• [1]
    ***ราชา ***กษัตริย์ ราชา... เป็นผู้ประเสริฐที่สุด ในหมู่ชนผู้รังเกียจด้วยโคตร... ท่านผู้ถึง พร้อมด้วยวิชา และจรณะ... เป็นผู้ประเสริฐที่สุด ในหมู่เทวดา และมนุษย์...{อัมพัฏฐสูตร}


    {จากพระไตรปิฏกเล่มสีน้ำเงิน เล่ม11/หน้า511/บรรทัด18}
    {จากพระไตรปิฏกเล่มสีแดง เล่ม11/หน้า434/บรรทัด9}
    {จากพระไตรปิฏกเล่มสีน้ำเงิน เล่ม15/หน้า165/บรรทัด3}
    {จากพระไตรปิฏกเล่มสีแดง เล่ม15/หน้า161/บรรทัด17}
    http://www.tripitaka91.com/11-512-2.html
    http://www.tripitaka91.com/11-511-18.html#middle
    http://www.tripitaka91.com/15-165-3.html
    http://www.tripitaka91.com/15-164-18.html#middle
    http://www.tripitaka91.com/91book/book11/501_550.htm#512
    www.tripitaka91.com (เว็ปพระไตรปิฏก)








    >>>[จากพระไตรปิฏก มหามกุฏราชวิทยาลัย ชุด 91 เล่ม ม.ม.ร]






    ***[พระพุทธเจ้าตรัส]... ดูก่อนอัมพัฏฐะ...ก็คาถานี้นั้น สนังกุมารพรหมขับถูกไม่ผิด... กล่าวไว้ถูกไม่ผิด... ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่ใช่ไม่ประกอบด้วยประโยชน์...
    [เราเห็นด้วย]








    ***[พระพุทธเจ้าตรัส]... ดูก่อนอัมพัฏฐะ... [ถึงเรา ก็กล่าวเช่นนี้ว่า กษัตริย์เป็นผู้ประเสริฐที่สุด]... ในหมู่ชนผู้รังเกียจด้วยโคตร ท่านผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เป็นผู้ประเสริฐที่สุดในหมู่เทวดา และมนุษย์.





    >>>จบ ภาณวาร ที่ ๑











    >>>>(หมายเหตุ)<<<<<

    ****[อกาลิโก]….หมายความว่า พระธรรมพระวินัยคำสอนของพระพุทธเจ้า ทุกสูตรทุกข้อนั้น….(ไม่มียุคสมัยไม่ประกอบด้วยกาล ไม่มีกำหนดจำกัดอายุกาลเวลา)…. ให้ผลทุกเมื่อทุกโอกาสทุกเวลา ทุกยุคทุกสมัยตามลำดับแห่งการปฏิบัติ…. (จริงแท้อยู่ตลอดอนันตกาล)….ด้วยเหตุนี้ พระธรรมพระวินัย จึงไม่ประกอบด้วยกาล ไม่ขึ้นอยู่กับกาลเวลา.




    [จากพระไตรปิฏกเล่มสีน้ำเงิน เล่ม34/หน้า186/บรรทัด12-13]
    [จากพระไตรปิฏกเล่มสีแดง เล่ม34/หน้า189/บรรทัด13]
    www.tripitaka91.com {เว็ปพระไตรปิฏก}
    http://www.tripitaka91.com/34-186-12.html#middle
    http://www.tripitaka91.com/34-186-13.html#middle
    http://www.tripitaka91.com/91book/book34/151_200.htm#186









    [2]
    >>>[จากพระไตรปิฏก มหามกุฏราชวิทยาลัย ชุด 91 เล่ม ม.ม.ร]






    ***[พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า]…. สาวิตฺติ ฉนฺทโส มุขํ ฉันท์ทั้งหลายมีสาวิตติฉันท์ เป็นประมุข เพราะอันผู้สาธยายพระเวททั้งหลายต้องสาธยายก่อน.



    ***พระราชาท่านกล่าวว่า… เป็นประมุข เพราะประเสริฐที่สุดกว่ามนุษย์ทั้งหลาย.



    >>>>เสลสูตรที่ ๗
    [จากพระไตรปิฏกเล่มสีน้ำเงิน เล่ม47/หน้า554/บรรทัด8]
    [จากพระไตรปิฏกเล่มสีแดง เล่ม47/หน้า451/บรรทัด23]
    http://www.tripitaka91.com/47-554-8.html
    www.tripitaka91.com {เว็ปพระไตรปิฏก}






    [3]

    >>>[จากพระไตรปิฏก มหามกุฏราชวิทยาลัย ชุด 91 เล่ม ม.ม.ร]







    ***อนึ่ง พระราชาผู้เป็นกษัตริย์ แม้ทรงพระเยาว์ … เป็นกษัตริย์ผู้ได้รับ มุรธาภิเษกแล้ว หรือจะเป็นพราหมณ์ก็ตาม ก็เป็นผู้ควรแก่การกราบไหว้ของชนที่เหลือ … ชื่อว่า ชาติวุฑฒะ ผู้เจริญโดยชาติ.




    >>>อ.กิงสีลสูตร
    [จากพระไตรปิฏกเล่มสีน้ำเงิน เล่ม47/หน้า277/บรรทัด1]
    [จากพระไตรปิฏกเล่มสีแดง เล่ม47/หน้า221/บรรทัด1]
    http://www.tripitaka91.com/47-277-1.html#middle
    www.tripitaka91.com {เว็ปพระไตรปิฏก}
    [1] ***ราชา ***กษัตริย์ ราชา... เป็นผู้ประเสริฐที่สุด ในหมู่ชนผู้รังเกียจด้วยโคตร... ท่านผู้ถึง พร้อมด้วยวิชา และจรณะ... เป็นผู้ประเสริฐที่สุด ในหมู่เทวดา และมนุษย์...{อัมพัฏฐสูตร} {จากพระไตรปิฏกเล่มสีน้ำเงิน เล่ม11/หน้า511/บรรทัด18} {จากพระไตรปิฏกเล่มสีแดง เล่ม11/หน้า434/บรรทัด9} {จากพระไตรปิฏกเล่มสีน้ำเงิน เล่ม15/หน้า165/บรรทัด3} {จากพระไตรปิฏกเล่มสีแดง เล่ม15/หน้า161/บรรทัด17} http://www.tripitaka91.com/11-512-2.html http://www.tripitaka91.com/11-511-18.html#middle http://www.tripitaka91.com/15-165-3.html http://www.tripitaka91.com/15-164-18.html#middle http://www.tripitaka91.com/91book/book11/501_550.htm#512 www.tripitaka91.com (เว็ปพระไตรปิฏก) >>>[จากพระไตรปิฏก มหามกุฏราชวิทยาลัย ชุด 91 เล่ม ม.ม.ร] ***[พระพุทธเจ้าตรัส]... ดูก่อนอัมพัฏฐะ...ก็คาถานี้นั้น สนังกุมารพรหมขับถูกไม่ผิด... กล่าวไว้ถูกไม่ผิด... ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่ใช่ไม่ประกอบด้วยประโยชน์... [เราเห็นด้วย] ***[พระพุทธเจ้าตรัส]... ดูก่อนอัมพัฏฐะ... [ถึงเรา ก็กล่าวเช่นนี้ว่า กษัตริย์เป็นผู้ประเสริฐที่สุด]... ในหมู่ชนผู้รังเกียจด้วยโคตร ท่านผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เป็นผู้ประเสริฐที่สุดในหมู่เทวดา และมนุษย์. >>>จบ ภาณวาร ที่ ๑ >>>>(หมายเหตุ)<<<<< ****[อกาลิโก]….หมายความว่า พระธรรมพระวินัยคำสอนของพระพุทธเจ้า ทุกสูตรทุกข้อนั้น….(ไม่มียุคสมัยไม่ประกอบด้วยกาล ไม่มีกำหนดจำกัดอายุกาลเวลา)…. ให้ผลทุกเมื่อทุกโอกาสทุกเวลา ทุกยุคทุกสมัยตามลำดับแห่งการปฏิบัติ…. (จริงแท้อยู่ตลอดอนันตกาล)….ด้วยเหตุนี้ พระธรรมพระวินัย จึงไม่ประกอบด้วยกาล ไม่ขึ้นอยู่กับกาลเวลา. [จากพระไตรปิฏกเล่มสีน้ำเงิน เล่ม34/หน้า186/บรรทัด12-13] [จากพระไตรปิฏกเล่มสีแดง เล่ม34/หน้า189/บรรทัด13] www.tripitaka91.com {เว็ปพระไตรปิฏก} http://www.tripitaka91.com/34-186-12.html#middle http://www.tripitaka91.com/34-186-13.html#middle http://www.tripitaka91.com/91book/book34/151_200.htm#186 [2] >>>[จากพระไตรปิฏก มหามกุฏราชวิทยาลัย ชุด 91 เล่ม ม.ม.ร] ***[พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า]…. สาวิตฺติ ฉนฺทโส มุขํ ฉันท์ทั้งหลายมีสาวิตติฉันท์ เป็นประมุข เพราะอันผู้สาธยายพระเวททั้งหลายต้องสาธยายก่อน. ***พระราชาท่านกล่าวว่า… เป็นประมุข เพราะประเสริฐที่สุดกว่ามนุษย์ทั้งหลาย. >>>>เสลสูตรที่ ๗ [จากพระไตรปิฏกเล่มสีน้ำเงิน เล่ม47/หน้า554/บรรทัด8] [จากพระไตรปิฏกเล่มสีแดง เล่ม47/หน้า451/บรรทัด23] http://www.tripitaka91.com/47-554-8.html www.tripitaka91.com {เว็ปพระไตรปิฏก} [3] >>>[จากพระไตรปิฏก มหามกุฏราชวิทยาลัย ชุด 91 เล่ม ม.ม.ร] ***อนึ่ง พระราชาผู้เป็นกษัตริย์ แม้ทรงพระเยาว์ … เป็นกษัตริย์ผู้ได้รับ มุรธาภิเษกแล้ว หรือจะเป็นพราหมณ์ก็ตาม ก็เป็นผู้ควรแก่การกราบไหว้ของชนที่เหลือ … ชื่อว่า ชาติวุฑฒะ ผู้เจริญโดยชาติ. >>>อ.กิงสีลสูตร [จากพระไตรปิฏกเล่มสีน้ำเงิน เล่ม47/หน้า277/บรรทัด1] [จากพระไตรปิฏกเล่มสีแดง เล่ม47/หน้า221/บรรทัด1] http://www.tripitaka91.com/47-277-1.html#middle www.tripitaka91.com {เว็ปพระไตรปิฏก}
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 232 มุมมอง 0 รีวิว
  • (เกร็ดความรู้เรื่องไทยศึกษา) แหวนพิรอด แหวนพิรอด เป็นเครื่องรางของขลังชนิดหนึ่ง ทำด้วยผ้าหรือกระดาษว่าว ลงยันต์และอักขระอาคม แล้วม้วนฟั่นเป็นเส้นนำมาถักเป็นวงแหวน ลงรักปิดทอง ดูภายนอกคล้ายทำด้วยโลหะ ใช้สวมใส่นิ้ว เพื่อความคงกระพันชาตรีและเพื่อผลในทางชกด้วยหมัดมือ เพราะมีหัวใหญ่และแข็งจึงใช้เหมือนสนับมือได้ ที่ใช้กระดาษว่าวเพราะมีความเหนียวพิเศษ แหวนพิรอดนี้บางทีทำด้วยเชือกหรือด้ายถัก หัวแหวนพิรอดมีหลายแบบ บางแบบทำเป็นรูปนูนอย่างที่เรียกว่า ถันพระอุมา อาจารย์บางองค์นิยมถักแบน ๆ เรียกกันว่า ถักแบบลายจระเข้ขบฟันเป็นลายแน่นสับกันไปมา ในการทำแหวนพิรอดนั้น หัวแหวนนิยมลงยันต์รูปพระภควัม เมื่อลงยันต์เสกคาถาแล้ว หลังจากนั้นทดลองนำไปเผาไฟดู ถ้าไม่ไหม้ก็ถือว่าใช้ได้ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แหวนพิรอดที่มีชื่อเสียงมาก ได้แก่ แหวนพิรอดของหลวงพ่อม่วง วัดประดู่ทรงธรรม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งถักด้วยกระดาษ ลงรัก และแหวนพิรอดของเจ้าอธิการเฮง วัดเขาดิน จังหวัดกำแพงเพชร ซึ่งถักด้วยด้าย เครื่องรางของขลังชนิดนี้หากทำขนาดใหญ่ใช้สวมแขน เรียกว่า “สนับแขนพิรอด” มักนิยมทำด้วยโลหะผสม ทำหัวเหมือนหัวแหวนพิรอด (เรียบเรียงโดย ประคอง นิมมานเหมินท์ ในสารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคกลาง เล่ม15)(ภาพจาก คมชัดลึก ออนไลน์)
    (เกร็ดความรู้เรื่องไทยศึกษา) แหวนพิรอด แหวนพิรอด เป็นเครื่องรางของขลังชนิดหนึ่ง ทำด้วยผ้าหรือกระดาษว่าว ลงยันต์และอักขระอาคม แล้วม้วนฟั่นเป็นเส้นนำมาถักเป็นวงแหวน ลงรักปิดทอง ดูภายนอกคล้ายทำด้วยโลหะ ใช้สวมใส่นิ้ว เพื่อความคงกระพันชาตรีและเพื่อผลในทางชกด้วยหมัดมือ เพราะมีหัวใหญ่และแข็งจึงใช้เหมือนสนับมือได้ ที่ใช้กระดาษว่าวเพราะมีความเหนียวพิเศษ แหวนพิรอดนี้บางทีทำด้วยเชือกหรือด้ายถัก หัวแหวนพิรอดมีหลายแบบ บางแบบทำเป็นรูปนูนอย่างที่เรียกว่า ถันพระอุมา อาจารย์บางองค์นิยมถักแบน ๆ เรียกกันว่า ถักแบบลายจระเข้ขบฟันเป็นลายแน่นสับกันไปมา ในการทำแหวนพิรอดนั้น หัวแหวนนิยมลงยันต์รูปพระภควัม เมื่อลงยันต์เสกคาถาแล้ว หลังจากนั้นทดลองนำไปเผาไฟดู ถ้าไม่ไหม้ก็ถือว่าใช้ได้ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แหวนพิรอดที่มีชื่อเสียงมาก ได้แก่ แหวนพิรอดของหลวงพ่อม่วง วัดประดู่ทรงธรรม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งถักด้วยกระดาษ ลงรัก และแหวนพิรอดของเจ้าอธิการเฮง วัดเขาดิน จังหวัดกำแพงเพชร ซึ่งถักด้วยด้าย เครื่องรางของขลังชนิดนี้หากทำขนาดใหญ่ใช้สวมแขน เรียกว่า “สนับแขนพิรอด” มักนิยมทำด้วยโลหะผสม ทำหัวเหมือนหัวแหวนพิรอด (เรียบเรียงโดย ประคอง นิมมานเหมินท์ ในสารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคกลาง เล่ม15)(ภาพจาก คมชัดลึก ออนไลน์)
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 400 มุมมอง 0 รีวิว