• 0 Comments 0 Shares 34 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 35 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 37 Views 0 Reviews
  • Like
    1
    0 Comments 0 Shares 154 Views 0 Reviews
  • สวัสดีครับวันนี้มาพบกับนายTechTips กันอีกเเล้ว จะมีเรื่องสนุกๆอะไรมาเล่าให้ฟังลองอ่านกันดูได้เลยครับ
    บ่อยครั้งที่ความเชื่อต่างๆ มักมาจากคำแนะนำต่างๆ ที่ “คนอื่นบอกต่อกันมา” ตัวอย่างเช่น คอมพิวเตอร์ MacBook จะไม่มีวันติดไวรัส หรือแม้กระทั่งเสียบสายชาร์ตทิ้งไว้ทำให้แบตเตอรี่พัง ซึ่งจริงๆ แล้วเป็นเช่นนั้นหรือไม่ มาดูกัน

    1. เชื่อกันว่า “Mac ไม่มีวันติดไวรัส” แต่กูรูเทคโนโลยีต่างประเทศได้เผยว่า ในปัจจุบันแม้แต่คอมจากบริษัท Apple อย่างเจ้า Mac ทั้งหลายก็สามารถติดไวรัสและอาจปะทะเข้ากับมัลแวร์ได้เช่นกัน ซึ่งครั้งหนึ่ง Mac เคยโฆษณาว่า “คอมของเราต้านไวรัสได้” แต่ในปี 2012 พวกเขาได้ถอดคำโฆษณานั้นออกจากระบบ หลังจากที่ถูกโทรจันบุกอย่างหนัก

    2. เสียบสายชาร์จมือถือทิ้งไว้ทำให้แบตเตอรี่เสื่อม
    กลายเป็นความเชื่อที่ระบาดไปทั่วโลกว่า การเสียบสายชาร์จทิ้งไว้จะทำให้แบตเตอรี่เสื่อม แต่กูรูเทคโนโลยีเผยว่า นี่เป็นความเชื่อที่ยังไม่มีหลักฐานใดรองรับอย่างเป็นทางการ นอกจากนี้แบตเตอรี่ในปัจจุบันยังเป็นแบบ “Lithium-ion” ที่มีศักยภาพในการหยุดชาร์ตอัตโนมัติเมื่อเต็มแล้ว

    3. ยิ่งพิกเซลมาก กล้องนั้นยิ่งเทพ
    จริงอยู่ว่าจำนวนพิกเซลมีผลต่อคุณภาพของภาพ แต่ผู้เชี่ยวชาญตั้งคำถามได้อย่างน่าสนใจว่า “คุณคิดว่ากล้องที่มีความละเอียด 8 Megapixel กับ 12 Megapixel ต่างกันมากไหม” และเขาได้เฉลยคำตอบว่าคุณภาพของภาพแทบไม่ต่างกัน อย่างที่หลายคนคาดคิด เพราะแท้จริงแล้วคุณภาพของภาพวัดกันที่ “แสง” และตัว “เซนเซอร์” จับภาพมากกว่า ฉะนั้นหากกล้องไหนที่สามารถรับแสงได้มาก และมีเซ็นเซอร์ที่มีคุณภาพชั้นดี ก็จะย่อมทำให้เราได้ภาพที่ดีกว่า

    4. อย่าชาร์จแบตเตอรี่เด็ดขาด จนกว่ามันใกล้จะหมด
    เป็นอีกความเชื่อที่กระจายทั่วโลก ซึ่งหลายๆคนมักบอกกันว่า “รอให้แบตเตอรี่ใกล้หมดก่อน แล้วค่อยชาร์จ ไม่งั้นมันจะเสื่อม” แต่ที่จริงช่วงจังหวะที่ชาร์ตไม่เคยทำให้คุณภาพของแบตเตอรี่เสื่อมแม้แต่น้อย แต่สาเหตุหลักที่เสื่อมก็เพราะแบตเตอรี่มีวงรอบอายุของมัน และการชาร์จเมื่อแบตเตอรี่หมดหรือใกล้หมด คือการทำให้แบตเตอรี่ใช้วงรอบอายุของมันให้หมดไปเร็วยิ่งขึ้น

    5. การเลือก Display Resolution สูงๆ บนสมาร์ทโฟนจะทำให้ภาพคมชัด
    ผู้เชี่ยวชาญเผยว่า Display Resolution สูงไม่ได้หมายถึงคุณภาพระดับพระเจ้าเสมอไป และนั่นก็เป็นสาเหตุว่าทำไมทาง Apple จึงมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาให้มือถือแต่ละรุ่นมีความโดดเด่นในเรื่องแสง (Brightness) มากกว่า Display Resolution ที่ไม่ได้ทำให้คุณภาพแตกต่างจากเดิมเท่าใดนัก

    6. ที่ชาร์ตของ iPad ไม่ควรเอามาใช้กับ iPhone
    ยังเป็นข้อสงสัยที่หลายคนรู้สึกคลุมเคลือว่ามีผลหรือไม่ เพราะแม้ทาง Apple เองก็ได้ประกาศอย่างเป็นทางการว่า ตัวชาร์จขนาด 12 วัตต์ของ iPad สามารถใช้ชาร์จได้ทั้ง iPhone และ iPad แต่ทางบริษัท AEi Systems ได้ออกมาเผยว่าการใช้ที่ชาร์จร่วมกันเช่นนั้นจะอาจมีผลกระทบกับ iPhone เช่นกัน หากทำบ่อยและมันอาจใช้เวลายาวนานนับปี ถึงจะเห็นว่าแบตเตอรี่ได้เสื่อมไปแล้ว

    7. อย่าชัทดาวน์คอมพิวเตอร์ทุกวัน
    การชัทดาวน์เครื่องนั้นถือเป็นสิ่งที่ดีต่อคอมพิวเตอร์มาก และดียิ่งกว่าโหมด “Sleep” เสียอีก เพราะการชัทดาวน์จะทำให้เครื่องกินไฟน้อยกว่าเดิม และยังช่วยรักษาสภาพอะไหล่ฮาร์ดแวร์ให้มีอายุยาวนานขึ้นด้วย

    เป็นไงครับไหนใครเคยเชื่ออะไรตามหัวข้อนี้บ้าง ก็อ่านไว้เป็นความรู้สนุกๆกันนะครับ
    ถ้าใครมีคำถามอะไรส่งมาได้เลยนะครับ นายTechTipsจะไปหาคำตอบมาให้เเน่นอนครับ
    #TechTips

    สวัสดีครับวันนี้มาพบกับนายTechTips กันอีกเเล้ว จะมีเรื่องสนุกๆอะไรมาเล่าให้ฟังลองอ่านกันดูได้เลยครับ บ่อยครั้งที่ความเชื่อต่างๆ มักมาจากคำแนะนำต่างๆ ที่ “คนอื่นบอกต่อกันมา” ตัวอย่างเช่น คอมพิวเตอร์ MacBook จะไม่มีวันติดไวรัส หรือแม้กระทั่งเสียบสายชาร์ตทิ้งไว้ทำให้แบตเตอรี่พัง ซึ่งจริงๆ แล้วเป็นเช่นนั้นหรือไม่ มาดูกัน 1. เชื่อกันว่า “Mac ไม่มีวันติดไวรัส” แต่กูรูเทคโนโลยีต่างประเทศได้เผยว่า ในปัจจุบันแม้แต่คอมจากบริษัท Apple อย่างเจ้า Mac ทั้งหลายก็สามารถติดไวรัสและอาจปะทะเข้ากับมัลแวร์ได้เช่นกัน ซึ่งครั้งหนึ่ง Mac เคยโฆษณาว่า “คอมของเราต้านไวรัสได้” แต่ในปี 2012 พวกเขาได้ถอดคำโฆษณานั้นออกจากระบบ หลังจากที่ถูกโทรจันบุกอย่างหนัก 2. เสียบสายชาร์จมือถือทิ้งไว้ทำให้แบตเตอรี่เสื่อม กลายเป็นความเชื่อที่ระบาดไปทั่วโลกว่า การเสียบสายชาร์จทิ้งไว้จะทำให้แบตเตอรี่เสื่อม แต่กูรูเทคโนโลยีเผยว่า นี่เป็นความเชื่อที่ยังไม่มีหลักฐานใดรองรับอย่างเป็นทางการ นอกจากนี้แบตเตอรี่ในปัจจุบันยังเป็นแบบ “Lithium-ion” ที่มีศักยภาพในการหยุดชาร์ตอัตโนมัติเมื่อเต็มแล้ว 3. ยิ่งพิกเซลมาก กล้องนั้นยิ่งเทพ จริงอยู่ว่าจำนวนพิกเซลมีผลต่อคุณภาพของภาพ แต่ผู้เชี่ยวชาญตั้งคำถามได้อย่างน่าสนใจว่า “คุณคิดว่ากล้องที่มีความละเอียด 8 Megapixel กับ 12 Megapixel ต่างกันมากไหม” และเขาได้เฉลยคำตอบว่าคุณภาพของภาพแทบไม่ต่างกัน อย่างที่หลายคนคาดคิด เพราะแท้จริงแล้วคุณภาพของภาพวัดกันที่ “แสง” และตัว “เซนเซอร์” จับภาพมากกว่า ฉะนั้นหากกล้องไหนที่สามารถรับแสงได้มาก และมีเซ็นเซอร์ที่มีคุณภาพชั้นดี ก็จะย่อมทำให้เราได้ภาพที่ดีกว่า 4. อย่าชาร์จแบตเตอรี่เด็ดขาด จนกว่ามันใกล้จะหมด เป็นอีกความเชื่อที่กระจายทั่วโลก ซึ่งหลายๆคนมักบอกกันว่า “รอให้แบตเตอรี่ใกล้หมดก่อน แล้วค่อยชาร์จ ไม่งั้นมันจะเสื่อม” แต่ที่จริงช่วงจังหวะที่ชาร์ตไม่เคยทำให้คุณภาพของแบตเตอรี่เสื่อมแม้แต่น้อย แต่สาเหตุหลักที่เสื่อมก็เพราะแบตเตอรี่มีวงรอบอายุของมัน และการชาร์จเมื่อแบตเตอรี่หมดหรือใกล้หมด คือการทำให้แบตเตอรี่ใช้วงรอบอายุของมันให้หมดไปเร็วยิ่งขึ้น 5. การเลือก Display Resolution สูงๆ บนสมาร์ทโฟนจะทำให้ภาพคมชัด ผู้เชี่ยวชาญเผยว่า Display Resolution สูงไม่ได้หมายถึงคุณภาพระดับพระเจ้าเสมอไป และนั่นก็เป็นสาเหตุว่าทำไมทาง Apple จึงมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาให้มือถือแต่ละรุ่นมีความโดดเด่นในเรื่องแสง (Brightness) มากกว่า Display Resolution ที่ไม่ได้ทำให้คุณภาพแตกต่างจากเดิมเท่าใดนัก 6. ที่ชาร์ตของ iPad ไม่ควรเอามาใช้กับ iPhone ยังเป็นข้อสงสัยที่หลายคนรู้สึกคลุมเคลือว่ามีผลหรือไม่ เพราะแม้ทาง Apple เองก็ได้ประกาศอย่างเป็นทางการว่า ตัวชาร์จขนาด 12 วัตต์ของ iPad สามารถใช้ชาร์จได้ทั้ง iPhone และ iPad แต่ทางบริษัท AEi Systems ได้ออกมาเผยว่าการใช้ที่ชาร์จร่วมกันเช่นนั้นจะอาจมีผลกระทบกับ iPhone เช่นกัน หากทำบ่อยและมันอาจใช้เวลายาวนานนับปี ถึงจะเห็นว่าแบตเตอรี่ได้เสื่อมไปแล้ว 7. อย่าชัทดาวน์คอมพิวเตอร์ทุกวัน การชัทดาวน์เครื่องนั้นถือเป็นสิ่งที่ดีต่อคอมพิวเตอร์มาก และดียิ่งกว่าโหมด “Sleep” เสียอีก เพราะการชัทดาวน์จะทำให้เครื่องกินไฟน้อยกว่าเดิม และยังช่วยรักษาสภาพอะไหล่ฮาร์ดแวร์ให้มีอายุยาวนานขึ้นด้วย เป็นไงครับไหนใครเคยเชื่ออะไรตามหัวข้อนี้บ้าง ก็อ่านไว้เป็นความรู้สนุกๆกันนะครับ ถ้าใครมีคำถามอะไรส่งมาได้เลยนะครับ นายTechTipsจะไปหาคำตอบมาให้เเน่นอนครับ #TechTips
    0 Comments 0 Shares 854 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 122 Views 1 Reviews
  • หลักฐาน white clot ที่ บอกว่า เป็นไปไม่ได้ เป็นของที่คนตายแล้วผ่าศเขี่ยออกมา แล้วเอาไปทิ้งอ่างน้ำแล้วเ จากการพิสูจน์ 100 ศพ และพบหลักฐานเกี่ยวข้องกับวัคซีนวัคซีน รวมทั้งกลไกการเหนียวนำทำให้เกิดแท่งขาว ที่ไม่สามารถย่อยด้วยเอนไซม์ได้ และสามารถพิสูจน์ส่วนประกอบเป็นอมิลอยด์ นอกจากนั้นเป็นรายงานจากที่ต่างๆคีบดูดออกมาจากหลอดเลือดของคนป่วยที่ยังมีชีวิต
    หลักฐาน white clot ที่ บอกว่า เป็นไปไม่ได้ เป็นของที่คนตายแล้วผ่าศเขี่ยออกมา แล้วเอาไปทิ้งอ่างน้ำแล้วเ จากการพิสูจน์ 100 ศพ และพบหลักฐานเกี่ยวข้องกับวัคซีนวัคซีน รวมทั้งกลไกการเหนียวนำทำให้เกิดแท่งขาว ที่ไม่สามารถย่อยด้วยเอนไซม์ได้ และสามารถพิสูจน์ส่วนประกอบเป็นอมิลอยด์ นอกจากนั้นเป็นรายงานจากที่ต่างๆคีบดูดออกมาจากหลอดเลือดของคนป่วยที่ยังมีชีวิต
    Like
    1
    0 Comments 0 Shares 830 Views 0 Reviews
  • ชมคลิปวีดีโอที่ไม่เคยเผยแพร่ที่ไหนมาก่อน เบื้องหลังการเจรจา “ก่อนจะทวงคืนฟ้าทะลายโจรสำเร็จ” ให้ กลับคืนมาใน คู่มือแนวเวชปฏิบัติ ในการรักษาโรคโควิด-19 ทุกโรงพยาบาล ระหว่าง ตัวแทนภาคประชาชน คือ อ.ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ คณบดีวิทยาลัยการแพทย์แผนไทยตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต, ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ที่ปรึกษาวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต คุณรสนา โตสิตระกูล กรรมการมูนิธิสุขภาพไทย กับ คณะผู้แทนกระทรวงสาธารณสุข วันที่ 16 กรกฎาคม 2567
    0 Comments 0 Shares 194 Views 3400 0 Reviews
  • ชมคลิป ที่ถูกลบออกจากโซเชียลมีเดีย เปิดหลักฐานเอกสารของไฟเซอร์ ยังไม่เคยศึกษาเรื่องผลกระทบจากวัคซีนในเรื่องของโรคมะเร็งจริงหรือไม่
    0 Comments 0 Shares 200 Views 1113 0 Reviews
  • สำหรับวันนี้นายTechTipsจะมานำเสนอภัยอีกรูปแบบหนึ่งที่มาเงียบๆซึ่งเป็นผลมาจากการใช้คอมพิวเตอร์ครับ

    โรคฮิตยุคติดจอ ใช้สายตา- จ้องคอมพิวเตอร์นานๆ เสี่ยงโรค CVS
    CVS หรือ คอมพิวเตอร์วิชั่นซินโดรม
    อาการคอมพิวเตอร์วิชั่นซินโดรม จะมีวิธีการสังเกตและลักษณะดังต่อไปนี้
    ตาแห้ง แสบและเคืองตา
    ปวดเมื่อยตา เหนื่อยตา ไม่ค่อยอยากลืมตา
    ตาพร่ามัว มองเห็นไม่ชัด
    โฟกัสได้ช้าลง
    เวลากระพริบตาอาจมีน้ำตาไหลออกมา
    ปวดบริเวณกระบอกตา
    ปวดศีรษะ หลัง ไหล่ หรือปวดต้นคอ เป็นอาการที่เรียกว่า Office Syndrome
    ตาสู้แสงไม่ได้

    ศ.พญ.งามจิตต์ เกษตรสุวรรณ ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ หัวหน้าหน่วยกระจกตาและการแก้ไขสายตา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย กล่าวว่า โรคCVS (Computer Vision Syndrome) หรือ คอมพิวเตอร์วิชั่นซินโดรม คือ กลุ่มอาการทางตาที่เกิดจากการใช้สายตากับคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน ทำให้เกิดอาการปวดเมื่อย มีปัญหาทางตา คอ บ่า ไหล่

    โดยเฉพาะคนวัยทำงานที่มีการใช้คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต และสมาร์ทโฟนมากจนเกินไป โดยอาการคอมพิวเตอร์วิชั่นซินโดรม มักเกิดกับผู้ที่ใช้อุปกรณ์ดังกล่าวต่อเนื่องนานเกินกว่า 2 ชั่วโมงติดต่อกัน

    นอกจากอาการผิดปกติที่เกิดขึ้น ปัจจัยต่าง ๆ ที่อาจส่งผลให้เกิดอาการนี้ ได้แก่

    ขณะจดจ่อกับการอ่านหนังสือหรือจ้องจอคอมพิวเตอร์จะมีการกระพริบตาน้อยลง ทำให้เกิดอาการตาแห้งง่ายขึ้น
    แสงสว่างภายในห้องไม่เหมาะสม
    มีแสงสะท้อนจากจอคอมพิวเตอร์
    การที่ตัวอักษรบนจอคอมพิวเตอร์ไม่เรียบคมชัดเท่าตัวพิมพ์บนหน้าหนังสือ หรือมีความไม่นิ่งของสัญญาณในจอคอมพิวเตอร์ ทำให้ต้องพยายามโฟกัสมากขึ้นจึงก่อให้เกิดอาการตาเมื่อยล้าได้ง่ายขึ้น
    ระยะห่างจากหน้าจอ
    ระดับสายตาในการมองจอคอมพิวเตอร์
    ท่าทางในการในการนั่งทำงานที่ไม่เหมาะสม

    เอาละครับถ้าใครมีอาการดังที่อ่านมานี้ต้องปรับตัวนะครับ ด้วยการเพิ่มเเสงให้เพียงพอ จัดท่านั่ง เเละหยุดพักในการจ้องจอบ้าง อาจจะเปลี่ยนอิริยาบถทุกๆสองชม เป้นต้น นอกจากพักสายตาเเล้วยังได้พักผ่อนร่างกายส่วนอื่นๆ ให้หายเหนื่อยล้าจากการทำงานได้อีกด้วยครับ

    อย่าลืมนะครับการป้องกันที่ดีที่สุดคืออย่าให้เราป่วยเเล้วค่อยรักษานะครับเริ่มต้นป้องกันไม่ให้ป่วยดีกว่า
    ด้วยความหวังดีจาก นายTechTips ครับ
    #TechTips
    สำหรับวันนี้นายTechTipsจะมานำเสนอภัยอีกรูปแบบหนึ่งที่มาเงียบๆซึ่งเป็นผลมาจากการใช้คอมพิวเตอร์ครับ โรคฮิตยุคติดจอ ใช้สายตา- จ้องคอมพิวเตอร์นานๆ เสี่ยงโรค CVS CVS หรือ คอมพิวเตอร์วิชั่นซินโดรม อาการคอมพิวเตอร์วิชั่นซินโดรม จะมีวิธีการสังเกตและลักษณะดังต่อไปนี้ ตาแห้ง แสบและเคืองตา ปวดเมื่อยตา เหนื่อยตา ไม่ค่อยอยากลืมตา ตาพร่ามัว มองเห็นไม่ชัด โฟกัสได้ช้าลง เวลากระพริบตาอาจมีน้ำตาไหลออกมา ปวดบริเวณกระบอกตา ปวดศีรษะ หลัง ไหล่ หรือปวดต้นคอ เป็นอาการที่เรียกว่า Office Syndrome ตาสู้แสงไม่ได้ ศ.พญ.งามจิตต์ เกษตรสุวรรณ ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ หัวหน้าหน่วยกระจกตาและการแก้ไขสายตา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย กล่าวว่า โรคCVS (Computer Vision Syndrome) หรือ คอมพิวเตอร์วิชั่นซินโดรม คือ กลุ่มอาการทางตาที่เกิดจากการใช้สายตากับคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน ทำให้เกิดอาการปวดเมื่อย มีปัญหาทางตา คอ บ่า ไหล่ โดยเฉพาะคนวัยทำงานที่มีการใช้คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต และสมาร์ทโฟนมากจนเกินไป โดยอาการคอมพิวเตอร์วิชั่นซินโดรม มักเกิดกับผู้ที่ใช้อุปกรณ์ดังกล่าวต่อเนื่องนานเกินกว่า 2 ชั่วโมงติดต่อกัน นอกจากอาการผิดปกติที่เกิดขึ้น ปัจจัยต่าง ๆ ที่อาจส่งผลให้เกิดอาการนี้ ได้แก่ ขณะจดจ่อกับการอ่านหนังสือหรือจ้องจอคอมพิวเตอร์จะมีการกระพริบตาน้อยลง ทำให้เกิดอาการตาแห้งง่ายขึ้น แสงสว่างภายในห้องไม่เหมาะสม มีแสงสะท้อนจากจอคอมพิวเตอร์ การที่ตัวอักษรบนจอคอมพิวเตอร์ไม่เรียบคมชัดเท่าตัวพิมพ์บนหน้าหนังสือ หรือมีความไม่นิ่งของสัญญาณในจอคอมพิวเตอร์ ทำให้ต้องพยายามโฟกัสมากขึ้นจึงก่อให้เกิดอาการตาเมื่อยล้าได้ง่ายขึ้น ระยะห่างจากหน้าจอ ระดับสายตาในการมองจอคอมพิวเตอร์ ท่าทางในการในการนั่งทำงานที่ไม่เหมาะสม เอาละครับถ้าใครมีอาการดังที่อ่านมานี้ต้องปรับตัวนะครับ ด้วยการเพิ่มเเสงให้เพียงพอ จัดท่านั่ง เเละหยุดพักในการจ้องจอบ้าง อาจจะเปลี่ยนอิริยาบถทุกๆสองชม เป้นต้น นอกจากพักสายตาเเล้วยังได้พักผ่อนร่างกายส่วนอื่นๆ ให้หายเหนื่อยล้าจากการทำงานได้อีกด้วยครับ อย่าลืมนะครับการป้องกันที่ดีที่สุดคืออย่าให้เราป่วยเเล้วค่อยรักษานะครับเริ่มต้นป้องกันไม่ให้ป่วยดีกว่า ด้วยความหวังดีจาก นายTechTips ครับ #TechTips
    0 Comments 0 Shares 1081 Views 0 Reviews
  • ชมคลิปที่ถูกลบจากโซเชียลมีเดีย “แท่งย้วยสีขาวในหลอดเลือด(White Clot)ที่เกิดขึ้นจากวัคซีน จะเกิดขึ้น ”ก่อน“ตายเท่านั้น”
    0 Comments 0 Shares 205 Views 791 0 Reviews
  • ชมคลิปที่ถูกลบออกจากโซเชียลมีเดีย ช็อคคำสารช็อคของวัคซีนไฟเซอร์
    0 Comments 0 Shares 209 Views 726 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 151 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 182 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 117 Views 0 Reviews
  • Like
    1
    0 Comments 0 Shares 150 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 93 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 47 Views 0 Reviews
  • https://youtu.be/6g-SPvBlO8w
    0 Comments 0 Shares 203 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 109 Views 0 Reviews
  • Like
    1
    0 Comments 0 Shares 162 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 47 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 43 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 136 Views 0 Reviews
  • 0 Comments 0 Shares 148 Views 0 Reviews