่นแรกท่านพ่อมหาปิ่น ชลิโต วัดป่าพระธาตุเขาน้อย จังหวัดราชบุรี หลังพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต ปีพุทธศักราชสองพันห้าร้อยสิบแปด

    ท่านพ่อมหาปิ่น เป็นศิษย์ของพระอาจารย์มั่น พื้นเพเป็นชาวนครปฐม ถือเป็นกำลังสำคัญของกองทัพธรรมสายพระป่าอีกรูปหนึ่ง

    ว่ากันว่า การแสดงธรรมะเทศะนาของท่านนัันเฟ้นหาเนื้อหาสาระเป็นที่จับใจแก่ผู้ฟังธรรมเป็นอย่างยิ่ง.
    🙏✨เหรียญรุ่นแรกท่านพ่อมหาปิ่น ชลิโต วัดป่าพระธาตุเขาน้อย จังหวัดราชบุรี หลังพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต ปีพุทธศักราชสองพันห้าร้อยสิบแปด ท่านพ่อมหาปิ่น เป็นศิษย์ของพระอาจารย์มั่น พื้นเพเป็นชาวนครปฐม ถือเป็นกำลังสำคัญของกองทัพธรรมสายพระป่าอีกรูปหนึ่ง ว่ากันว่า การแสดงธรรมะเทศะนาของท่านนัันเฟ้นหาเนื้อหาสาระเป็นที่จับใจแก่ผู้ฟังธรรมเป็นอย่างยิ่ง.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 99 มุมมอง 0 0 รีวิว
  • ในโลกแห่งความเป็นจริง...
    Cr.Wiwan
    ในโลกแห่งความเป็นจริง... Cr.Wiwan
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 28 มุมมอง 0 รีวิว
  • Newsstory : เปิดคำสารภาพ ข้าราชการใน สตง. ชี้เหตุตึกถล่มมาจาก....
    #Newsstory #สนธิทอร์ค #คุยทุกเรื่องกับสนธิ
    #นิวส์สตอรี่ #สนธิ #สนธิลิ้มทองกุล
    #สตง. #คำสารภาพ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 26 มุมมอง 9 0 รีวิว
  • Good morning Saturday 💜🥰
    Hope you have a great weekend 👍💯🤩
    #AiImage #IamAmatureAiCreator #ตามหากลุ่มAiCreator
    Good morning Saturday 💜🥰 Hope you have a great weekend 👍💯🤩 #AiImage #IamAmatureAiCreator #ตามหากลุ่มAiCreator
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 64 มุมมอง 0 รีวิว
  • TRX training*** = Total body Resistance Exercise เป็นการฝึกออกแรงจากแขนไปถึงขา โดย ”ผ่านแกนกลางลำตัว“ เมื่อแกนกลางลำตัว(แข็งแรง)จะทำให้ บาลานซ์ และ มีกานเคลื่อนไหวร่างกายที่ความสัมพันธ์กันดี

    การใช้ TRX เป็นตัวช่วยในการออกกำลังกาย ทำให้ สนุก และ ไม่น่าเบื่อ

    ***พื้นฐานการฝึก Squat หรือ Plank Push Up จะทำให้การฝึก TRX ได้ง่ายมากยิ่งขึ้น
    TRX training*** = Total body Resistance Exercise เป็นการฝึกออกแรงจากแขนไปถึงขา โดย ”ผ่านแกนกลางลำตัว“ เมื่อแกนกลางลำตัว(แข็งแรง)จะทำให้ บาลานซ์ และ มีกานเคลื่อนไหวร่างกายที่ความสัมพันธ์กันดี การใช้ TRX เป็นตัวช่วยในการออกกำลังกาย ทำให้ สนุก และ ไม่น่าเบื่อ ***พื้นฐานการฝึก Squat หรือ Plank Push Up จะทำให้การฝึก TRX ได้ง่ายมากยิ่งขึ้น
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 89 มุมมอง 3 0 รีวิว
  • FENGSHUI DAILY
    อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว
    สีเสริมดวง เสริมความเฮง
    ทิศมงคล เวลามงคล
    อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่
    วันอาทิตย์ที่ 13 เดือนเมษายน พ.ศ.2568
    ___________________________________
    FengshuiBizDesigner
    ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้

    เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ แอดเลย!! คลิก https://lin.ee/nyL0NuG
    ติดต่อ : 066-095-4524 (จิม) , 081-625-2587(ด็อง)
    .
    .
    #ดูดวงธุรกิจ #โลโก้ดี #ออกแบบโลโก้ #เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ #ฮวงจุ้ย #พี่อ๋า #สมศักดิ์ #ชาคริตฐากูร
    #FengshuiBiz #FengshuiBizDesigner
    FENGSHUI DAILY อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว สีเสริมดวง เสริมความเฮง ทิศมงคล เวลามงคล อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่ วันอาทิตย์ที่ 13 เดือนเมษายน พ.ศ.2568 ___________________________________ FengshuiBizDesigner ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้ เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ แอดเลย!! คลิก https://lin.ee/nyL0NuG ติดต่อ : 066-095-4524 (จิม) , 081-625-2587(ด็อง) . . #ดูดวงธุรกิจ #โลโก้ดี #ออกแบบโลโก้ #เช็คฮวงจุ้ยให้ธุรกิจ #ฮวงจุ้ย #พี่อ๋า #สมศักดิ์ #ชาคริตฐากูร #FengshuiBiz #FengshuiBizDesigner
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 101 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🙏วันนี้วันพระถวายสังฆทาน ณ วัดกำแพมประชาราม ( 2 ชุด) อ.โคกสำโรง ลพบุรี ให้กับ✅ คุณพรภินันท์(อุ๊) เสรีมโนพัฒน์ Ca, USA. 🖤 เพื่ออุทิศให้
    บิดานายหยู เทพอารักษ์ 🖤
    👉 ข้าว แกงส้มมะละกอ ปลาซิวทอด 1 ชุด
    👉 น้ำดื่ม ดอกไม้ ธูปเทียน
    🙏 ขอเชิญกัลยาณมิตรทุกท่านโมทนาบุญร่วมกันนะครับ#padthaiinter#รับถวายสังฆทานออนไลน์
    🙏วันนี้วันพระถวายสังฆทาน ณ วัดกำแพมประชาราม ( 2 ชุด) อ.โคกสำโรง ลพบุรี ให้กับ✅ คุณพรภินันท์(อุ๊) เสรีมโนพัฒน์ Ca, USA. 🖤 เพื่ออุทิศให้ บิดานายหยู เทพอารักษ์ 🖤 👉 ข้าว แกงส้มมะละกอ ปลาซิวทอด 1 ชุด 👉 น้ำดื่ม ดอกไม้ ธูปเทียน 🙏 ขอเชิญกัลยาณมิตรทุกท่านโมทนาบุญร่วมกันนะครับ#padthaiinter#รับถวายสังฆทานออนไลน์
    Love
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 148 มุมมอง 0 0 รีวิว
  • ขันติที่แท้จริง – ไม่ใช่แค่การอดพูด แต่คือการรู้ทันใจ

    ---

    1. อารมณ์ “อดพูดไม่ได้” คืออะไร?

    เป็นอาการของ ใจเปราะบาง

    เกิดจากแรงกระตุ้นภายในที่ไม่สามารถระงับคำพูดไม่เหมาะสมได้

    ---

    2. คนที่อดกลั้นไม่พูดเรื่องไม่ควรพูดได้

    กำลังเปลี่ยน จุดอ่อนทางใจ ให้กลายเป็น ความเข้มแข็งที่ลึกซึ้ง

    ไม่ใช่แค่ระงับปาก แต่คือการพัฒนาจิตใจให้มั่นคงขึ้นเรื่อยๆ

    ---

    3. ความเข้มแข็งที่แท้จริงคืออะไร?

    ไม่ใช่การเก็บกดอารมณ์ หรืออึดอัดฝืนทน

    แต่คือ จิตที่สงบ ปลอดโปร่ง เย็น สบาย

    ใจที่ไม่ระเบิด เพราะไม่สะสมแรงอัด

    ---

    4. เป้าหมายของการฝึก “ขันติบารมี”

    > ไม่ใช่แค่ สกัดคำพูด แต่ต้อง รู้เท่าทันอารมณ์ข้างในด้วย

    สังเกตลมหายใจ:

    อึดอัดมากหรือน้อย?

    ลมหายใจต่อไปคลายลงหรือไม่?

    เมื่อเห็นว่าอารมณ์อึดอัด “ไม่เที่ยง”
    จิตจะเริ่มคลาย และไม่ต้อง “ฝืน” อีกต่อไป

    ---

    5. นิยามใหม่ของขันติบารมีแบบมีปัญญา:

    > คือ “สะกดใจได้” + “มีสติรู้ความไม่เที่ยง”
    นำไปสู่ใจที่วางเฉยอย่างเป็นธรรมชาติ ไม่ใช่ฝืนกล้ำกลืน

    ---

    Essence สั้นๆ:

    ขันติบารมี ไม่ใช่แค่ฝืนเงียบ
    แต่คือการรู้เท่าทันอารมณ์ จนใจวางเฉยอย่างมีอิสรภาพ
    ขันติที่แท้จริง – ไม่ใช่แค่การอดพูด แต่คือการรู้ทันใจ --- 1. อารมณ์ “อดพูดไม่ได้” คืออะไร? เป็นอาการของ ใจเปราะบาง เกิดจากแรงกระตุ้นภายในที่ไม่สามารถระงับคำพูดไม่เหมาะสมได้ --- 2. คนที่อดกลั้นไม่พูดเรื่องไม่ควรพูดได้ กำลังเปลี่ยน จุดอ่อนทางใจ ให้กลายเป็น ความเข้มแข็งที่ลึกซึ้ง ไม่ใช่แค่ระงับปาก แต่คือการพัฒนาจิตใจให้มั่นคงขึ้นเรื่อยๆ --- 3. ความเข้มแข็งที่แท้จริงคืออะไร? ไม่ใช่การเก็บกดอารมณ์ หรืออึดอัดฝืนทน แต่คือ จิตที่สงบ ปลอดโปร่ง เย็น สบาย ใจที่ไม่ระเบิด เพราะไม่สะสมแรงอัด --- 4. เป้าหมายของการฝึก “ขันติบารมี” > ไม่ใช่แค่ สกัดคำพูด แต่ต้อง รู้เท่าทันอารมณ์ข้างในด้วย สังเกตลมหายใจ: อึดอัดมากหรือน้อย? ลมหายใจต่อไปคลายลงหรือไม่? เมื่อเห็นว่าอารมณ์อึดอัด “ไม่เที่ยง” จิตจะเริ่มคลาย และไม่ต้อง “ฝืน” อีกต่อไป --- 5. นิยามใหม่ของขันติบารมีแบบมีปัญญา: > คือ “สะกดใจได้” + “มีสติรู้ความไม่เที่ยง” นำไปสู่ใจที่วางเฉยอย่างเป็นธรรมชาติ ไม่ใช่ฝืนกล้ำกลืน --- Essence สั้นๆ: ขันติบารมี ไม่ใช่แค่ฝืนเงียบ แต่คือการรู้เท่าทันอารมณ์ จนใจวางเฉยอย่างมีอิสรภาพ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 91 มุมมอง 0 รีวิว
  • 0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 79 มุมมอง 0 0 รีวิว
  • 2สาว เดินผ่านกล้อง ดูแลตัวเองนะ
    2สาว เดินผ่านกล้อง ดูแลตัวเองนะ
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 38 มุมมอง 0 รีวิว