• แท็บเล็ต หรือเศษขยะทางการศึกษา? : SondhitalkEP291 VDO
    แจกแท็บเลต แก้ปัญหาการศึกษาไทย !?! หรือหาเรื่องผลาญงบ?
    #Sondhitalk #สนธิทอล์ค #สนธิ #สนธิเล่าเรื่อง #sondhiapp #SondhiX #การศึกษาไทย #ปัญหาการศึกษาไทย #แจกแท็บเล็ต
    • สมัครสมาชิก membership ความจริงมีหนึ่งเดียว ช่อง SONDHITALK บน YouTube : https://www.youtube.com/@sondhitalk/join
    • ติดต่อสอบถามได้ที่ Line : @sondhitalk
    แท็บเล็ต หรือเศษขยะทางการศึกษา? : SondhitalkEP291 VDO แจกแท็บเลต แก้ปัญหาการศึกษาไทย !?! หรือหาเรื่องผลาญงบ? #Sondhitalk #สนธิทอล์ค #สนธิ #สนธิเล่าเรื่อง #sondhiapp #SondhiX #การศึกษาไทย #ปัญหาการศึกษาไทย #แจกแท็บเล็ต • สมัครสมาชิก membership ความจริงมีหนึ่งเดียว ช่อง SONDHITALK บน YouTube : https://www.youtube.com/@sondhitalk/join • ติดต่อสอบถามได้ที่ Line : @sondhitalk
    Like
    Love
    Angry
    5
    0 Comments 0 Shares 251 Views 19 1 Reviews
  • การเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงระบบดิจิทัล (Digital Divide) เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นทั่วโลก รวมถึงในประเทศไทย โดยความเหลื่อมล้ำนี้สามารถแบ่งออกได้หลายมิติ ดังนี้:

    ### 1. **ความเหลื่อมล้ำด้านโครงสร้างพื้นฐาน**
    - **พื้นที่เมือง vs. ชนบท**: ในเขตเมืองมักมีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงและโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลที่ดีกว่า ในขณะที่พื้นที่ห่างไกลหรือชนบทอาจขาดแคลนสัญญาณอินเทอร์เน็ตหรือไฟฟ้า
    - **ความเร็วและความเสถียร**: แม้ในพื้นที่ที่มีสัญญาณอินเทอร์เน็ต ความเร็วและความเสถียรอาจไม่เท่ากัน ทำให้การใช้งานมีประสิทธิภาพต่างกัน

    ### 2. **ความเหลื่อมล้ำด้านเศรษฐกิจ**
    - **ค่าใช้จ่าย**: การเข้าถึงอุปกรณ์ดิจิทัล (เช่น สมาร์ทโฟน คอมพิวเตอร์) และค่าบริการอินเทอร์เน็ตอาจเป็นภาระสำหรับกลุ่มผู้มีรายได้น้อย
    - **รายได้และโอกาส**: กลุ่มที่มีรายได้สูงมักมีโอกาสเข้าถึงเทคโนโลยีและทักษะดิจิทัลได้ดีกว่า ส่งผลให้เกิดช่องว่างทางเศรษฐกิจมากขึ้น

    ### 3. **ความเหลื่อมล้ำด้านทักษะและการศึกษา**
    - **ทักษะดิจิทัล**: กลุ่มผู้สูงอายุหรือผู้ที่ขาดโอกาสในการเรียนรู้อาจไม่มีความรู้เพียงพอในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
    - **การศึกษา**: โรงเรียนในเมืองอาจมีทรัพยากรด้านดิจิทัล (เช่น อุปกรณ์การเรียนออนไลน์) ดีกว่าโรงเรียนในพื้นที่ห่างไกล

    ### 4. **ความเหลื่อมล้ำด้านสังคมและประชากรศาสตร์**
    - **วัย**: คนรุ่นใหม่อาจปรับตัวกับเทคโนโลยีได้ดีกว่าผู้สูงอายุ
    - **เพศ**: ในบางสังคม ผู้หญิงอาจมีโอกาสเข้าถึงเทคโนโลยีน้อยกว่าผู้ชายเนื่องจากอคติทางวัฒนธรรม

    ### 5. **นโยบายและการสนับสนุนจากรัฐ**
    - **การกระจายทรัพยากร**: นโยบายของรัฐอาจไม่ทั่วถึง ทำให้บางพื้นที่หรือกลุ่มคนถูกทิ้งไว้ข้างหลัง
    - **การส่งเสริมทักษะดิจิทัล**: โครงการฝึกอบรมอาจไม่เพียงพอหรือไม่ครอบคลุมทุกกลุ่ม

    ### ผลกระทบของความเหลื่อมล้ำดิจิทัล
    - **เศรษฐกิจ**: กลุ่มที่ขาดแคลนโอกาสดิจิทัลอาจถูกกีดกันจากตลาดงานสมัยใหม่
    - **การศึกษา**: นักเรียนในพื้นที่ห่างไกลอาจเสียเปรียบเนื่องจากขาดแคลนอุปกรณ์การเรียนออนไลน์
    - **สุขภาพ**: การเข้าถึงบริการสุขภาพดิจิทัล (Telemedicine) อาจจำกัดในบางพื้นที่
    - **สังคม**: ความเหลื่อมล้ำอาจทำให้เกิดช่องว่างทางสังคมระหว่างกลุ่มคนที่เข้าถึงเทคโนโลยีและกลุ่มที่ถูกทิ้งไว้ข้างหลัง

    ### แนทางแก้ไข
    - **พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐาน** โดยเฉพาะในพื้นที่ห่างไกล
    - **ลดค่าใช้จ่าย** ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตและอุปกรณ์ดิจิทัล
    - **ส่งเสริมการศึกษาและฝึกทักษะดิจิทัล** ให้กับทุกกลุ่มวัย
    - **ออกนโยบายที่ครอบคลุม** เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ เช่น โครงการอินเทอร์เน็ตหมู่บ้านหรือแจกแท็บเล็ตสำหรับนักเรียน

    ความเหลื่อมล้ำด้านดิจิทัลเป็นปัญหาที่ต้องแก้ไขอย่างเร่งด่วน เพราะในยุคที่เทคโนโลยีเป็นปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิต การเข้าถึงดิจิทัลอย่างเท่าเทียมจะช่วยลดความไม่เสมอภาคทางสังคมและเศรษฐกิจได้อย่างมีนัยสำคัญ
    การเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงระบบดิจิทัล (Digital Divide) เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นทั่วโลก รวมถึงในประเทศไทย โดยความเหลื่อมล้ำนี้สามารถแบ่งออกได้หลายมิติ ดังนี้: ### 1. **ความเหลื่อมล้ำด้านโครงสร้างพื้นฐาน** - **พื้นที่เมือง vs. ชนบท**: ในเขตเมืองมักมีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงและโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลที่ดีกว่า ในขณะที่พื้นที่ห่างไกลหรือชนบทอาจขาดแคลนสัญญาณอินเทอร์เน็ตหรือไฟฟ้า - **ความเร็วและความเสถียร**: แม้ในพื้นที่ที่มีสัญญาณอินเทอร์เน็ต ความเร็วและความเสถียรอาจไม่เท่ากัน ทำให้การใช้งานมีประสิทธิภาพต่างกัน ### 2. **ความเหลื่อมล้ำด้านเศรษฐกิจ** - **ค่าใช้จ่าย**: การเข้าถึงอุปกรณ์ดิจิทัล (เช่น สมาร์ทโฟน คอมพิวเตอร์) และค่าบริการอินเทอร์เน็ตอาจเป็นภาระสำหรับกลุ่มผู้มีรายได้น้อย - **รายได้และโอกาส**: กลุ่มที่มีรายได้สูงมักมีโอกาสเข้าถึงเทคโนโลยีและทักษะดิจิทัลได้ดีกว่า ส่งผลให้เกิดช่องว่างทางเศรษฐกิจมากขึ้น ### 3. **ความเหลื่อมล้ำด้านทักษะและการศึกษา** - **ทักษะดิจิทัล**: กลุ่มผู้สูงอายุหรือผู้ที่ขาดโอกาสในการเรียนรู้อาจไม่มีความรู้เพียงพอในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล - **การศึกษา**: โรงเรียนในเมืองอาจมีทรัพยากรด้านดิจิทัล (เช่น อุปกรณ์การเรียนออนไลน์) ดีกว่าโรงเรียนในพื้นที่ห่างไกล ### 4. **ความเหลื่อมล้ำด้านสังคมและประชากรศาสตร์** - **วัย**: คนรุ่นใหม่อาจปรับตัวกับเทคโนโลยีได้ดีกว่าผู้สูงอายุ - **เพศ**: ในบางสังคม ผู้หญิงอาจมีโอกาสเข้าถึงเทคโนโลยีน้อยกว่าผู้ชายเนื่องจากอคติทางวัฒนธรรม ### 5. **นโยบายและการสนับสนุนจากรัฐ** - **การกระจายทรัพยากร**: นโยบายของรัฐอาจไม่ทั่วถึง ทำให้บางพื้นที่หรือกลุ่มคนถูกทิ้งไว้ข้างหลัง - **การส่งเสริมทักษะดิจิทัล**: โครงการฝึกอบรมอาจไม่เพียงพอหรือไม่ครอบคลุมทุกกลุ่ม ### ผลกระทบของความเหลื่อมล้ำดิจิทัล - **เศรษฐกิจ**: กลุ่มที่ขาดแคลนโอกาสดิจิทัลอาจถูกกีดกันจากตลาดงานสมัยใหม่ - **การศึกษา**: นักเรียนในพื้นที่ห่างไกลอาจเสียเปรียบเนื่องจากขาดแคลนอุปกรณ์การเรียนออนไลน์ - **สุขภาพ**: การเข้าถึงบริการสุขภาพดิจิทัล (Telemedicine) อาจจำกัดในบางพื้นที่ - **สังคม**: ความเหลื่อมล้ำอาจทำให้เกิดช่องว่างทางสังคมระหว่างกลุ่มคนที่เข้าถึงเทคโนโลยีและกลุ่มที่ถูกทิ้งไว้ข้างหลัง ### แนทางแก้ไข - **พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐาน** โดยเฉพาะในพื้นที่ห่างไกล - **ลดค่าใช้จ่าย** ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตและอุปกรณ์ดิจิทัล - **ส่งเสริมการศึกษาและฝึกทักษะดิจิทัล** ให้กับทุกกลุ่มวัย - **ออกนโยบายที่ครอบคลุม** เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ เช่น โครงการอินเทอร์เน็ตหมู่บ้านหรือแจกแท็บเล็ตสำหรับนักเรียน ความเหลื่อมล้ำด้านดิจิทัลเป็นปัญหาที่ต้องแก้ไขอย่างเร่งด่วน เพราะในยุคที่เทคโนโลยีเป็นปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิต การเข้าถึงดิจิทัลอย่างเท่าเทียมจะช่วยลดความไม่เสมอภาคทางสังคมและเศรษฐกิจได้อย่างมีนัยสำคัญ
    0 Comments 0 Shares 173 Views 0 Reviews
  • 171/68

    วินทร์ เลียววาริณ
    15 มกราคม 2568

    ลูกค้าคนล่าสุดในคืนนี้เป็นฝรั่งผมสีทอง ร่างหนาใหญ่ หน้าตาคุ้นๆ

    หลายคนทักเขา "ท่านเอง"

    'ท่านเอง' วางก้นบนเก้าอี้หน้าเคาน์เตอร์บาร์ บอกข้าพเจ้า "วันนี้อยากกินกรีนแลนด์"

    ข้าพเจ้าเลิกคิ้ว ถาม "ท่านหมายถึง Greenland Cocktail?"

    "ผมหมายถึงกรีนแลนด์จริงๆ"

    "ท่านจะยึดเกรียนแลนด์?"

    "กรีนแลนด์ ไม่ใช่เกรียนแลนด์ เกรียนแลนด์ยึดไปให้ปวดหัวทำไม"

    "ขออภัย ยึดกรีนแลนด์ไปทำไมครับ มันเป็นดินแดนน้ำแข็ง ถ้าท่านชอบที่เย็นๆ มาเมืองไทยตอนนี้ดีที่สุด อุณหภูมิที่กรุงเทพฯ 18 องศา กำลังดี ยกเว้นฝุ่น 2.5 นิดหน่อย ผู้ว่าฯบอกว่าไม่เป็นไร แค่ work from home ก็จบ"

    "ผมต้องยึดเกรียนแลนด์ เอ๊ย! กรีนแลนด์ เพราะต้องขัดขวางพวกจีน สายลับของผมสืบมาว่าจีนจะสร้างเส้นทางค้าขายข้ามกรีนแลนด์ เรียกว่า Ice Silk Road"

    "แล้วพวกกรีนแลนด์จะยอมให้ท่านยึดหรือไฉน?"

    "เราเป็นพี่เบิ้ม ทำอะไรก็ไม่น่าเกลียด"

    "งั้นท่านก็ควรฉลองการยึดล่วงหน้า ด้วยค็อคเทล Greenland ดื่มให้สบายใจดีกว่า"

    "ค็อคเทลนี้ทำยังไง?"

    "Greenland Cocktail ทำมาจากน้ำส้มผสมว็อดกา เติม Amaretto almond liqueur กับ Blue Curacao liqueur และไข่ อ้อ! ใส่เชอร์รีและใบมินท์เข้าไปด้วยเพื่อให้สวย"

    'ท่านเอง' ดื่ม Greenland Cocktail จนหมดแก้ว แล้วเอ่ย "คราวนี้ผมอยากกินปานามา"

    "ท่านหมายถึงค็อคเทล Panama ที่ทำด้วย บรั่นดี Creme de Cacao น้ำแข็ง ครีม?"

    "ค็อคเทลที่คุณว่ามานี้ก็เอา แต่จะยึดปานามาด้วย"

    "ยึดไปทำไมครับ?"

    "พวกจีนไปคุมคลองปานามา เราต้องไปยึดคืนมา"

    "งั้นฉลองด้วยค็อคเทล Panama นะครับ"

    ค็อคเทล Panama หายลงท้อง 'ท่านเอง' กล่าว "คราวนี้ผมอยากกินรัฐที่ 51 ของสหรัฐฯ"

    "ท่านหมายถึงเบียร์ยี่ห้อ 51st State?"

    "เบียร์ก็เอา แต่เวลาพูดถึงรัฐที่ 51 ของสหรัฐฯ ผมหมายถึงแคนาดา"

    "ท่านจะยึดแคนาดาไปทำไมครับ ในเมื่อผู้นำแคนาดาก็เป็นลูกน้องท่านอยู่แล้ว สั่งให้ทำอะไรก็ทำ"

    "ก็อยากยึด ยึดแล้วเท่ เข้าใจมั้ย? เราเป็นพี่เบิ้ม ทำอะไรก็ไม่น่าเกลียด"

    "จริงครับ งั้นดื่มรัฐที่ 51 เลยครับ"

    ข้าพเจ้าเสิร์ฟเบียร์ 51st State ให้ 'ท่านเอง' แล้วกล่าวว่า "เห็นท่านยึดประเทศนั้นประเทศนี้แล้วผมกลัวมากว่าท่านจะมายึดไทยแลนด์ด้วย"

    'ท่านเอง' สำลักเบียร์ สั่นหัว

    "โน! โน! โน! ไม่เอา ไม่ยึดไทยแลนด์ ยึดไปแล้วเหนื่อย ต้องแก้ปัญหามากมาย บ้านคุณมีปัญหาเยอะ นักโทษไม่ต้องเข้าคุก คิดอะไรไม่ออกก็แจกเงินช่วยคนจน กับสร้างบ่อนเพื่อชาติ แก้ฝุ่น 2.5 ไม่ได้ก็ work from home อ่านหนังสือแปดบรรทัดก็รู้หมดทุกอย่าง เรียนหนังสือก็จ่ายครบจบแน่ มาตรฐานการศึกษาแย่ก็แจกแท็บเล็ต แท็กซี่ตีหัวนักท่องเที่ยวกับมอเตอร์ไซค์บนทางเท้าก็ไม่เห็น ไม่ขายผ้าขาวม้าก็ขาย soft power นี่นั่นโน่น พูดแล้วหมด'รมณ์ ผมไปก่อนละ"

    "เดี๋ยว! ท่านยังไม่จ่ายค่าเครื่องดื่ม"

    "ค่าเครื่องดื่มนี่ขอยึดนะ เราเป็นพี่เบิ้ม ทำอะไรก็ไม่น่าเกลียด"
    ..............................

    หมายเหตุ เหล้าทั้งหมดนี้มีจริง
    171/68 วินทร์ เลียววาริณ 15 มกราคม 2568 ลูกค้าคนล่าสุดในคืนนี้เป็นฝรั่งผมสีทอง ร่างหนาใหญ่ หน้าตาคุ้นๆ หลายคนทักเขา "ท่านเอง" 'ท่านเอง' วางก้นบนเก้าอี้หน้าเคาน์เตอร์บาร์ บอกข้าพเจ้า "วันนี้อยากกินกรีนแลนด์" ข้าพเจ้าเลิกคิ้ว ถาม "ท่านหมายถึง Greenland Cocktail?" "ผมหมายถึงกรีนแลนด์จริงๆ" "ท่านจะยึดเกรียนแลนด์?" "กรีนแลนด์ ไม่ใช่เกรียนแลนด์ เกรียนแลนด์ยึดไปให้ปวดหัวทำไม" "ขออภัย ยึดกรีนแลนด์ไปทำไมครับ มันเป็นดินแดนน้ำแข็ง ถ้าท่านชอบที่เย็นๆ มาเมืองไทยตอนนี้ดีที่สุด อุณหภูมิที่กรุงเทพฯ 18 องศา กำลังดี ยกเว้นฝุ่น 2.5 นิดหน่อย ผู้ว่าฯบอกว่าไม่เป็นไร แค่ work from home ก็จบ" "ผมต้องยึดเกรียนแลนด์ เอ๊ย! กรีนแลนด์ เพราะต้องขัดขวางพวกจีน สายลับของผมสืบมาว่าจีนจะสร้างเส้นทางค้าขายข้ามกรีนแลนด์ เรียกว่า Ice Silk Road" "แล้วพวกกรีนแลนด์จะยอมให้ท่านยึดหรือไฉน?" "เราเป็นพี่เบิ้ม ทำอะไรก็ไม่น่าเกลียด" "งั้นท่านก็ควรฉลองการยึดล่วงหน้า ด้วยค็อคเทล Greenland ดื่มให้สบายใจดีกว่า" "ค็อคเทลนี้ทำยังไง?" "Greenland Cocktail ทำมาจากน้ำส้มผสมว็อดกา เติม Amaretto almond liqueur กับ Blue Curacao liqueur และไข่ อ้อ! ใส่เชอร์รีและใบมินท์เข้าไปด้วยเพื่อให้สวย" 'ท่านเอง' ดื่ม Greenland Cocktail จนหมดแก้ว แล้วเอ่ย "คราวนี้ผมอยากกินปานามา" "ท่านหมายถึงค็อคเทล Panama ที่ทำด้วย บรั่นดี Creme de Cacao น้ำแข็ง ครีม?" "ค็อคเทลที่คุณว่ามานี้ก็เอา แต่จะยึดปานามาด้วย" "ยึดไปทำไมครับ?" "พวกจีนไปคุมคลองปานามา เราต้องไปยึดคืนมา" "งั้นฉลองด้วยค็อคเทล Panama นะครับ" ค็อคเทล Panama หายลงท้อง 'ท่านเอง' กล่าว "คราวนี้ผมอยากกินรัฐที่ 51 ของสหรัฐฯ" "ท่านหมายถึงเบียร์ยี่ห้อ 51st State?" "เบียร์ก็เอา แต่เวลาพูดถึงรัฐที่ 51 ของสหรัฐฯ ผมหมายถึงแคนาดา" "ท่านจะยึดแคนาดาไปทำไมครับ ในเมื่อผู้นำแคนาดาก็เป็นลูกน้องท่านอยู่แล้ว สั่งให้ทำอะไรก็ทำ" "ก็อยากยึด ยึดแล้วเท่ เข้าใจมั้ย? เราเป็นพี่เบิ้ม ทำอะไรก็ไม่น่าเกลียด" "จริงครับ งั้นดื่มรัฐที่ 51 เลยครับ" ข้าพเจ้าเสิร์ฟเบียร์ 51st State ให้ 'ท่านเอง' แล้วกล่าวว่า "เห็นท่านยึดประเทศนั้นประเทศนี้แล้วผมกลัวมากว่าท่านจะมายึดไทยแลนด์ด้วย" 'ท่านเอง' สำลักเบียร์ สั่นหัว "โน! โน! โน! ไม่เอา ไม่ยึดไทยแลนด์ ยึดไปแล้วเหนื่อย ต้องแก้ปัญหามากมาย บ้านคุณมีปัญหาเยอะ นักโทษไม่ต้องเข้าคุก คิดอะไรไม่ออกก็แจกเงินช่วยคนจน กับสร้างบ่อนเพื่อชาติ แก้ฝุ่น 2.5 ไม่ได้ก็ work from home อ่านหนังสือแปดบรรทัดก็รู้หมดทุกอย่าง เรียนหนังสือก็จ่ายครบจบแน่ มาตรฐานการศึกษาแย่ก็แจกแท็บเล็ต แท็กซี่ตีหัวนักท่องเที่ยวกับมอเตอร์ไซค์บนทางเท้าก็ไม่เห็น ไม่ขายผ้าขาวม้าก็ขาย soft power นี่นั่นโน่น พูดแล้วหมด'รมณ์ ผมไปก่อนละ" "เดี๋ยว! ท่านยังไม่จ่ายค่าเครื่องดื่ม" "ค่าเครื่องดื่มนี่ขอยึดนะ เราเป็นพี่เบิ้ม ทำอะไรก็ไม่น่าเกลียด" .............................. หมายเหตุ เหล้าทั้งหมดนี้มีจริง
    0 Comments 0 Shares 937 Views 0 Reviews
  • ♣ เรื่องเคยพูดไม่ยอมทำ (หลังคาโซล่าเซลล์-มอไซต์ไฟฟ้า) เรื่องไม่ได้พูดกลับทำ แจกแท็บเล็ตด้วยภาษีประชาชน แต่คนดีมีเงินทอน แถมได้ฟรีข้อมูลผู้บริโภควัยรุ่น 6 แสนรายไปขายใช้ประโยชน์อีกหลายทอด
    #7ดอกจิก
    ♣ เรื่องเคยพูดไม่ยอมทำ (หลังคาโซล่าเซลล์-มอไซต์ไฟฟ้า) เรื่องไม่ได้พูดกลับทำ แจกแท็บเล็ตด้วยภาษีประชาชน แต่คนดีมีเงินทอน แถมได้ฟรีข้อมูลผู้บริโภควัยรุ่น 6 แสนรายไปขายใช้ประโยชน์อีกหลายทอด #7ดอกจิก
    Like
    2
    0 Comments 0 Shares 231 Views 0 Reviews