• ดาวเหินจรคู่ผสมระหว่างปีและเดือน ประจำเดือนกรกฎาคม 2568

    ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 7 เดือนกรกฎาคม ไปจนถึง วันพุธที่ 6 เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2568 เป็นเดือนมะแมน้ำ 癸未 (กุ้ยบี่) ธาตุไม้ มีกระแสพลังดาวหกขาว六白 (หลักแป๊ะ) ธาตุทอง ดาวแห่งตำแหน่ง หน้าที่ ผู้นำ ขุนนาง ข้าราชการ ได้รับการส่งเสริมเพิ่มพลังจากกระแสพลังดาวสองดำ 二黑 (หยี่เฮก) ธาตุดิน ที่ประจำอยู่ในปีจรมะเส็งไม้ 乙巳 (อิกจี๋) ธาตุไฟ

    ส่งผลให้ปัญหาที่ถูกดองเก็บและหมกเม็ดซุกอยู่ใต้พรมหมักหมมเหม็นเน่า มานานจะถูกสะสางชำระล้างตามระบอบกระบวนการยุติธรรมอย่างจริงจัง เพราะกรรมใดใครก่อย่อมได้รับผลแห่งกรรมตามนั้น จะนำกฏหมู่อยู่เหนือกฏหมายศักดิ์สิทธิ์ที่เป็นธรรมย่อมมิได้ สังคมจึงจะอยู่ร่วมกันอย่างผาสุกไม่นอกลู่แตกแถวด้วยนิติรัฐฉบับเดียวกัน ส่วนเรื่องของเศรษฐกิจย่อมผูกติดกับการดำรงชีวิตความเป็นอยู่ มีมากใช้มาก มีน้อยใช้น้อย รู้จักประมาณตน ใช้จ่ายอย่างเพียงพอ ตามพระราชดำรัสแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง แม้แต่การขับขี่ยวดยานต้องไม่ประมาทคงสติระวังตนจากอุบัติเหตุเภทภัยจะได้พ้นจากการความสูญเสียไม่ว่าทรัพย์สิน ร่างกาย และจิตใจ
    ___________________________________
    FengshuiBizDesigner
    ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้
    ดาวเหินจรคู่ผสมระหว่างปีและเดือน ประจำเดือนกรกฎาคม 2568 ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 7 เดือนกรกฎาคม ไปจนถึง วันพุธที่ 6 เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2568 เป็นเดือนมะแมน้ำ 癸未 (กุ้ยบี่) ธาตุไม้ มีกระแสพลังดาวหกขาว六白 (หลักแป๊ะ) ธาตุทอง ดาวแห่งตำแหน่ง หน้าที่ ผู้นำ ขุนนาง ข้าราชการ ได้รับการส่งเสริมเพิ่มพลังจากกระแสพลังดาวสองดำ 二黑 (หยี่เฮก) ธาตุดิน ที่ประจำอยู่ในปีจรมะเส็งไม้ 乙巳 (อิกจี๋) ธาตุไฟ ส่งผลให้ปัญหาที่ถูกดองเก็บและหมกเม็ดซุกอยู่ใต้พรมหมักหมมเหม็นเน่า มานานจะถูกสะสางชำระล้างตามระบอบกระบวนการยุติธรรมอย่างจริงจัง เพราะกรรมใดใครก่อย่อมได้รับผลแห่งกรรมตามนั้น จะนำกฏหมู่อยู่เหนือกฏหมายศักดิ์สิทธิ์ที่เป็นธรรมย่อมมิได้ สังคมจึงจะอยู่ร่วมกันอย่างผาสุกไม่นอกลู่แตกแถวด้วยนิติรัฐฉบับเดียวกัน ส่วนเรื่องของเศรษฐกิจย่อมผูกติดกับการดำรงชีวิตความเป็นอยู่ มีมากใช้มาก มีน้อยใช้น้อย รู้จักประมาณตน ใช้จ่ายอย่างเพียงพอ ตามพระราชดำรัสแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง แม้แต่การขับขี่ยวดยานต้องไม่ประมาทคงสติระวังตนจากอุบัติเหตุเภทภัยจะได้พ้นจากการความสูญเสียไม่ว่าทรัพย์สิน ร่างกาย และจิตใจ ___________________________________ FengshuiBizDesigner ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 40 มุมมอง 0 รีวิว
  • FENGSHUI DAILY
    อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว
    สีเสริมดวง เสริมความเฮง
    ทิศมงคล เวลามงคล
    อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่
    วันพุธที่ 2 เดือนกรกฎาคม พ.ศ.2568
    ___________________________________
    FengshuiBizDesigner
    ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้
    FENGSHUI DAILY อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว สีเสริมดวง เสริมความเฮง ทิศมงคล เวลามงคล อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่ วันพุธที่ 2 เดือนกรกฎาคม พ.ศ.2568 ___________________________________ FengshuiBizDesigner ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 21 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทิศต้องห้าม.....ประจำเดือนกรกฎาคม 2568

    ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 7 เดือนกรกฎาคม ไปจนถึง วันพุธที่ 6 เดือนสิงหาคม พ.ศ.2568 สิ่งสำคัญคือ ควรเลี่ยงต่อการกระทบ ทุบ ตอก ขุด เจาะ ในตำแหน่งวิบากทิศทาง ดังนี้

    1. ทิศแตกสลาย 月破(ง๊วยผั่ว) ทิศตะวันออก/เหนือ 艮卦(กึ่งข่วย) ราศี 丑(ทิ้ว) ตั้งแต่รัศมี 22.5 ถึง 37.5 องศา

    2. ทิศ 3 อสูร 月三煞(หง่วยซาสั่วะ) ตั้งแต่ ทิศตะวันตก/ใต้ 坤卦(คุงข่วย) รัศมี 225 องศา ถึง ทิศตะวันตก/เหนือ 乾卦(เคี้ยงข่วย) รัศมี 315 องศา

    3. ทิศ 5 เหลือง 五黃(โหงวอี๊ง)ทิศตะวันออก/ใต้ 巽卦(สุ่งข่วย) ตั้งแต่รัศมี 112.5 ถึง 157.5 องศา

    ดังนั้นหากกระทบสะเทือนถึงดินที่อัดอั้นด้วยกระแสพลังร้ายอันรุนแรงรอเพียงแค่การปลดปล่อย ด้วยการทุบ ตอก ขุด เจาะ ในตำแหน่งวิบากทิศทางดังที่กล่าวไว้ในข้างต้น ส่งผลให้ท่านที่ชะตาตก ชีวิตจะเกิดวิกฤต กลุ้ม วุ่นวาย มากอุปสรรคปัญหา ขัดแย้ง แตกแยก ถูกแทงหลัง ปองร้าย จี้ ปล้น ขโมย เสียทรัพย์อย่างไม่จำเป็น พัวพันเรื่องคดีความจนต้องขึ้นโรงขึ้นศาล หรือเกิดเจ็บป่วย ต้องผ่าตัดรักษาอาการ หรือจะบาดเจ็บจนเลือดตกยางออกจากอุบัติเหตุเภทภัยที่ไม่คาดคิด โดยเฉพาะบุคคลที่เกิดปีฉลูพึงระวังเป็นพิเศษ
    ___________________________________
    FengshuiBizDesigner
    ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้
    ทิศต้องห้าม.....ประจำเดือนกรกฎาคม 2568 ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 7 เดือนกรกฎาคม ไปจนถึง วันพุธที่ 6 เดือนสิงหาคม พ.ศ.2568 สิ่งสำคัญคือ ควรเลี่ยงต่อการกระทบ ทุบ ตอก ขุด เจาะ ในตำแหน่งวิบากทิศทาง ดังนี้ 1. ทิศแตกสลาย 月破(ง๊วยผั่ว) ทิศตะวันออก/เหนือ 艮卦(กึ่งข่วย) ราศี 丑(ทิ้ว) ตั้งแต่รัศมี 22.5 ถึง 37.5 องศา 2. ทิศ 3 อสูร 月三煞(หง่วยซาสั่วะ) ตั้งแต่ ทิศตะวันตก/ใต้ 坤卦(คุงข่วย) รัศมี 225 องศา ถึง ทิศตะวันตก/เหนือ 乾卦(เคี้ยงข่วย) รัศมี 315 องศา 3. ทิศ 5 เหลือง 五黃(โหงวอี๊ง)ทิศตะวันออก/ใต้ 巽卦(สุ่งข่วย) ตั้งแต่รัศมี 112.5 ถึง 157.5 องศา ดังนั้นหากกระทบสะเทือนถึงดินที่อัดอั้นด้วยกระแสพลังร้ายอันรุนแรงรอเพียงแค่การปลดปล่อย ด้วยการทุบ ตอก ขุด เจาะ ในตำแหน่งวิบากทิศทางดังที่กล่าวไว้ในข้างต้น ส่งผลให้ท่านที่ชะตาตก ชีวิตจะเกิดวิกฤต กลุ้ม วุ่นวาย มากอุปสรรคปัญหา ขัดแย้ง แตกแยก ถูกแทงหลัง ปองร้าย จี้ ปล้น ขโมย เสียทรัพย์อย่างไม่จำเป็น พัวพันเรื่องคดีความจนต้องขึ้นโรงขึ้นศาล หรือเกิดเจ็บป่วย ต้องผ่าตัดรักษาอาการ หรือจะบาดเจ็บจนเลือดตกยางออกจากอุบัติเหตุเภทภัยที่ไม่คาดคิด โดยเฉพาะบุคคลที่เกิดปีฉลูพึงระวังเป็นพิเศษ ___________________________________ FengshuiBizDesigner ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 55 มุมมอง 0 รีวิว
  • FENGSHUI DAILY
    อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว
    สีเสริมดวง เสริมความเฮง
    ทิศมงคล เวลามงคล
    อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่
    วันอังคารที่ 1 เดือนกรกฎาคม พ.ศ.2568
    ___________________________________
    FengshuiBizDesigner
    ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้
    FENGSHUI DAILY อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว สีเสริมดวง เสริมความเฮง ทิศมงคล เวลามงคล อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่ วันอังคารที่ 1 เดือนกรกฎาคม พ.ศ.2568 ___________________________________ FengshuiBizDesigner ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 31 มุมมอง 0 รีวิว
  • FENGSHUI DAILY
    อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว
    สีเสริมดวง เสริมความเฮง
    ทิศมงคล เวลามงคล
    อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่
    วันจันทร์ที่ 30 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2568
    ___________________________________
    FengshuiBizDesigner
    ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้
    FENGSHUI DAILY อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว สีเสริมดวง เสริมความเฮง ทิศมงคล เวลามงคล อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่ วันจันทร์ที่ 30 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2568 ___________________________________ FengshuiBizDesigner ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 39 มุมมอง 0 รีวิว
  • FENGSHUI DAILY
    อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว
    สีเสริมดวง เสริมความเฮง
    ทิศมงคล เวลามงคล
    อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่
    วันเสาร์ที่ 28 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2568
    ___________________________________
    FengshuiBizDesigner
    ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้
    FENGSHUI DAILY อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว สีเสริมดวง เสริมความเฮง ทิศมงคล เวลามงคล อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่ วันเสาร์ที่ 28 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2568 ___________________________________ FengshuiBizDesigner ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 46 มุมมอง 0 รีวิว
  • ถ้าตามข่าว Intel ช่วงนี้จะรู้เลยว่า “กำลังปรับองค์กรแบบยกเครื่อง” — ตั้งแต่สายการผลิต Fab ยันหน่วยพัฒนาชิป AI แต่คราวนี้แรงสุดคือการเลย์ออฟพนักงาน “เชิงเทคนิค” ที่เดิมทีถือเป็นหัวใจของบริษัท

    มีการยืนยันว่า Intel จะไล่พนักงานออกในหลายตำแหน่งสำคัญ เช่น:
    - วิศวกรออกแบบวงจร (Physical Design Engineers)
    - ผู้จัดการสายวิศวกรรม
    - สถาปนิกซอฟต์แวร์ Cloud
    - ผู้นำด้านกลยุทธ์ไอที และรองประธานฝ่ายไอที

    และยิ่งไปกว่านั้นคือการ ปิดหน่วยพัฒนาชิปสำหรับรถยนต์ ที่เคยตั้งอยู่ในเยอรมนี — ซึ่งมีภารกิจสร้างระบบสำหรับ “รถยนต์ขับเองได้” (software-defined vehicles) และเคยเป็นแผนกที่มีอิสระสูงมาก

    สิ่งที่ Tan กล่าวในจดหมายภายในคือ “ต่อไปนี้ ผู้นำที่ดีไม่ใช่คนที่มีลูกทีมเยอะ — แต่คือต้องทำให้ได้มากที่สุดด้วยทีมที่เล็กที่สุด” พร้อมประกาศว่า จะเลย์ออฟ 15–20% ของทั้งบริษัทในปีนี้ เพื่อลดค่าใช้จ่ายและเร่งการตัดสินใจในองค์กร

    https://www.tomshardware.com/pc-components/cpus/intel-lays-off-hundreds-of-engineers-in-california-including-chip-design-engineers-automotive-chip-division-also-axed
    ถ้าตามข่าว Intel ช่วงนี้จะรู้เลยว่า “กำลังปรับองค์กรแบบยกเครื่อง” — ตั้งแต่สายการผลิต Fab ยันหน่วยพัฒนาชิป AI แต่คราวนี้แรงสุดคือการเลย์ออฟพนักงาน “เชิงเทคนิค” ที่เดิมทีถือเป็นหัวใจของบริษัท มีการยืนยันว่า Intel จะไล่พนักงานออกในหลายตำแหน่งสำคัญ เช่น: - วิศวกรออกแบบวงจร (Physical Design Engineers) - ผู้จัดการสายวิศวกรรม - สถาปนิกซอฟต์แวร์ Cloud - ผู้นำด้านกลยุทธ์ไอที และรองประธานฝ่ายไอที และยิ่งไปกว่านั้นคือการ ปิดหน่วยพัฒนาชิปสำหรับรถยนต์ ที่เคยตั้งอยู่ในเยอรมนี — ซึ่งมีภารกิจสร้างระบบสำหรับ “รถยนต์ขับเองได้” (software-defined vehicles) และเคยเป็นแผนกที่มีอิสระสูงมาก สิ่งที่ Tan กล่าวในจดหมายภายในคือ “ต่อไปนี้ ผู้นำที่ดีไม่ใช่คนที่มีลูกทีมเยอะ — แต่คือต้องทำให้ได้มากที่สุดด้วยทีมที่เล็กที่สุด” พร้อมประกาศว่า จะเลย์ออฟ 15–20% ของทั้งบริษัทในปีนี้ เพื่อลดค่าใช้จ่ายและเร่งการตัดสินใจในองค์กร https://www.tomshardware.com/pc-components/cpus/intel-lays-off-hundreds-of-engineers-in-california-including-chip-design-engineers-automotive-chip-division-also-axed
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 88 มุมมอง 0 รีวิว
  • FENGSHUI DAILY
    อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว
    สีเสริมดวง เสริมความเฮง
    ทิศมงคล เวลามงคล
    อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่
    วันศุกร์ที่ 27 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2568
    ___________________________________
    FengshuiBizDesigner
    ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้
    FENGSHUI DAILY อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว สีเสริมดวง เสริมความเฮง ทิศมงคล เวลามงคล อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่ วันศุกร์ที่ 27 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2568 ___________________________________ FengshuiBizDesigner ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 35 มุมมอง 0 รีวิว
  • รู้ไหมครับว่าพวกแอมป์แรงสูงในมือถือ, เสาสัญญาณ 5G, Wi-Fi 7 หรือแม้แต่ระบบเรดาร์–ดาต้าเซ็นเตอร์ระดับสูง มักต้องใช้ “ทรานซิสเตอร์ GaN” เพราะมันส่งสัญญาณได้เร็วมากและทนร้อนได้ดีกว่า แต่ก็แพงและ “ใส่รวมกับซิลิคอน” ได้ยากมาก จนแทบใช้ได้แค่ในงานเฉพาะ

    แต่ทีมนี้แก้ปัญหาได้โดยไม่ใช่การเชื่อมทั้งแผ่น (ที่เปลือง) หรือการบัดกรีแบบเดิม (ที่ร้อนเกินไปและจำกัดขนาด) — พวกเขาใช้วิธี เจาะ GaN เป็นชิ้นเล็กจิ๋ว ๆ แล้ววางเฉพาะจุดที่จำเป็นบนซิลิคอน ด้วยความละเอียดระดับนาโนเมตร! เชื่อมด้วยทองแดง (ไม่ใช่ทอง!) ที่ใช้อุณหภูมิต่ำ ปลอดภัย และยังนำไฟฟ้าได้ดี

    ผลที่ได้ไม่ใช่แค่เร็วแรง แต่ ลดความร้อนได้ด้วย เพราะ design ที่กะทัดรัดและใช้พลังงานมีประสิทธิภาพกว่าเดิมมาก ที่น่าสนใจคือเทคนิคนี้ยังเปิดทางไปถึงการประยุกต์ใช้ใน “ควอนตัมคอมพิวเตอร์” ด้วยนะ เพราะ GaN ทำงานได้ดีในอุณหภูมิต่ำสุดขั้วที่ซิลิคอนทำไม่ได้

    ทีม MIT พัฒนาเทคนิคใหม่ “วาง GaN บนซิลิคอน” แบบละเอียดในระดับจุด (die-level bonding)  
    • ใช้ชิ้นทรานซิสเตอร์ GaN เล็กไม่ถึง 1 มม. วางบน chip เฉพาะจุดที่ต้องการ  
    • ประหยัดวัสดุราคาแพงมาก และคุม design ได้ละเอียดกว่าเดิม

    ใช้วิธี “copper-to-copper bonding” ที่เย็นกว่า (ต่ำกว่า 400°C) และต้นทุนต่ำกว่าทอง (gold)  
    • ช่วยให้ไม่ทำลายชิ้นส่วน delicate และเพิ่มการนำไฟฟ้า

    พัฒนาทูลพิเศษใช้กล้องและสูญญากาศวางชิ้น GaN แบบแม่นยำระดับนาโน  
    • ลดการเสียพิกัดและเพิ่ม yield ในการผลิต

    สร้างวงจร power amplifier ด้วยเทคโนโลยีนี้ที่ outperform ซิลิคอนแบบเดิม  
    • ได้ bandwidth และ signal strength สูงขึ้น  
    • ระบายความร้อนได้ดีกว่า

    เทคโนโลยีนี้สามารถใช้ในอุปกรณ์หลายประเภท เช่น:  
    • การสื่อสารไร้สาย, 6G, ดาวเทียม, ดาต้าเซ็นเตอร์  
    • อุปกรณ์ควอนตัม — เพราะ GaN ทำงานได้ดีในอุณหภูมิต่ำมาก

    งานนี้สนับสนุนโดยกระทรวงกลาโหมสหรัฐ, MIT.Nano, และห้องทดลอง Air Force  
    • เป็นตัวอย่างของ public–private research ที่เชื่อมโยงความมั่นคงกับเทคโนโลยีพลเรือน

    https://www.techspot.com/news/108441-mit-researchers-bond-gallium-nitride-transistors-silicon-chips.html
    รู้ไหมครับว่าพวกแอมป์แรงสูงในมือถือ, เสาสัญญาณ 5G, Wi-Fi 7 หรือแม้แต่ระบบเรดาร์–ดาต้าเซ็นเตอร์ระดับสูง มักต้องใช้ “ทรานซิสเตอร์ GaN” เพราะมันส่งสัญญาณได้เร็วมากและทนร้อนได้ดีกว่า แต่ก็แพงและ “ใส่รวมกับซิลิคอน” ได้ยากมาก จนแทบใช้ได้แค่ในงานเฉพาะ แต่ทีมนี้แก้ปัญหาได้โดยไม่ใช่การเชื่อมทั้งแผ่น (ที่เปลือง) หรือการบัดกรีแบบเดิม (ที่ร้อนเกินไปและจำกัดขนาด) — พวกเขาใช้วิธี เจาะ GaN เป็นชิ้นเล็กจิ๋ว ๆ แล้ววางเฉพาะจุดที่จำเป็นบนซิลิคอน ด้วยความละเอียดระดับนาโนเมตร! เชื่อมด้วยทองแดง (ไม่ใช่ทอง!) ที่ใช้อุณหภูมิต่ำ ปลอดภัย และยังนำไฟฟ้าได้ดี ผลที่ได้ไม่ใช่แค่เร็วแรง แต่ ลดความร้อนได้ด้วย เพราะ design ที่กะทัดรัดและใช้พลังงานมีประสิทธิภาพกว่าเดิมมาก ที่น่าสนใจคือเทคนิคนี้ยังเปิดทางไปถึงการประยุกต์ใช้ใน “ควอนตัมคอมพิวเตอร์” ด้วยนะ เพราะ GaN ทำงานได้ดีในอุณหภูมิต่ำสุดขั้วที่ซิลิคอนทำไม่ได้ ✅ ทีม MIT พัฒนาเทคนิคใหม่ “วาง GaN บนซิลิคอน” แบบละเอียดในระดับจุด (die-level bonding)   • ใช้ชิ้นทรานซิสเตอร์ GaN เล็กไม่ถึง 1 มม. วางบน chip เฉพาะจุดที่ต้องการ   • ประหยัดวัสดุราคาแพงมาก และคุม design ได้ละเอียดกว่าเดิม ✅ ใช้วิธี “copper-to-copper bonding” ที่เย็นกว่า (ต่ำกว่า 400°C) และต้นทุนต่ำกว่าทอง (gold)   • ช่วยให้ไม่ทำลายชิ้นส่วน delicate และเพิ่มการนำไฟฟ้า ✅ พัฒนาทูลพิเศษใช้กล้องและสูญญากาศวางชิ้น GaN แบบแม่นยำระดับนาโน   • ลดการเสียพิกัดและเพิ่ม yield ในการผลิต ✅ สร้างวงจร power amplifier ด้วยเทคโนโลยีนี้ที่ outperform ซิลิคอนแบบเดิม   • ได้ bandwidth และ signal strength สูงขึ้น   • ระบายความร้อนได้ดีกว่า ✅ เทคโนโลยีนี้สามารถใช้ในอุปกรณ์หลายประเภท เช่น:   • การสื่อสารไร้สาย, 6G, ดาวเทียม, ดาต้าเซ็นเตอร์   • อุปกรณ์ควอนตัม — เพราะ GaN ทำงานได้ดีในอุณหภูมิต่ำมาก ✅ งานนี้สนับสนุนโดยกระทรวงกลาโหมสหรัฐ, MIT.Nano, และห้องทดลอง Air Force   • เป็นตัวอย่างของ public–private research ที่เชื่อมโยงความมั่นคงกับเทคโนโลยีพลเรือน https://www.techspot.com/news/108441-mit-researchers-bond-gallium-nitride-transistors-silicon-chips.html
    WWW.TECHSPOT.COM
    MIT researchers bond gallium nitride transistors to silicon for faster next-gen wireless devices
    Gallium nitride, a semiconductor renowned for its efficiency and high-speed capabilities, has long been recognized as a promising material for next-generation electronics, including power amplifiers that drive...
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 113 มุมมอง 0 รีวิว
  • ทีมนักวิจัยจาก มหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหมแห่งชาติจีน ได้เปิดตัว โดรนขนาดเล็กเท่ายุง ที่สามารถบินจริงด้วยปีกแบบชีวกลศาสตร์ (bionic) และถูกออกแบบมาเพื่อ “ภารกิจสอดแนม” โดยเฉพาะ

    นึกถึงโดรนที่ตัวเล็กขนาดหยิบขึ้นมาหนีบไว้ระหว่างนิ้วได้เลยครับ — เพราะนี่คือผลงานล่าสุดของศูนย์วิจัยกองทัพจีนที่ถูกนำเสนอผ่านช่อง CCTV-7 ของรัฐ จนกลายเป็นข่าวดังไปทั่วโลก

    ตัวโดรนมีลักษณะคล้ายแมลงจริง ทั้งรูปร่างและวิธีบิน โดยใช้ ปีกชีวกล ที่ขยับพัดปีกได้เหมือนแมลงมากกว่าใช้ใบพัดเหมือนโดรนทั่วไป มีสองเวอร์ชันที่โชว์ในสื่อ:

    - รุ่นที่มี 2 ปีก: ขนาดเล็กมาก เคลื่อนไหวแบบแมลง
    - รุ่นที่มี 4 ปีก: ควบคุมผ่านสมาร์ตโฟน ใช้งานในระดับสูงกว่า

    ถึงแม้จะไม่มีรายละเอียดสเปกฮาร์ดแวร์ที่แน่ชัด แต่เชื่อว่าตัวโดรนสามารถเก็บข้อมูลภาพ เสียง หรือสัญญาณ และส่งกลับได้ — เหมาะกับภารกิจสอดแนมโดยไม่ให้เป้าหมายรู้ตัว

    น่าสนใจตรงที่ ปัจจุบันยังไม่มีข้อมูลว่าสิ่งนี้ถูกใช้จริงทางทหารหรือยังอยู่ในขั้นวิจัย แต่หลายฝ่ายเชื่อว่า โดรนระดับแมลง (insect-scale UAV) จะเป็นหมากตัวใหม่ในสนามรบอนาคตแน่นอน

    https://www.tomshardware.com/tech-industry/mosquito-sized-drone-is-designed-for-chinese-spy-missions-military-robotics-lab-reveals-incredibly-tiny-bionic-flying-robots
    ทีมนักวิจัยจาก มหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหมแห่งชาติจีน ได้เปิดตัว โดรนขนาดเล็กเท่ายุง ที่สามารถบินจริงด้วยปีกแบบชีวกลศาสตร์ (bionic) และถูกออกแบบมาเพื่อ “ภารกิจสอดแนม” โดยเฉพาะ 🦟🛰️ นึกถึงโดรนที่ตัวเล็กขนาดหยิบขึ้นมาหนีบไว้ระหว่างนิ้วได้เลยครับ — เพราะนี่คือผลงานล่าสุดของศูนย์วิจัยกองทัพจีนที่ถูกนำเสนอผ่านช่อง CCTV-7 ของรัฐ จนกลายเป็นข่าวดังไปทั่วโลก ตัวโดรนมีลักษณะคล้ายแมลงจริง ทั้งรูปร่างและวิธีบิน โดยใช้ ปีกชีวกล ที่ขยับพัดปีกได้เหมือนแมลงมากกว่าใช้ใบพัดเหมือนโดรนทั่วไป มีสองเวอร์ชันที่โชว์ในสื่อ: - รุ่นที่มี 2 ปีก: ขนาดเล็กมาก เคลื่อนไหวแบบแมลง - รุ่นที่มี 4 ปีก: ควบคุมผ่านสมาร์ตโฟน ใช้งานในระดับสูงกว่า ถึงแม้จะไม่มีรายละเอียดสเปกฮาร์ดแวร์ที่แน่ชัด แต่เชื่อว่าตัวโดรนสามารถเก็บข้อมูลภาพ เสียง หรือสัญญาณ และส่งกลับได้ — เหมาะกับภารกิจสอดแนมโดยไม่ให้เป้าหมายรู้ตัว น่าสนใจตรงที่ ปัจจุบันยังไม่มีข้อมูลว่าสิ่งนี้ถูกใช้จริงทางทหารหรือยังอยู่ในขั้นวิจัย แต่หลายฝ่ายเชื่อว่า โดรนระดับแมลง (insect-scale UAV) จะเป็นหมากตัวใหม่ในสนามรบอนาคตแน่นอน https://www.tomshardware.com/tech-industry/mosquito-sized-drone-is-designed-for-chinese-spy-missions-military-robotics-lab-reveals-incredibly-tiny-bionic-flying-robots
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 95 มุมมอง 0 รีวิว
  • FENGSHUI DAILY
    อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว
    สีเสริมดวง เสริมความเฮง
    ทิศมงคล เวลามงคล
    อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่
    วันพฤหัสบดีที่ 26 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2568
    ___________________________________
    FengshuiBizDesigner
    ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้
    FENGSHUI DAILY อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว สีเสริมดวง เสริมความเฮง ทิศมงคล เวลามงคล อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่ วันพฤหัสบดีที่ 26 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2568 ___________________________________ FengshuiBizDesigner ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 41 มุมมอง 0 รีวิว
  • FENGSHUI DAILY
    อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว
    สีเสริมดวง เสริมความเฮง
    ทิศมงคล เวลามงคล
    อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่
    วันพุธที่ 25 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2568
    ___________________________________
    FengshuiBizDesigner
    ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้
    FENGSHUI DAILY อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว สีเสริมดวง เสริมความเฮง ทิศมงคล เวลามงคล อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่ วันพุธที่ 25 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2568 ___________________________________ FengshuiBizDesigner ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 50 มุมมอง 0 รีวิว
  • FENGSHUI DAILY
    อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว
    สีเสริมดวง เสริมความเฮง
    ทิศมงคล เวลามงคล
    อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่
    วันอังคารที่ 24 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2568
    ___________________________________
    FengshuiBizDesigner
    ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้
    FENGSHUI DAILY อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว สีเสริมดวง เสริมความเฮง ทิศมงคล เวลามงคล อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่ วันอังคารที่ 24 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2568 ___________________________________ FengshuiBizDesigner ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 45 มุมมอง 0 รีวิว
  • FENGSHUI DAILY
    อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว
    สีเสริมดวง เสริมความเฮง
    ทิศมงคล เวลามงคล
    อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่
    วันจันทร์ที่ 23 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2568
    ___________________________________
    FengshuiBizDesigner
    ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้
    FENGSHUI DAILY อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว สีเสริมดวง เสริมความเฮง ทิศมงคล เวลามงคล อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่ วันจันทร์ที่ 23 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2568 ___________________________________ FengshuiBizDesigner ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 77 มุมมอง 0 รีวิว
  • FENGSHUI DAILY
    อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว
    สีเสริมดวง เสริมความเฮง
    ทิศมงคล เวลามงคล
    อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่
    วันอาทิตย์ที่ 22 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2568
    ___________________________________
    FengshuiBizDesigner
    ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้
    FENGSHUI DAILY อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว สีเสริมดวง เสริมความเฮง ทิศมงคล เวลามงคล อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่ วันอาทิตย์ที่ 22 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2568 ___________________________________ FengshuiBizDesigner ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 73 มุมมอง 0 รีวิว
  • ช่วงนี้ Apple ไม่ได้พูดถึง AI แค่เรื่อง Siri หรือ iPhone เท่านั้น แต่กำลังใช้ GenAI เข้ามาเปลี่ยนวงในอย่าง “การออกแบบชิป” ที่เป็นหัวใจของอุปกรณ์ทุกตัวเลย

    Johny Srouji รองประธานอาวุโสของฝ่ายฮาร์ดแวร์ของ Apple เปิดเผยว่า Apple กำลังใช้ Generative AI ในซอฟต์แวร์ออกแบบชิป EDA เพื่อเพิ่มความเร็วและประสิทธิภาพของการพัฒนา Apple Silicon รุ่นต่อไป เช่น M-Series และ A-Series ซึ่งใช้ใน Mac และ iPhone ตามลำดับ

    เขาบอกเลยว่า “Generative AI สามารถเพิ่ม productivity ได้มหาศาล” เพราะเดิมทีการวางเลย์เอาต์ของชิป หรือการกำหนดวงจรใช้เวลานานและทำซ้ำบ่อยมาก แต่ถ้าให้ AI สร้างตัวเลือกอัตโนมัติ แล้ววิศวกรคัดกรอง ก็จะเร็วกว่าเดิมหลายเท่า

    ฝั่งบริษัท Cadence และ Synopsys ที่เป็นผู้ผลิตซอฟต์แวร์ EDA ก็เร่งเสริม GenAI เข้าไปในเครื่องมือของตัวเอง เพื่อให้รองรับแนวโน้มนี้ ซึ่งไม่ใช่แค่ Apple ที่ใช้นะครับ Google, Nvidia, AMD ก็เริ่มหันมาใช้กันหมด

    และไม่ใช่แค่ฝั่งตะวันตก — มีรายงานจากจีนว่าทีมนักวิจัยสามารถออกแบบซีพียูทั้งตัวโดยใช้ Large Language Model (LLM) แค่ตัวเดียวได้แล้วด้วย

    Apple เองเริ่มทางนี้ตั้งแต่สมัยเปลี่ยนมาใช้ Apple Silicon ใน MacBook Pro รุ่น M1 ซึ่งเป็นจุดเปลี่ยนครั้งใหญ่ในการเลิกใช้ชิป Intel และพัฒนาชิป Arm ของตนเองแบบเต็มตัว โดยเน้น performance + efficiency + ควบคุม ecosystem ทั้งหมด

    Apple เริ่มใช้ Generative AI เพื่อช่วยออกแบบชิปในกระบวนการ EDA (Electronic Design Automation)  • เพิ่ม productivity และลดเวลาทำงานของทีมออกแบบ  
    • เป็นการนำ AI มาใช้เบื้องหลัง ไม่ใช่แค่ฟีเจอร์ในอุปกรณ์

    Johny Srouji ยืนยันว่า GenAI จะเป็นตัวช่วยสำคัญใน pipeline การพัฒนาชิป  
    • ช่วย generate layout, logic, simulation patterns  
    • ลดภาระงานซ้ำซ้อนให้วิศวกร

    บริษัท EDA ชั้นนำอย่าง Cadence และ Synopsys กำลังใส่ GenAI ในเครื่องมือของตัวเอง  
    • เป็นคลื่นเทคโนโลยีที่หลายผู้ผลิตชิปกำลังปรับตัวตาม

    Apple เคยทุ่มสุดตัวกับ Apple Silicon โดยไม่มีแผนสำรองตอนเปลี่ยนจาก Intel เป็น M1  
    • พร้อมพัฒนาระบบแปล x86 → Arm ผ่าน Rosetta 2

    แนวโน้มของโลก: จีนกำลังพัฒนา CPU ที่ออกแบบโดย LLM ล้วน ๆ แล้วเช่นกัน  
    • เป็นการยืนยันว่า AI เริ่มเข้ามามีบทบาทตั้งแต่ระดับสถาปัตยกรรม

    AI ยังไม่สามารถแทนที่วิศวกรออกแบบชิปได้เต็มตัวในปัจจุบัน  
    • ความเข้าใจเรื่องสถาปัตยกรรมและข้อจำกัดเชิงฟิสิกส์ยังต้องพึ่งมนุษย์

    การใช้ GenAI ในงานชิปต้องควบคุมคุณภาพสูง เพราะ error เล็กน้อยอาจทำให้ชิปทั้งตัวใช้ไม่ได้  
    • จึงต้องมีรอบตรวจสอบหลายชั้น แม้จะใช้ AI ร่วม

    การพึ่งพา AI อย่างรวดเร็วใน R&D มีความเสี่ยงต่อการรั่วไหลของแนวคิดหรือทรัพย์สินทางปัญญา  
    • ต้องระวังในระดับการใช้งาน LLM ภายนอกที่อาจไม่ได้ควบคุมโมเดลเอง

    แนวโน้มนี้จะเพิ่มการแข่งขันในตลาดชิปแบบ arm-on-silicon สูงขึ้น  
    • บริษัทที่ไม่เร่งใช้ AI ออกแบบ อาจตามไม่ทันรอบพัฒนาผลิตภัณฑ์

    https://www.tomshardware.com/tech-industry/artificial-intelligence/apple-explores-using-generative-ai-to-design-its-chips-executive-says-it-can-be-a-huge-productivity-boost
    ช่วงนี้ Apple ไม่ได้พูดถึง AI แค่เรื่อง Siri หรือ iPhone เท่านั้น แต่กำลังใช้ GenAI เข้ามาเปลี่ยนวงในอย่าง “การออกแบบชิป” ที่เป็นหัวใจของอุปกรณ์ทุกตัวเลย Johny Srouji รองประธานอาวุโสของฝ่ายฮาร์ดแวร์ของ Apple เปิดเผยว่า Apple กำลังใช้ Generative AI ในซอฟต์แวร์ออกแบบชิป EDA เพื่อเพิ่มความเร็วและประสิทธิภาพของการพัฒนา Apple Silicon รุ่นต่อไป เช่น M-Series และ A-Series ซึ่งใช้ใน Mac และ iPhone ตามลำดับ เขาบอกเลยว่า “Generative AI สามารถเพิ่ม productivity ได้มหาศาล” เพราะเดิมทีการวางเลย์เอาต์ของชิป หรือการกำหนดวงจรใช้เวลานานและทำซ้ำบ่อยมาก แต่ถ้าให้ AI สร้างตัวเลือกอัตโนมัติ แล้ววิศวกรคัดกรอง ก็จะเร็วกว่าเดิมหลายเท่า ฝั่งบริษัท Cadence และ Synopsys ที่เป็นผู้ผลิตซอฟต์แวร์ EDA ก็เร่งเสริม GenAI เข้าไปในเครื่องมือของตัวเอง เพื่อให้รองรับแนวโน้มนี้ ซึ่งไม่ใช่แค่ Apple ที่ใช้นะครับ Google, Nvidia, AMD ก็เริ่มหันมาใช้กันหมด และไม่ใช่แค่ฝั่งตะวันตก — มีรายงานจากจีนว่าทีมนักวิจัยสามารถออกแบบซีพียูทั้งตัวโดยใช้ Large Language Model (LLM) แค่ตัวเดียวได้แล้วด้วย Apple เองเริ่มทางนี้ตั้งแต่สมัยเปลี่ยนมาใช้ Apple Silicon ใน MacBook Pro รุ่น M1 ซึ่งเป็นจุดเปลี่ยนครั้งใหญ่ในการเลิกใช้ชิป Intel และพัฒนาชิป Arm ของตนเองแบบเต็มตัว โดยเน้น performance + efficiency + ควบคุม ecosystem ทั้งหมด ✅ Apple เริ่มใช้ Generative AI เพื่อช่วยออกแบบชิปในกระบวนการ EDA (Electronic Design Automation)  • เพิ่ม productivity และลดเวลาทำงานของทีมออกแบบ   • เป็นการนำ AI มาใช้เบื้องหลัง ไม่ใช่แค่ฟีเจอร์ในอุปกรณ์ ✅ Johny Srouji ยืนยันว่า GenAI จะเป็นตัวช่วยสำคัญใน pipeline การพัฒนาชิป   • ช่วย generate layout, logic, simulation patterns   • ลดภาระงานซ้ำซ้อนให้วิศวกร ✅ บริษัท EDA ชั้นนำอย่าง Cadence และ Synopsys กำลังใส่ GenAI ในเครื่องมือของตัวเอง   • เป็นคลื่นเทคโนโลยีที่หลายผู้ผลิตชิปกำลังปรับตัวตาม ✅ Apple เคยทุ่มสุดตัวกับ Apple Silicon โดยไม่มีแผนสำรองตอนเปลี่ยนจาก Intel เป็น M1   • พร้อมพัฒนาระบบแปล x86 → Arm ผ่าน Rosetta 2 ✅ แนวโน้มของโลก: จีนกำลังพัฒนา CPU ที่ออกแบบโดย LLM ล้วน ๆ แล้วเช่นกัน   • เป็นการยืนยันว่า AI เริ่มเข้ามามีบทบาทตั้งแต่ระดับสถาปัตยกรรม ‼️ AI ยังไม่สามารถแทนที่วิศวกรออกแบบชิปได้เต็มตัวในปัจจุบัน   • ความเข้าใจเรื่องสถาปัตยกรรมและข้อจำกัดเชิงฟิสิกส์ยังต้องพึ่งมนุษย์ ‼️ การใช้ GenAI ในงานชิปต้องควบคุมคุณภาพสูง เพราะ error เล็กน้อยอาจทำให้ชิปทั้งตัวใช้ไม่ได้   • จึงต้องมีรอบตรวจสอบหลายชั้น แม้จะใช้ AI ร่วม ‼️ การพึ่งพา AI อย่างรวดเร็วใน R&D มีความเสี่ยงต่อการรั่วไหลของแนวคิดหรือทรัพย์สินทางปัญญา   • ต้องระวังในระดับการใช้งาน LLM ภายนอกที่อาจไม่ได้ควบคุมโมเดลเอง ‼️ แนวโน้มนี้จะเพิ่มการแข่งขันในตลาดชิปแบบ arm-on-silicon สูงขึ้น   • บริษัทที่ไม่เร่งใช้ AI ออกแบบ อาจตามไม่ทันรอบพัฒนาผลิตภัณฑ์ https://www.tomshardware.com/tech-industry/artificial-intelligence/apple-explores-using-generative-ai-to-design-its-chips-executive-says-it-can-be-a-huge-productivity-boost
    WWW.TOMSHARDWARE.COM
    Apple explores using generative AI to design its chips — executive says 'it can be a huge productivity boost'
    Generative AI in EDA tools will help Apple's silicon design teams run faster and more efficiently.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 221 มุมมอง 0 รีวิว
  • FENGSHUI DAILY
    อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว
    สีเสริมดวง เสริมความเฮง
    ทิศมงคล เวลามงคล
    อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่
    วันเสาร์ที่ 21 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2568
    ___________________________________
    FengshuiBizDesigner
    ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้
    FENGSHUI DAILY อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว สีเสริมดวง เสริมความเฮง ทิศมงคล เวลามงคล อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่ วันเสาร์ที่ 21 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2568 ___________________________________ FengshuiBizDesigner ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 90 มุมมอง 0 รีวิว
  • ในโลกของการออกแบบทรานซิสเตอร์ (ซึ่งเป็นหัวใจของชิปทุกชิ้น) นักออกแบบต้องหาทางทำให้มันเล็กลง เร็วขึ้น และไม่รั่วพลังงานแบบ “ทะลุทะลวง” ทุก 2–3 ปี ตอนนี้ เทคโนโลยี Gate-All-Around (GAA) คือมาตรฐานใหม่ที่ Samsung, Intel, และ TSMC กำลังใช้กับขนาด 2 นาโนเมตร

    แต่พอจะขยับไปใต้ 1 นาโนเมตร… GAA จะไปต่อยาก Imec จึงเสนอ “forksheet transistor” ตั้งแต่ปี 2017 ซึ่งใช้ผนังฉนวนมาช่วยแยกทรานซิสเตอร์ p กับ n ให้ใกล้กันได้แบบไม่รบกวนกัน แต่ปัญหาคือ…โครงสร้างนี้ “ผลิตยากมาก” แถมยังทำให้ทรานซิสเตอร์ควบคุมไฟฟ้าได้แย่กว่า GAA ที่มี gate ครอบรอบช่องนำกระแส

    ทีมของ Imec จึงออกแบบใหม่เป็น “outer wall forksheet” ซึ่งย้ายผนังฉนวนไปอยู่นอกเซลล์ ทำให้โครงสร้างง่ายขึ้น ใส่วัสดุที่แข็งแรงขึ้นได้ แถมให้ gate ควบคุมช่องกระแสได้ดีกว่าแบบเดิมถึง 25% (จากการตัดขอบกำแพงออกแค่ 5 นาโนเมตร!)

    ถึงแม้ดีไซน์ใหม่นี้อาจเสียพื้นที่บ้าง (density ลดลงเล็กน้อย) แต่ข้อได้เปรียบเรื่อง ต้นทุน–เสถียรภาพ–การผลิตจำนวนมาก (volume manufacturing) ทำให้มันมีแนวโน้มจะเป็น “ขั้นบันได” ที่พาเราไปยัง CFET (complementary FET) ที่ซ้อนทรานซิสเตอร์ p กับ n แบบแนวตั้งในอนาคต

    Imec เปิดตัว outer wall forksheet transistor สำหรับเทคโนโลยี A10 (1nm)  
    • ออกแบบให้ผลิตง่ายขึ้นจาก forksheet แบบเดิม (inner wall)  
    • ย้ายผนังฉนวนไปไว้ด้านนอกเซลล์ แทนการฝังระหว่าง pMOS กับ nMOS

    เพิ่มความเสถียรและ performance ได้ดีขึ้น  
    • Gate สามารถควบคุมช่องกระแสได้มากขึ้น (up to 25% drive current)  
    • รองรับเทคนิคเพิ่มความเครียดในช่องนำกระแส (strain engineering) เพื่อเพิ่มความเร็ว

    ใช้วัสดุเดิม (เช่น silicon dioxide) และกระบวนการหลังจากขั้นตอนหลักแล้ว  
    • ทำให้ผนังไม่ถูกกัดเซาะจากขั้นตอนก่อนหน้า  
    • วางระบบ timing และ mask alignment ได้ง่ายกว่า

    ผลจากการจำลองจริงบน SRAM และ oscillator circuits  
    • เทียบกับ A14 nanosheet transistor: พื้นที่ลดลง 22%, ประสิทธิภาพเท่าหรือดีกว่า  
    • ถ้าไม่มีการใส่ strain → performance ลดลง 33%

    เป็นแนวทางกลางระหว่าง GAA → forksheet → CFET  
    • ทำให้ผู้ผลิตสามารถเรียนรู้กระบวนการที่ใช้ร่วมกันได้ ก่อนเข้าสู่ CFET เต็มรูปแบบในทศวรรษหน้า

    outer wall forksheet อาจเสียพื้นที่บ้าง (density ลดลง) เทียบกับ inner wall  
    • เพราะผนังฉนวนกว้างขึ้น (จาก ~8–10nm เป็น ~15nm) แม้จะได้การผลิตที่ง่ายขึ้น

    ยังอยู่ในขั้นต้นของการพัฒนา — ยังไม่มีแผนผลิตเชิงพาณิชย์โดยใครชัดเจน  
    • ต้องรอ Intel, TSMC, หรือ Samsung นำไปรวมใน node จริง

    หากไม่ได้วางระบบ strain อย่างเหมาะสม จะเสีย performance ไปมาก  
    • strain continuity เป็นหัวใจที่ forksheet เดิมขาดไป แต่ต้องทำให้ครบ

    โครงสร้างนี้ซับซ้อนเกินกว่า node 5nm จะใช้ได้ทั่วไป  
    • เน้นเฉพาะ A10 (1nm) ขึ้นไป ใกล้เคียงกับกรอบเวลา 2027–2030+

    https://www.tomshardware.com/tech-industry/semiconductors/imecs-next-gen-high-speed-chip-transistor-addresses-manufacturing-concerns-outer-wall-forksheet-design-simplifies-production-but-may-sacrifice-density
    ในโลกของการออกแบบทรานซิสเตอร์ (ซึ่งเป็นหัวใจของชิปทุกชิ้น) นักออกแบบต้องหาทางทำให้มันเล็กลง เร็วขึ้น และไม่รั่วพลังงานแบบ “ทะลุทะลวง” ทุก 2–3 ปี ตอนนี้ เทคโนโลยี Gate-All-Around (GAA) คือมาตรฐานใหม่ที่ Samsung, Intel, และ TSMC กำลังใช้กับขนาด 2 นาโนเมตร แต่พอจะขยับไปใต้ 1 นาโนเมตร… GAA จะไปต่อยาก Imec จึงเสนอ “forksheet transistor” ตั้งแต่ปี 2017 ซึ่งใช้ผนังฉนวนมาช่วยแยกทรานซิสเตอร์ p กับ n ให้ใกล้กันได้แบบไม่รบกวนกัน แต่ปัญหาคือ…โครงสร้างนี้ “ผลิตยากมาก” แถมยังทำให้ทรานซิสเตอร์ควบคุมไฟฟ้าได้แย่กว่า GAA ที่มี gate ครอบรอบช่องนำกระแส ทีมของ Imec จึงออกแบบใหม่เป็น “outer wall forksheet” ซึ่งย้ายผนังฉนวนไปอยู่นอกเซลล์ ทำให้โครงสร้างง่ายขึ้น ใส่วัสดุที่แข็งแรงขึ้นได้ แถมให้ gate ควบคุมช่องกระแสได้ดีกว่าแบบเดิมถึง 25% (จากการตัดขอบกำแพงออกแค่ 5 นาโนเมตร!) ถึงแม้ดีไซน์ใหม่นี้อาจเสียพื้นที่บ้าง (density ลดลงเล็กน้อย) แต่ข้อได้เปรียบเรื่อง ต้นทุน–เสถียรภาพ–การผลิตจำนวนมาก (volume manufacturing) ทำให้มันมีแนวโน้มจะเป็น “ขั้นบันได” ที่พาเราไปยัง CFET (complementary FET) ที่ซ้อนทรานซิสเตอร์ p กับ n แบบแนวตั้งในอนาคต ✅ Imec เปิดตัว outer wall forksheet transistor สำหรับเทคโนโลยี A10 (1nm)   • ออกแบบให้ผลิตง่ายขึ้นจาก forksheet แบบเดิม (inner wall)   • ย้ายผนังฉนวนไปไว้ด้านนอกเซลล์ แทนการฝังระหว่าง pMOS กับ nMOS ✅ เพิ่มความเสถียรและ performance ได้ดีขึ้น   • Gate สามารถควบคุมช่องกระแสได้มากขึ้น (up to 25% drive current)   • รองรับเทคนิคเพิ่มความเครียดในช่องนำกระแส (strain engineering) เพื่อเพิ่มความเร็ว ✅ ใช้วัสดุเดิม (เช่น silicon dioxide) และกระบวนการหลังจากขั้นตอนหลักแล้ว   • ทำให้ผนังไม่ถูกกัดเซาะจากขั้นตอนก่อนหน้า   • วางระบบ timing และ mask alignment ได้ง่ายกว่า ✅ ผลจากการจำลองจริงบน SRAM และ oscillator circuits   • เทียบกับ A14 nanosheet transistor: พื้นที่ลดลง 22%, ประสิทธิภาพเท่าหรือดีกว่า   • ถ้าไม่มีการใส่ strain → performance ลดลง 33% ✅ เป็นแนวทางกลางระหว่าง GAA → forksheet → CFET   • ทำให้ผู้ผลิตสามารถเรียนรู้กระบวนการที่ใช้ร่วมกันได้ ก่อนเข้าสู่ CFET เต็มรูปแบบในทศวรรษหน้า ‼️ outer wall forksheet อาจเสียพื้นที่บ้าง (density ลดลง) เทียบกับ inner wall   • เพราะผนังฉนวนกว้างขึ้น (จาก ~8–10nm เป็น ~15nm) แม้จะได้การผลิตที่ง่ายขึ้น ‼️ ยังอยู่ในขั้นต้นของการพัฒนา — ยังไม่มีแผนผลิตเชิงพาณิชย์โดยใครชัดเจน   • ต้องรอ Intel, TSMC, หรือ Samsung นำไปรวมใน node จริง ‼️ หากไม่ได้วางระบบ strain อย่างเหมาะสม จะเสีย performance ไปมาก   • strain continuity เป็นหัวใจที่ forksheet เดิมขาดไป แต่ต้องทำให้ครบ ‼️ โครงสร้างนี้ซับซ้อนเกินกว่า node 5nm จะใช้ได้ทั่วไป   • เน้นเฉพาะ A10 (1nm) ขึ้นไป ใกล้เคียงกับกรอบเวลา 2027–2030+ https://www.tomshardware.com/tech-industry/semiconductors/imecs-next-gen-high-speed-chip-transistor-addresses-manufacturing-concerns-outer-wall-forksheet-design-simplifies-production-but-may-sacrifice-density
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 152 มุมมอง 0 รีวิว
  • ช่วงหลังมีงานวิจัยหลายชิ้นเตือนเรื่อง “เวลาอยู่หน้าจอมากเกินไป” ว่าทำให้เด็กเศร้า หวาดระแวง หรือเสี่ยงคิดสั้น แต่การศึกษาใหม่ในวารสาร JAMA ชี้ว่า เวลาอาจไม่ใช่ตัวการหลัก เพราะเด็กที่ใช้มือถือหรือโซเชียลแค่วันละนิด แต่ใช้แบบ “เลิกไม่ได้” ก็เสี่ยงสูงเช่นกัน

    ทีมนักวิจัยจาก Weill Cornell Medical College ตามข้อมูลเด็กกว่า 4,000 คน ตั้งแต่อายุ 10–14 ปี พบว่าเด็กที่มีพฤติกรรม “เสพติดมือถือ” (เช่น วางไม่ลง ขาดแล้วกระวนกระวาย หรือใช้เพิ่มเรื่อย ๆ) มีโอกาสคิดสั้นหรือทำร้ายตัวเองเพิ่มขึ้น 2–3 เท่า แม้จะไม่ได้ใช้หน้าจอนานมาก

    กลุ่มเสี่ยงมากที่สุดคือเด็กที่เริ่มติดตั้งแต่อายุ 11 ปี และยิ่งแย่ขึ้นในช่วงวัย 14 ปี ซึ่งสมองยังพัฒนาไม่เต็มที่ โดยเฉพาะส่วน prefrontal cortex ที่คุมการหักห้ามใจ

    และที่น่าคิดคือ…การเอามือถือออกจากมือลูกแบบหักดิบ อาจไม่ได้ช่วย แถมสร้างความขัดแย้งในบ้านอีกต่างหาก นักวิจัยแนะนำให้เน้น “บำบัดพฤติกรรมเสพติด” เช่น Cognitive Behavioral Therapy (CBT) แทนการห้ามใช้อย่างเดียว

    งานวิจัยใหญ่ชี้ว่า “พฤติกรรมเสพติด” ไม่ใช่ “เวลาอยู่หน้าจอ” คือปัจจัยเสี่ยงหลักของสุขภาพจิตเด็ก  
    • การวางไม่ลง / ต้องใช้มากขึ้นเรื่อย ๆ เป็นสัญญาณอันตราย  
    • เด็กที่มีพฤติกรรมนี้เสี่ยงคิดสั้นมากขึ้น 2–3 เท่า

    เกือบครึ่งของเด็กในงานวิจัยมีพฤติกรรมติดมือถือระดับสูงตั้งแต่อายุ 11  
    • อีก 25% เริ่มติดภายหลังและพุ่งขึ้นเร็วในช่วงวัยรุ่น

    การวัด screen time อย่างเดียวอาจพลาดกลุ่มเสี่ยงที่ใช้ “น้อยแต่ติด”  
    • ต้องติดตามพฤติกรรมแบบ “ต่อเนื่อง” เพื่อจับสัญญาณก่อนสาย

    ทีมวิจัยแนะนำให้เน้นการบำบัดพฤติกรรมแทนการยึดมือถือ  
    • เช่น การใช้ CBT เพื่อช่วยเด็กควบคุมการใช้งาน  
    • พ่อแม่ควรปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ ไม่ใช่จัดการเองอย่างหักดิบ

    มีการเรียกร้องให้ผู้ให้บริการออกแบบแอป/อุปกรณ์ให้เหมาะกับวัย (Age-Appropriate Design)  
    • ลดกลไกดึงดูดแบบ loop ไม่มีที่สิ้นสุด เช่น infinite scroll  
    • อังกฤษมีการออกโค้ดแนวทางนี้แล้วตั้งแต่ปี 2020

    ความเสี่ยงติดมือถือพบบ่อยในกลุ่มครอบครัวยากจนหรือพ่อแม่ไม่ได้เรียนมหาวิทยาลัย  
    • เป็นภาระซ้อนของสภาพแวดล้อมทางสังคม

    ผลวิจัยยังไม่สามารถสรุปได้แน่ชัดว่า “ติดมือถือทำให้คิดสั้น” หรือไม่  
    • เพราะเป็นงานแบบสังเกต ไม่ใช่ทดลองควบคุม  • แต่พบว่าพฤติกรรมเสพติดมาก่อนอาการทางจิตชัดเจน

    การจำกัด screen time โดยไม่เข้าใจ “เหตุผลที่เด็กใช้งาน” อาจไม่แก้ปัญหา  
    • ต้องดูว่าเด็กใช้เพื่อหนีปัญหาในชีวิตจริงหรือไม่

    การพูดเรื่อง screen time อย่างเดียว อาจโยนภาระทั้งหมดให้พ่อแม่  
    • ทั้งที่ส่วนหนึ่งเกิดจากการออกแบบแอปให้ดึงดูดเกินพอดี

    การตัดสินจากแค่ “ชั่วโมงหน้าจอ” อาจพลาดกลุ่มเด็กที่เสพติดเชิงพฤติกรรมแบบลึก ๆ  
    • เช่น ใช้น้อยแต่รู้สึกหงุดหงิดมากถ้าขาดมือถือ

    https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/06/19/real-risk-to-youth-mental-health-is-addictive-use-not-screen-time-alone-study-finds
    ช่วงหลังมีงานวิจัยหลายชิ้นเตือนเรื่อง “เวลาอยู่หน้าจอมากเกินไป” ว่าทำให้เด็กเศร้า หวาดระแวง หรือเสี่ยงคิดสั้น แต่การศึกษาใหม่ในวารสาร JAMA ชี้ว่า เวลาอาจไม่ใช่ตัวการหลัก เพราะเด็กที่ใช้มือถือหรือโซเชียลแค่วันละนิด แต่ใช้แบบ “เลิกไม่ได้” ก็เสี่ยงสูงเช่นกัน ทีมนักวิจัยจาก Weill Cornell Medical College ตามข้อมูลเด็กกว่า 4,000 คน ตั้งแต่อายุ 10–14 ปี พบว่าเด็กที่มีพฤติกรรม “เสพติดมือถือ” (เช่น วางไม่ลง ขาดแล้วกระวนกระวาย หรือใช้เพิ่มเรื่อย ๆ) มีโอกาสคิดสั้นหรือทำร้ายตัวเองเพิ่มขึ้น 2–3 เท่า แม้จะไม่ได้ใช้หน้าจอนานมาก กลุ่มเสี่ยงมากที่สุดคือเด็กที่เริ่มติดตั้งแต่อายุ 11 ปี และยิ่งแย่ขึ้นในช่วงวัย 14 ปี ซึ่งสมองยังพัฒนาไม่เต็มที่ โดยเฉพาะส่วน prefrontal cortex ที่คุมการหักห้ามใจ และที่น่าคิดคือ…การเอามือถือออกจากมือลูกแบบหักดิบ อาจไม่ได้ช่วย แถมสร้างความขัดแย้งในบ้านอีกต่างหาก นักวิจัยแนะนำให้เน้น “บำบัดพฤติกรรมเสพติด” เช่น Cognitive Behavioral Therapy (CBT) แทนการห้ามใช้อย่างเดียว ✅ งานวิจัยใหญ่ชี้ว่า “พฤติกรรมเสพติด” ไม่ใช่ “เวลาอยู่หน้าจอ” คือปัจจัยเสี่ยงหลักของสุขภาพจิตเด็ก   • การวางไม่ลง / ต้องใช้มากขึ้นเรื่อย ๆ เป็นสัญญาณอันตราย   • เด็กที่มีพฤติกรรมนี้เสี่ยงคิดสั้นมากขึ้น 2–3 เท่า ✅ เกือบครึ่งของเด็กในงานวิจัยมีพฤติกรรมติดมือถือระดับสูงตั้งแต่อายุ 11   • อีก 25% เริ่มติดภายหลังและพุ่งขึ้นเร็วในช่วงวัยรุ่น ✅ การวัด screen time อย่างเดียวอาจพลาดกลุ่มเสี่ยงที่ใช้ “น้อยแต่ติด”   • ต้องติดตามพฤติกรรมแบบ “ต่อเนื่อง” เพื่อจับสัญญาณก่อนสาย ✅ ทีมวิจัยแนะนำให้เน้นการบำบัดพฤติกรรมแทนการยึดมือถือ   • เช่น การใช้ CBT เพื่อช่วยเด็กควบคุมการใช้งาน   • พ่อแม่ควรปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ ไม่ใช่จัดการเองอย่างหักดิบ ✅ มีการเรียกร้องให้ผู้ให้บริการออกแบบแอป/อุปกรณ์ให้เหมาะกับวัย (Age-Appropriate Design)   • ลดกลไกดึงดูดแบบ loop ไม่มีที่สิ้นสุด เช่น infinite scroll   • อังกฤษมีการออกโค้ดแนวทางนี้แล้วตั้งแต่ปี 2020 ✅ ความเสี่ยงติดมือถือพบบ่อยในกลุ่มครอบครัวยากจนหรือพ่อแม่ไม่ได้เรียนมหาวิทยาลัย   • เป็นภาระซ้อนของสภาพแวดล้อมทางสังคม ‼️ ผลวิจัยยังไม่สามารถสรุปได้แน่ชัดว่า “ติดมือถือทำให้คิดสั้น” หรือไม่   • เพราะเป็นงานแบบสังเกต ไม่ใช่ทดลองควบคุม  • แต่พบว่าพฤติกรรมเสพติดมาก่อนอาการทางจิตชัดเจน ‼️ การจำกัด screen time โดยไม่เข้าใจ “เหตุผลที่เด็กใช้งาน” อาจไม่แก้ปัญหา   • ต้องดูว่าเด็กใช้เพื่อหนีปัญหาในชีวิตจริงหรือไม่ ‼️ การพูดเรื่อง screen time อย่างเดียว อาจโยนภาระทั้งหมดให้พ่อแม่   • ทั้งที่ส่วนหนึ่งเกิดจากการออกแบบแอปให้ดึงดูดเกินพอดี ‼️ การตัดสินจากแค่ “ชั่วโมงหน้าจอ” อาจพลาดกลุ่มเด็กที่เสพติดเชิงพฤติกรรมแบบลึก ๆ   • เช่น ใช้น้อยแต่รู้สึกหงุดหงิดมากถ้าขาดมือถือ https://www.thestar.com.my/tech/tech-news/2025/06/19/real-risk-to-youth-mental-health-is-addictive-use-not-screen-time-alone-study-finds
    WWW.THESTAR.COM.MY
    Real risk to youth mental health is ‘addictive use’, not screen time alone, study finds
    Researchers found children with highly addictive use of phones, video games or social media were two to three times as likely to have thoughts of suicide or to harm themselves.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 145 มุมมอง 0 รีวิว
  • Start Menu ของ Windows 11 กลายเป็นหนึ่งในหัวข้อดราม่าประจำวงการคอม หลังเปิดตัวในปี 2021 เพราะหลายคนรู้สึกว่าใช้งานยาก ปรับแต่งไม่ได้ และไม่สะดวกแบบ Windows 10 ล่าสุด Microsoft จึงออกแบบใหม่ใน Windows 11 เวอร์ชันทดสอบ (Dev และ Beta channel) เพื่อคืนความสุขให้ผู้ใช้

    ทีมพัฒนาเริ่มจากการเปิด Feedback Hub ให้ผู้ใช้โหวตฟีเจอร์ที่อยากได้มากที่สุด และทำ “Checklist” เทียบว่าอะไรทำแล้ว อะไรยัง ทำให้เรารู้เลยว่าเขา “ฟังจริงแค่ไหน”

    ที่โดดเด่นคือการปิดแถบ Recommended ได้ซะที! ซึ่งคือแถบแนะนำแอป/ไฟล์ที่หลายคนรำคาญ เพราะกินพื้นที่ แต่บางอย่างที่คนเรียกร้อง เช่น Live Tiles หรือ Start Menu เต็มจอแบบ Windows 10 — ยัง “เงียบสนิท”

    นี่ถือเป็นตัวอย่างที่ดีของการพัฒนาซอฟต์แวร์ร่วมกับผู้ใช้ (User-driven design) แต่ในบางประเด็นก็ยังสะท้อนความขัดแย้งระหว่าง “แนวคิดมินิมอล” ของ Microsoft กับความต้องการการปรับแต่งของผู้ใช้ระดับ power user

    Microsoft อัปเดต Start Menu ใหม่ใน Windows 11 เวอร์ชันทดสอบ  
    • เปิดให้ทดสอบใน Dev และ Beta Channel  
    • มีการแก้ไขตามข้อเสนอ 10 อันดับใน Feedback Hub จากผู้ใช้

    ผู้ใช้สามารถปิดแถบ “Recommended” ได้แล้ว  
    • เป็นคำขอที่มีคนโหวตสูงสุด (17K+)  
    • ช่วยลดความรำคาญและเพิ่มพื้นที่แสดงแอป

    เพิ่มการเลือกมุมมอง “All Apps” ได้หลายรูปแบบ  
    • สลับได้ทั้งแบบ list, grid, หรือ categorized  
    • ไม่บังคับมุมมองใดมุมมองหนึ่ง

    ตั้งให้ Start เปิดมาที่รายการ All Apps ได้โดยตรง  
    • ไม่ต้องกดคลิกเพิ่มเพื่อเข้าถึงแอปทั้งหมด

    ยืนยันว่า Microsoft ไม่กลับไปใช้ Start Menu สไตล์ Windows 10  
    • ผู้ใช้ที่อยากได้แบบเดิมต้องพึ่ง third-party mod เช่น StartIsBack หรือ Start11

    ปรับปรุงการแสดง Jump List (เมื่อคลิกขวาแอปที่ปักหมุด)  
    • ใช้งานได้แล้วแต่ยังมีบั๊ก: ถ้าปิด Recommended → Jump List หาย!

    ไม่มีการนำ “Live Tiles” กลับมา และยังไม่รองรับ Start Menu เต็มจอ  
    • แม้มีการโชว์ต้นแบบ Start Menu เต็มจอในอดีต แต่ไม่ถูกเลือกใช้

    การปิด Recommended ส่งผลข้างเคียงต่อ Jump List บน Taskbar  
    • หากปิดแถบ Recommended → Jump List บน Start/Taskbar หายไปด้วย  
    • ส่งผลกับผู้ใช้ที่ใช้ฟีเจอร์นี้บ่อยมาก เช่น การเปิดไฟล์ล่าสุดจาก Word หรือ Excel

    ยังไม่สามารถปรับขนาด Start Menu ได้ตามใจแบบ Windows 10  
    • แม้จะ adaptive ตามขนาดจอ แต่ไม่มีตัวเลือกปรับขนาดเอง

    ยังขาดระบบ “full personalization” สำหรับผู้ใช้สายปรับแต่ง  
    • ผู้ที่ต้องการเปลี่ยนสี ตำแหน่ง หรือเอฟเฟกต์ ต้องใช้ third-party tool

    Start Menu ใหม่ยังไม่ปล่อยในเวอร์ชันเสถียร  
    • ฟีเจอร์ทั้งหมดอยู่ใน build สำหรับนักทดสอบเท่านั้น

    https://www.neowin.net/news/redesigned-windows-11-start-menu-what-users-wanted-and-what-microsoft-delivered/
    Start Menu ของ Windows 11 กลายเป็นหนึ่งในหัวข้อดราม่าประจำวงการคอม หลังเปิดตัวในปี 2021 เพราะหลายคนรู้สึกว่าใช้งานยาก ปรับแต่งไม่ได้ และไม่สะดวกแบบ Windows 10 ล่าสุด Microsoft จึงออกแบบใหม่ใน Windows 11 เวอร์ชันทดสอบ (Dev และ Beta channel) เพื่อคืนความสุขให้ผู้ใช้ ทีมพัฒนาเริ่มจากการเปิด Feedback Hub ให้ผู้ใช้โหวตฟีเจอร์ที่อยากได้มากที่สุด และทำ “Checklist” เทียบว่าอะไรทำแล้ว อะไรยัง ทำให้เรารู้เลยว่าเขา “ฟังจริงแค่ไหน” ที่โดดเด่นคือการปิดแถบ Recommended ได้ซะที! ซึ่งคือแถบแนะนำแอป/ไฟล์ที่หลายคนรำคาญ เพราะกินพื้นที่ แต่บางอย่างที่คนเรียกร้อง เช่น Live Tiles หรือ Start Menu เต็มจอแบบ Windows 10 — ยัง “เงียบสนิท” นี่ถือเป็นตัวอย่างที่ดีของการพัฒนาซอฟต์แวร์ร่วมกับผู้ใช้ (User-driven design) แต่ในบางประเด็นก็ยังสะท้อนความขัดแย้งระหว่าง “แนวคิดมินิมอล” ของ Microsoft กับความต้องการการปรับแต่งของผู้ใช้ระดับ power user ✅ Microsoft อัปเดต Start Menu ใหม่ใน Windows 11 เวอร์ชันทดสอบ   • เปิดให้ทดสอบใน Dev และ Beta Channel   • มีการแก้ไขตามข้อเสนอ 10 อันดับใน Feedback Hub จากผู้ใช้ ✅ ผู้ใช้สามารถปิดแถบ “Recommended” ได้แล้ว   • เป็นคำขอที่มีคนโหวตสูงสุด (17K+)   • ช่วยลดความรำคาญและเพิ่มพื้นที่แสดงแอป ✅ เพิ่มการเลือกมุมมอง “All Apps” ได้หลายรูปแบบ   • สลับได้ทั้งแบบ list, grid, หรือ categorized   • ไม่บังคับมุมมองใดมุมมองหนึ่ง ✅ ตั้งให้ Start เปิดมาที่รายการ All Apps ได้โดยตรง   • ไม่ต้องกดคลิกเพิ่มเพื่อเข้าถึงแอปทั้งหมด ✅ ยืนยันว่า Microsoft ไม่กลับไปใช้ Start Menu สไตล์ Windows 10   • ผู้ใช้ที่อยากได้แบบเดิมต้องพึ่ง third-party mod เช่น StartIsBack หรือ Start11 ✅ ปรับปรุงการแสดง Jump List (เมื่อคลิกขวาแอปที่ปักหมุด)   • ใช้งานได้แล้วแต่ยังมีบั๊ก: ถ้าปิด Recommended → Jump List หาย! ✅ ไม่มีการนำ “Live Tiles” กลับมา และยังไม่รองรับ Start Menu เต็มจอ   • แม้มีการโชว์ต้นแบบ Start Menu เต็มจอในอดีต แต่ไม่ถูกเลือกใช้ ‼️ การปิด Recommended ส่งผลข้างเคียงต่อ Jump List บน Taskbar   • หากปิดแถบ Recommended → Jump List บน Start/Taskbar หายไปด้วย   • ส่งผลกับผู้ใช้ที่ใช้ฟีเจอร์นี้บ่อยมาก เช่น การเปิดไฟล์ล่าสุดจาก Word หรือ Excel ‼️ ยังไม่สามารถปรับขนาด Start Menu ได้ตามใจแบบ Windows 10   • แม้จะ adaptive ตามขนาดจอ แต่ไม่มีตัวเลือกปรับขนาดเอง ‼️ ยังขาดระบบ “full personalization” สำหรับผู้ใช้สายปรับแต่ง   • ผู้ที่ต้องการเปลี่ยนสี ตำแหน่ง หรือเอฟเฟกต์ ต้องใช้ third-party tool ‼️ Start Menu ใหม่ยังไม่ปล่อยในเวอร์ชันเสถียร   • ฟีเจอร์ทั้งหมดอยู่ใน build สำหรับนักทดสอบเท่านั้น https://www.neowin.net/news/redesigned-windows-11-start-menu-what-users-wanted-and-what-microsoft-delivered/
    WWW.NEOWIN.NET
    Redesigned Windows 11 Start menu: What users wanted and what Microsoft delivered
    Microsoft recently started public testing a redesigned Start menu for Windows 11. Here is how it compares to users' expectations.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 188 มุมมอง 0 รีวิว
  • FENGSHUI DAILY
    อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว
    สีเสริมดวง เสริมความเฮง
    ทิศมงคล เวลามงคล
    อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่
    วันศุกร์ที่ 20 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2568
    ___________________________________
    FengshuiBizDesigner
    ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้
    FENGSHUI DAILY อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว สีเสริมดวง เสริมความเฮง ทิศมงคล เวลามงคล อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่ วันศุกร์ที่ 20 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2568 ___________________________________ FengshuiBizDesigner ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 74 มุมมอง 0 รีวิว
  • ถ้าตอนนี้เราเริ่มบ่นว่า “เซิร์ฟเวอร์มันร้อน” อีกไม่กี่ปีข้างหน้า—อาจต้องเรียกวิศวกรนิวเคลียร์มาช่วยออกแบบห้องเซิร์ฟเวอร์กันเลยทีเดียว

    เพราะรายงานจาก KAIST (สถาบันวิจัยของเกาหลีใต้) ชี้ว่า TDP (Thermal Design Power) ของชิป AI ในอนาคตอาจพุ่งไปถึง 15,360W ภายในปี 2032 ซึ่งสูงกว่าชิป H100 ของ NVIDIA ปัจจุบัน (700–800W) ถึง 20 เท่า

    ตอนนี้ NVIDIA Blackwell ใช้พลังงาน 1,400W แล้ว Rubin Ultra ที่จะมาในปี 2027 จะพุ่งไป 3,600W และ Feynman ในปี 2029 จะทะลุ 6,000W ได้เลย โดยทั้งหมดนี้ยัง “ใช้แค่น้ำหล่อเย็น (liquid cooling)” ได้อยู่

    แต่หลังจากปี 2030 เป็นต้นไป จะเริ่มใช้เทคโนโลยี Immersion Cooling (จุ่มชิปในของเหลวพิเศษ) และเมื่อถึงปี 2032… ต้องฝังระบบทำความเย็นลงไปในชิปเลย (Embedded Cooling)

    และไม่ใช่แค่ตัวประมวลผลที่กินไฟครับ—โมดูลหน่วยความจำ HBM ก็จะใช้ไฟกว่า 2,000W ด้วย นั่นแปลว่าชิป AI 1 ตัวอาจใช้ไฟมากกว่บ้าน 2 หลังรวมกัน!

    TDP ของชิป AI เพิ่มจากร้อย → พัน → หมื่นวัตต์ในทศวรรษเดียว  
    • Blackwell Ultra (2025): 1,400W  
    • Rubin Ultra (2027): 3,600W  
    • Feynman Ultra (2029): 6,000W  
    • Post-Feynman Ultra (2032): 15,360W

    แนวโน้มเทคโนโลยีหล่อเย็น AI ตามระดับความร้อน  
    • เริ่มจาก liquid cooling → immersion cooling → embedded cooling  
    • KAIST เสนอแนวคิดฝัง "ท่อน้ำหล่อเย็น" และ “ฟลูอิด TSV” ลงในชิป

    การเพิ่มจำนวน chiplet และ HBM stack เป็นสาเหตุหลักของพลังงานมหาศาล  
    • HBM6 stack หนึ่งใช้ไฟถึง 120W และอาจมีมากถึง 16 stack ต่อชิป  
    • ระบบต้องติดเซ็นเซอร์ความร้อนแบบเรียลไทม์

    แนวคิดอนาคต: GPU ซ้อนชั้นสองด้าน + ท่อนำความร้อนฝังใน interposer  
    • เพิ่มพลังโดยไม่เพิ่มพื้นที่ชิป  
    • เน้นดึงความร้อนออกจาก “core” ก่อน แล้วค่อยระบายออกนอกตัวระบบ

    พลังงานระดับนี้อาจต้องใช้ระบบจ่ายไฟระดับ “โรงไฟฟ้าขนาดย่อม”  
    • หนึ่ง GPU rack อาจกินไฟ 50kW+ → ส่งผลต่อโครงสร้างพื้นฐานของ data center ทั่วโลก

    ความท้าทายเรื่อง “คาร์บอนฟุตพรินต์” และสิ่งแวดล้อมจะหนักขึ้น  
    • แม้จะมีความพยายามใช้ cooling แบบปิดระบบ แต่การผลิตและใช้ชิปเหล่านี้ยังสิ้นเปลืองพลังงานมหาศาล

    Immersion cooling ยังเป็นเทคโนโลยีเฉพาะทาง – ไม่แพร่หลายเท่าที่ควร  
    • ต้องใช้ของเหลวเฉพาะ แพง และต้องมีระบบควบคุมพิเศษ  
    • อาจไม่เหมาะกับองค์กรทั่วไป

    ยังไม่มีมาตรฐานอุตสาหกรรมด้าน embedded cooling ที่ชัดเจน  
    • หากใช้ต่างแนวทางกัน อาจเกิดปัญหาความเข้ากันได้ของฮาร์ดแวร์ในอนาคต

    https://www.tomshardware.com/pc-components/cooling/future-ai-processors-said-to-consume-up-to-15-360w-massive-power-draw-will-demand-exotic-immersion-and-embedded-cooling-tech
    ถ้าตอนนี้เราเริ่มบ่นว่า “เซิร์ฟเวอร์มันร้อน” อีกไม่กี่ปีข้างหน้า—อาจต้องเรียกวิศวกรนิวเคลียร์มาช่วยออกแบบห้องเซิร์ฟเวอร์กันเลยทีเดียว 🤯 เพราะรายงานจาก KAIST (สถาบันวิจัยของเกาหลีใต้) ชี้ว่า TDP (Thermal Design Power) ของชิป AI ในอนาคตอาจพุ่งไปถึง 15,360W ภายในปี 2032 ซึ่งสูงกว่าชิป H100 ของ NVIDIA ปัจจุบัน (700–800W) ถึง 20 เท่า ตอนนี้ NVIDIA Blackwell ใช้พลังงาน 1,400W แล้ว Rubin Ultra ที่จะมาในปี 2027 จะพุ่งไป 3,600W และ Feynman ในปี 2029 จะทะลุ 6,000W ได้เลย โดยทั้งหมดนี้ยัง “ใช้แค่น้ำหล่อเย็น (liquid cooling)” ได้อยู่ แต่หลังจากปี 2030 เป็นต้นไป จะเริ่มใช้เทคโนโลยี Immersion Cooling (จุ่มชิปในของเหลวพิเศษ) และเมื่อถึงปี 2032… ต้องฝังระบบทำความเย็นลงไปในชิปเลย (Embedded Cooling) และไม่ใช่แค่ตัวประมวลผลที่กินไฟครับ—โมดูลหน่วยความจำ HBM ก็จะใช้ไฟกว่า 2,000W ด้วย นั่นแปลว่าชิป AI 1 ตัวอาจใช้ไฟมากกว่บ้าน 2 หลังรวมกัน! ✅ TDP ของชิป AI เพิ่มจากร้อย → พัน → หมื่นวัตต์ในทศวรรษเดียว   • Blackwell Ultra (2025): 1,400W   • Rubin Ultra (2027): 3,600W   • Feynman Ultra (2029): 6,000W   • Post-Feynman Ultra (2032): 15,360W ✅ แนวโน้มเทคโนโลยีหล่อเย็น AI ตามระดับความร้อน   • เริ่มจาก liquid cooling → immersion cooling → embedded cooling   • KAIST เสนอแนวคิดฝัง "ท่อน้ำหล่อเย็น" และ “ฟลูอิด TSV” ลงในชิป ✅ การเพิ่มจำนวน chiplet และ HBM stack เป็นสาเหตุหลักของพลังงานมหาศาล   • HBM6 stack หนึ่งใช้ไฟถึง 120W และอาจมีมากถึง 16 stack ต่อชิป   • ระบบต้องติดเซ็นเซอร์ความร้อนแบบเรียลไทม์ ✅ แนวคิดอนาคต: GPU ซ้อนชั้นสองด้าน + ท่อนำความร้อนฝังใน interposer   • เพิ่มพลังโดยไม่เพิ่มพื้นที่ชิป   • เน้นดึงความร้อนออกจาก “core” ก่อน แล้วค่อยระบายออกนอกตัวระบบ ‼️ พลังงานระดับนี้อาจต้องใช้ระบบจ่ายไฟระดับ “โรงไฟฟ้าขนาดย่อม”   • หนึ่ง GPU rack อาจกินไฟ 50kW+ → ส่งผลต่อโครงสร้างพื้นฐานของ data center ทั่วโลก ‼️ ความท้าทายเรื่อง “คาร์บอนฟุตพรินต์” และสิ่งแวดล้อมจะหนักขึ้น   • แม้จะมีความพยายามใช้ cooling แบบปิดระบบ แต่การผลิตและใช้ชิปเหล่านี้ยังสิ้นเปลืองพลังงานมหาศาล ‼️ Immersion cooling ยังเป็นเทคโนโลยีเฉพาะทาง – ไม่แพร่หลายเท่าที่ควร   • ต้องใช้ของเหลวเฉพาะ แพง และต้องมีระบบควบคุมพิเศษ   • อาจไม่เหมาะกับองค์กรทั่วไป ‼️ ยังไม่มีมาตรฐานอุตสาหกรรมด้าน embedded cooling ที่ชัดเจน   • หากใช้ต่างแนวทางกัน อาจเกิดปัญหาความเข้ากันได้ของฮาร์ดแวร์ในอนาคต https://www.tomshardware.com/pc-components/cooling/future-ai-processors-said-to-consume-up-to-15-360w-massive-power-draw-will-demand-exotic-immersion-and-embedded-cooling-tech
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 210 มุมมอง 0 รีวิว
  • FENGSHUI DAILY
    อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว
    สีเสริมดวง เสริมความเฮง
    ทิศมงคล เวลามงคล
    อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่
    วันพฤหัสบดีที่ 19 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2568
    ___________________________________
    FengshuiBizDesigner
    ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้
    FENGSHUI DAILY อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว สีเสริมดวง เสริมความเฮง ทิศมงคล เวลามงคล อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่ วันพฤหัสบดีที่ 19 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2568 ___________________________________ FengshuiBizDesigner ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 74 มุมมอง 0 รีวิว
  • FENGSHUI DAILY
    อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว
    สีเสริมดวง เสริมความเฮง
    ทิศมงคล เวลามงคล
    อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่
    วันพุธที่ 18 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2568
    ___________________________________
    FengshuiBizDesigner
    ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้
    FENGSHUI DAILY อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว สีเสริมดวง เสริมความเฮง ทิศมงคล เวลามงคล อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่ วันพุธที่ 18 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2568 ___________________________________ FengshuiBizDesigner ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 88 มุมมอง 0 รีวิว
  • FENGSHUI DAILY
    อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว
    สีเสริมดวง เสริมความเฮง
    ทิศมงคล เวลามงคล
    อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่
    วันอังคารที่ 17 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2568
    ___________________________________
    FengshuiBizDesigner
    ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้
    FENGSHUI DAILY อัพเดตทุกวัน ที่นี่ที่เดียว สีเสริมดวง เสริมความเฮง ทิศมงคล เวลามงคล อย่าลืมดูกัน เมื่อเริ่มวันใหม่ วันอังคารที่ 17 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2568 ___________________________________ FengshuiBizDesigner ฮวงจุ้ย...ออกแบบได้
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 97 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts