• กลุ่มอาการหลังวัคซีนโควิด (ตอนที่ 1)

    ประโยชน์ของวัคซีนก็คือป้องกันโรค รวมทั้งลดอาการหนัก การตายและในขณะเดียวกันจำเป็นต้องทราบผลข้างเคียงผลแทรกซ้อนในระยะเวลาต่างๆ ตั้งแต่ได้รับวัคซีนนาทีแรกจนกระทั่งถึงระยะกลางเป็นสัปดาห์และระยะยาวเป็นเดือนและสิ่งที่ทอดยาวไปเป็นปี

    วัคซีนโควิดเช่นกันในช่วงที่มีการระบาดรุนแรงจำเป็นต้องใช้ในสถานการณ์ฉุกเฉิน และเป้าหมายของทุกประเทศรวมทั้งประเทศไทยด้วยก็คือ ให้ทุกคนได้รับวัคซีนทั้งนี้เพื่อทำให้ระบบสาธารณสุขไม่พังพาบ จนรับผู้ป่วยโควิดไม่ไหว
    แต่ในขณะเดียวกันก็ต้องมีระบบในการรองรับเพื่อประเมิน ผลข้างเคียงเพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดในคนที่ได้รับวัคซีนโดยที่เป็นคนที่ยังสุขภาพดีแข็งแรงจนกระทั่งมีโรคประจำตัวอื่นๆ

    รายงานในวารสารทางการแพทย์ของอังกฤษ British Medical Journal ในวันที่ 10 พฤศจิกายน 2023 ตั้งคำถามถึงระบบในสหรัฐที่รับรายงานผลแทรกซ้อนของวัคซีนที่เรียกว่า vaccine adverse event reporting system (VAERS) ทั้งนี้ยกตัวอย่างหมอสหรัฐที่ได้รับวัคซีนและเกิดผลกระทบอย่างรุนแรง พยายามที่จะรายงานเข้าระบบ แต่ไม่ประสบผลสำเร็จเท่าใดนักรวมทั้งเป็นความซับซ้อนที่จะได้รับการติดตามสืบหารายละเอียดต่อ
    (Is the US’s Vaccine Adverse Event Reporting System broken?BMJ Investigation BMJ 2023; 383 doi: https://doi.org/10.1136/bmj.p2582 (Published 10 November 2023) Cite this as: BMJ 2023;383:p2582)
    ระบบในการรายงานในประเทศต่างๆไม่เฉพาะแต่ในประเทศอเมริกา แม้แต่ในยุโรปและในอังกฤษเองก็มีปัญหา ซึ่งแตกต่างกับระบบในประเทศเกาหลี ดังที่มีรายงานอุบัติการของหัวใจอักเสบหลังได้รับวัคซีน
    เอ็มอาร์เอ็นเอ โดยเป็นการเปิดรายงานแบบอิสระและแทบจะเป็นเรียวไทม์ โดยกฎเกณฑ์ของเงื่อนไขหัวใจอักเสบนั้นตัดสาเหตุอื่น ที่ทำให้หัวใจอักเสบได้ทั้งหมดจนเหลือแต่วัคซีนและตัวเลขที่ได้นั้นยังต่ำกว่าความเป็นจริง ด้วยซ้ำ และถึงแม้ว่าอุบัติการของหัวใจอักเสบอย่างเดียวจะอยู่ที่ประมาณหนึ่งใน 100,000 แต่ความรุนแรงนั้นมากจนกระทั่งถึงต้องเข้าไอซียูหัวใจวายได้รับการรักษาอย่างเข้มข้นจนกระทั่งมีการเปลี่ยนหัวใจ (บทความสุขภาพพรรษาไทยรัฐหัวใจอักเสบจากวัคซีน)

    ในประเทศไทยเองนั้นดำเนินตามประเทศต่างๆที่ให้มีการฉีดวัคซีนครอบคลุมได้มากที่สุด ดังนั้นจะพบได้ว่ามีรายงานที่ได้รับการปฏิเสธว่าไม่เกี่ยวข้องกันหรือให้มีการพิสูจน์ก่อนว่าวัคซีนเป็นสาเหตุ ซึ่งอาจจะแทบเป็นไปไม่ได้ในผู้ที่ได้รับผลกระทบและแพทย์ที่ ดูคนไข้เพราะต้องมีการสืบสวนหาสาเหตุด้วยการตรวจทางห้องปฏิบัติการหลายชนิดด้วยกัน

    ยกตัวอย่างเช่นเด็กผู้ชายอายุ 14 ขวบได้รับวัคซีน
    เอ็มอาร์เอ็นเอสามเข็ม โดยเข็มสุดท้ายเก้าเดือนก่อนที่จะมีอาการของหัวใจอักเสบหัวใจวาย รุนแรง และกล้ามเนื้อแขนขาอักเสบอัมพาตยกแขนขาไม่ได้ เมื่อดูเงื่อนไขของเวลาเผินๆ อาจจะตัดประเด็นของวัคซีนได้เลย แต่การสืบหาสาเหตุอย่างอื่นทั้งตัวไวรัสโควิดและไวรัสอีกหลายชนิดทั้งหมด รวมทั้งภาวะภูมิแปรปรวนที่ทำให้เกิดการอักเสบ อีกทั้งสามารถตรวจพบเศษของวัคซีนในกล้ามเนื้อหัวใจและมีการอักเสบอย่างรุนแรงในกล้ามเนื้อหัวใจ ทั้งนี้ได้รับการรักษาด้วยการเปลี่ยนถ่ายน้ำเหลือง และการให้สารสกัดน้ำเหลือง ตลอดจนยากดภูมิคุ้มกัน แม้ว่าหัวใจอักเสบหัวใจวายจะดีขึ้นแต่แขนขายังขยับไม่ได้ ทั้งหมดนี้ต้องใช้การตรวจในห้องปฏิบัติการการรักษาในระดับเป็น 100,000 เป็นล้านบาทต่อหนึ่งคน

    เหล่านี้เป็นตัวอย่างหนึ่งที่แสดงถึงความยากลำบากในการพิสูจน์ความเกี่ยวโยงกับวัคซีน
    แต่ทั้งนี้เริ่มมีการวิเคราะห์สาเหตุการตายที่สูงเกินกว่าที่ จะอธิบายได้เมื่อเทียบ ในช่วงเวลาก่อนโควิด ในระหว่างการระบาดของโควิดและหลังจากระบาดเริ่มสงบไปแล้ว และในช่วงที่เริ่มมีการใช้วัคซีน ที่เรียกว่าอัตรา excess deaths
    และนอกจากนั้นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นที่ทอดยาวเป็นเวลานานเกินกว่าสามเดือนหลังจากติดเชื้อโควิดที่เรียกว่าลองโควิด (long covid) โดยมีทั้งอาการทางระบบหัวใจและปอด ระบบสมองประสาทและกล้ามเนื้อ ภาวะที่มีการอักเสบของผิวหนัง เส้นเอ็นพังผืด กล้ามเนื้อ ข้อ ตลอดจนการปะทุขึ้นของโรคที่ไม่เคยเป็นมาก่อนหรือโรคที่สงบไปแล้ว รวมทั่งมะเร็งและการเกิดเริม งูสวัดซึ่งไวรัสเหล่านี้เป็นไวรัสที่ซ่อนอยู่ในร่างกายจากการติดเชื้อเนิ่นนานมาแล้ว และถูกกดไม่ให้แสดงตัวออกมาจากการควบคุมของระบบภูมิคุ้มกันที่แข็งแรงของร่างกาย และยังรวมถึง การนอนหลับที่ผิดปกติหลับยากหลับกระท่อนกระแท่น จนถึงฮอร์โมนแปรปรวนทั้งผู้ชายและผู้หญิง
    การติดตามผู้ที่ได้รับผล
    กระทบในลักษณะนี้โดยอาการขณะที่เป็นโควิดไม่รุนแรงแต่อาการหลังจากนั้นกลับรุนแรงและยืดยาว และสืบค้นผู้ได้รับผลกระทบจากวัคซีนชนิดต่างๆ ทั้งหมดแล้วเกือบ 100 รายด้วยกัน โดยติดตามหลายวาระเป็นเวลานานกว่าหนึ่งปี

    สิ่งที่น่าตกใจก็คือแม้ว่าอาการตอนแรกหลังจากติดเชื้อโควิดหรือหลังจากได้รับวัคซีนมีผลไม่มากนักแต่ระยะต่อมามีผลกระทบแม้ว่าอาการจะเริ่มสงบไปแล้วก็ตาม โดยผลกระทบ สามารถพิสูจน์ได้ด้วยการวิเคราะห์การอักเสบในเลือด13 ชนิด และผลกระทบต่อสมองโดยมีการจุดปะทุ ของการอักเสบในสมองจากเซลล์ Astroglia microglia ที่เรียกว่า GFAP และมีระดับของ โปรตีน พิษอัลไซเมอร์ในสมองรวมทั้งมีการทำลายเนื้อสมอง ด้วย (จากการตรวจค่า NFL)

    ลักษณะนี้ทำให้ต้องตระหนักว่าภาวะสมองเสื่อมได้เกิดขึ้นเงียบๆ โดยไม่แสดงอาการด้วยซ้ำและจะสามารถดำเนินต่อไปได้จากภาวะของโรคเมตาบอลิค ของตนเองทั้งอ้วน เบาหวานความดันสูง การไม่ออกกำลัง อาหารที่มากด้วยเนื้อสัตว์การขาดการบริโภคผักผลไม้กากไย

    สมองเสื่อมในลักษณะนี้เป็นที่ตระหนักและมีการประกาศจากสมาคมสมองเสื่อมของสหรัฐและนานาชาติมาตั้งแต่ช่วงโควิดจนกระทั่งถึงปัจจุบัน

    จากการวิเคราะห์วัคซีนทั้งไฟเซอร์และโมเดนา จากคณะทำงาน ยังพบว่านอกจากเอ็มอาร์เอ็นเอแล้ว ยังมีหลาย พันล้านก๊อปปี้ ของ ดีเอ็นเอและส่วนที่กระตุ้นให้สามารถทำงานได้ดีขึ้นเมื่อเสียบเข้าไปในเซลล์ ทั้ง ori และ SV 40 promoter ทั้งนี้จากกระบวนการผลิตเพื่อให้ได้วัคซีนเพียงพอกับความต้องการโดยการใช้
    พลาสมิด(บทความสุขภาพหรรษาไทยรัฐ)

    ศ นพ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา
    ที่ปรึกษาวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก
    มหาวิทยาลัยรังสิต
    กลุ่มอาการหลังวัคซีนโควิด (ตอนที่ 1) ประโยชน์ของวัคซีนก็คือป้องกันโรค รวมทั้งลดอาการหนัก การตายและในขณะเดียวกันจำเป็นต้องทราบผลข้างเคียงผลแทรกซ้อนในระยะเวลาต่างๆ ตั้งแต่ได้รับวัคซีนนาทีแรกจนกระทั่งถึงระยะกลางเป็นสัปดาห์และระยะยาวเป็นเดือนและสิ่งที่ทอดยาวไปเป็นปี วัคซีนโควิดเช่นกันในช่วงที่มีการระบาดรุนแรงจำเป็นต้องใช้ในสถานการณ์ฉุกเฉิน และเป้าหมายของทุกประเทศรวมทั้งประเทศไทยด้วยก็คือ ให้ทุกคนได้รับวัคซีนทั้งนี้เพื่อทำให้ระบบสาธารณสุขไม่พังพาบ จนรับผู้ป่วยโควิดไม่ไหว แต่ในขณะเดียวกันก็ต้องมีระบบในการรองรับเพื่อประเมิน ผลข้างเคียงเพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดในคนที่ได้รับวัคซีนโดยที่เป็นคนที่ยังสุขภาพดีแข็งแรงจนกระทั่งมีโรคประจำตัวอื่นๆ รายงานในวารสารทางการแพทย์ของอังกฤษ British Medical Journal ในวันที่ 10 พฤศจิกายน 2023 ตั้งคำถามถึงระบบในสหรัฐที่รับรายงานผลแทรกซ้อนของวัคซีนที่เรียกว่า vaccine adverse event reporting system (VAERS) ทั้งนี้ยกตัวอย่างหมอสหรัฐที่ได้รับวัคซีนและเกิดผลกระทบอย่างรุนแรง พยายามที่จะรายงานเข้าระบบ แต่ไม่ประสบผลสำเร็จเท่าใดนักรวมทั้งเป็นความซับซ้อนที่จะได้รับการติดตามสืบหารายละเอียดต่อ (Is the US’s Vaccine Adverse Event Reporting System broken?BMJ Investigation BMJ 2023; 383 doi: https://doi.org/10.1136/bmj.p2582 (Published 10 November 2023) Cite this as: BMJ 2023;383:p2582) ระบบในการรายงานในประเทศต่างๆไม่เฉพาะแต่ในประเทศอเมริกา แม้แต่ในยุโรปและในอังกฤษเองก็มีปัญหา ซึ่งแตกต่างกับระบบในประเทศเกาหลี ดังที่มีรายงานอุบัติการของหัวใจอักเสบหลังได้รับวัคซีน เอ็มอาร์เอ็นเอ โดยเป็นการเปิดรายงานแบบอิสระและแทบจะเป็นเรียวไทม์ โดยกฎเกณฑ์ของเงื่อนไขหัวใจอักเสบนั้นตัดสาเหตุอื่น ที่ทำให้หัวใจอักเสบได้ทั้งหมดจนเหลือแต่วัคซีนและตัวเลขที่ได้นั้นยังต่ำกว่าความเป็นจริง ด้วยซ้ำ และถึงแม้ว่าอุบัติการของหัวใจอักเสบอย่างเดียวจะอยู่ที่ประมาณหนึ่งใน 100,000 แต่ความรุนแรงนั้นมากจนกระทั่งถึงต้องเข้าไอซียูหัวใจวายได้รับการรักษาอย่างเข้มข้นจนกระทั่งมีการเปลี่ยนหัวใจ (บทความสุขภาพพรรษาไทยรัฐหัวใจอักเสบจากวัคซีน) ในประเทศไทยเองนั้นดำเนินตามประเทศต่างๆที่ให้มีการฉีดวัคซีนครอบคลุมได้มากที่สุด ดังนั้นจะพบได้ว่ามีรายงานที่ได้รับการปฏิเสธว่าไม่เกี่ยวข้องกันหรือให้มีการพิสูจน์ก่อนว่าวัคซีนเป็นสาเหตุ ซึ่งอาจจะแทบเป็นไปไม่ได้ในผู้ที่ได้รับผลกระทบและแพทย์ที่ ดูคนไข้เพราะต้องมีการสืบสวนหาสาเหตุด้วยการตรวจทางห้องปฏิบัติการหลายชนิดด้วยกัน ยกตัวอย่างเช่นเด็กผู้ชายอายุ 14 ขวบได้รับวัคซีน เอ็มอาร์เอ็นเอสามเข็ม โดยเข็มสุดท้ายเก้าเดือนก่อนที่จะมีอาการของหัวใจอักเสบหัวใจวาย รุนแรง และกล้ามเนื้อแขนขาอักเสบอัมพาตยกแขนขาไม่ได้ เมื่อดูเงื่อนไขของเวลาเผินๆ อาจจะตัดประเด็นของวัคซีนได้เลย แต่การสืบหาสาเหตุอย่างอื่นทั้งตัวไวรัสโควิดและไวรัสอีกหลายชนิดทั้งหมด รวมทั้งภาวะภูมิแปรปรวนที่ทำให้เกิดการอักเสบ อีกทั้งสามารถตรวจพบเศษของวัคซีนในกล้ามเนื้อหัวใจและมีการอักเสบอย่างรุนแรงในกล้ามเนื้อหัวใจ ทั้งนี้ได้รับการรักษาด้วยการเปลี่ยนถ่ายน้ำเหลือง และการให้สารสกัดน้ำเหลือง ตลอดจนยากดภูมิคุ้มกัน แม้ว่าหัวใจอักเสบหัวใจวายจะดีขึ้นแต่แขนขายังขยับไม่ได้ ทั้งหมดนี้ต้องใช้การตรวจในห้องปฏิบัติการการรักษาในระดับเป็น 100,000 เป็นล้านบาทต่อหนึ่งคน เหล่านี้เป็นตัวอย่างหนึ่งที่แสดงถึงความยากลำบากในการพิสูจน์ความเกี่ยวโยงกับวัคซีน แต่ทั้งนี้เริ่มมีการวิเคราะห์สาเหตุการตายที่สูงเกินกว่าที่ จะอธิบายได้เมื่อเทียบ ในช่วงเวลาก่อนโควิด ในระหว่างการระบาดของโควิดและหลังจากระบาดเริ่มสงบไปแล้ว และในช่วงที่เริ่มมีการใช้วัคซีน ที่เรียกว่าอัตรา excess deaths และนอกจากนั้นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นที่ทอดยาวเป็นเวลานานเกินกว่าสามเดือนหลังจากติดเชื้อโควิดที่เรียกว่าลองโควิด (long covid) โดยมีทั้งอาการทางระบบหัวใจและปอด ระบบสมองประสาทและกล้ามเนื้อ ภาวะที่มีการอักเสบของผิวหนัง เส้นเอ็นพังผืด กล้ามเนื้อ ข้อ ตลอดจนการปะทุขึ้นของโรคที่ไม่เคยเป็นมาก่อนหรือโรคที่สงบไปแล้ว รวมทั่งมะเร็งและการเกิดเริม งูสวัดซึ่งไวรัสเหล่านี้เป็นไวรัสที่ซ่อนอยู่ในร่างกายจากการติดเชื้อเนิ่นนานมาแล้ว และถูกกดไม่ให้แสดงตัวออกมาจากการควบคุมของระบบภูมิคุ้มกันที่แข็งแรงของร่างกาย และยังรวมถึง การนอนหลับที่ผิดปกติหลับยากหลับกระท่อนกระแท่น จนถึงฮอร์โมนแปรปรวนทั้งผู้ชายและผู้หญิง การติดตามผู้ที่ได้รับผล กระทบในลักษณะนี้โดยอาการขณะที่เป็นโควิดไม่รุนแรงแต่อาการหลังจากนั้นกลับรุนแรงและยืดยาว และสืบค้นผู้ได้รับผลกระทบจากวัคซีนชนิดต่างๆ ทั้งหมดแล้วเกือบ 100 รายด้วยกัน โดยติดตามหลายวาระเป็นเวลานานกว่าหนึ่งปี สิ่งที่น่าตกใจก็คือแม้ว่าอาการตอนแรกหลังจากติดเชื้อโควิดหรือหลังจากได้รับวัคซีนมีผลไม่มากนักแต่ระยะต่อมามีผลกระทบแม้ว่าอาการจะเริ่มสงบไปแล้วก็ตาม โดยผลกระทบ สามารถพิสูจน์ได้ด้วยการวิเคราะห์การอักเสบในเลือด13 ชนิด และผลกระทบต่อสมองโดยมีการจุดปะทุ ของการอักเสบในสมองจากเซลล์ Astroglia microglia ที่เรียกว่า GFAP และมีระดับของ โปรตีน พิษอัลไซเมอร์ในสมองรวมทั้งมีการทำลายเนื้อสมอง ด้วย (จากการตรวจค่า NFL) ลักษณะนี้ทำให้ต้องตระหนักว่าภาวะสมองเสื่อมได้เกิดขึ้นเงียบๆ โดยไม่แสดงอาการด้วยซ้ำและจะสามารถดำเนินต่อไปได้จากภาวะของโรคเมตาบอลิค ของตนเองทั้งอ้วน เบาหวานความดันสูง การไม่ออกกำลัง อาหารที่มากด้วยเนื้อสัตว์การขาดการบริโภคผักผลไม้กากไย สมองเสื่อมในลักษณะนี้เป็นที่ตระหนักและมีการประกาศจากสมาคมสมองเสื่อมของสหรัฐและนานาชาติมาตั้งแต่ช่วงโควิดจนกระทั่งถึงปัจจุบัน จากการวิเคราะห์วัคซีนทั้งไฟเซอร์และโมเดนา จากคณะทำงาน ยังพบว่านอกจากเอ็มอาร์เอ็นเอแล้ว ยังมีหลาย พันล้านก๊อปปี้ ของ ดีเอ็นเอและส่วนที่กระตุ้นให้สามารถทำงานได้ดีขึ้นเมื่อเสียบเข้าไปในเซลล์ ทั้ง ori และ SV 40 promoter ทั้งนี้จากกระบวนการผลิตเพื่อให้ได้วัคซีนเพียงพอกับความต้องการโดยการใช้ พลาสมิด(บทความสุขภาพหรรษาไทยรัฐ) ศ นพ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ที่ปรึกษาวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต
    Like
    10
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 166 มุมมอง 0 รีวิว
  • คนที่ชอบ swab บ่อยๆ อดทนอ่านสักนิดนะ
    อันนี้เค้าแปลไทยมาให้แล้ว บรรทัดต่อบรรทัด
    ว่ามันอันตรายยังไง แบบไหน เพราะอะไร
    ⏩เหตุใดหน่วยงานภาครัฐจึงยังดึงดันที่จะบังคับใช้ TR-PCT test เป็น Gold Standard ในการวินิจฉัยผู้ติดเชื้อโkวิdให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ และบ่อยครั้งที่สุดเท่าที่จะบ่อยได้ในบุคคลเดิม
    ⏩ทั้งที่เทคนิคนี้ได้รับการพิสูจน์อย่างกว้างขวางโดยนักวิทยาศาตร์และบุคลากรทางการแพทย์กว่าห้าหมื่นคนทั่วโลกแล้วว่าเป็นวิธีที่เชื่อถือไม่ได้
    ⏩ให้ผลบวกลวง หรือ False Positive มหาศาลกว่า 90% และแม้แต่ Dr. Kary Mullis ผู้คิดค้นเทคนิคนี้เอง
    ยังยืนกรานออกสื่อหลายครั้งว่ามันไม่เที่ยงตรงและนำไปสู่การแปลผลผิดพลาดได้
    ❓เหตุใดจึงเลือกวิธีล่วงล้ำเข้าไปในอวัยวะของพวกเราอย่างมากทั้งที่สามารถทำได้ง่ายจากการตรวจวิเคราะห์น้ำลาย
    📌การสอดไม้ Swab เข้าไปกว้านลึกถึงเพดานจมูกสามารถสร้างความเสียหายต่อเนื้อเยื่อพังผืดที่ห่อหุ้ม Olfactory Nerve
    📌ซึ่งส่งผลเสียต่อสุขภาพและอายุขัยของมนุษย์ เนื่องจาก olfactory nerve เป็นปราการด่านหนึ่งในสองของกะโหลกศรีษะ
    ⏩ซึ่งเชื่อมระหว่างโพรงจมูกกับสมอง ที่ไวรัสและแบคทีเรียสามารถเดินทางข้าม blood-brain barrier เข้าสู่สมองได้
    📌นอกจากนี้ olfactory nerve ยังเป็นเซลล์ชนิดเดียวในกะโหลกศรีษะที่มี stem cells เรียกว่า olfactory ensheathing cells ที่ล้อมรอบเซลล์รับกลิ่น olfactory sensory axons ส่วนที่ยื่นออกมาจากเซลล์ประสาท neuron
    ⏩ทำหน้าที่ส่งผ่านกระแสประสาทจากเซลล์ร่างกาย พวกมันทำหน้าที่ปกป้อง olfactory nerve และช่วยการสร้างเซลล์ใหม่เมื่อเกิดความบาดเจ็บเสียหาย (สเต็มเซลล์ชนิดนี้มีความพิเศษมากจนถูกนำไปใช้ในการซ่อมแซมไขสันหลังบาดเจ็บและรักษาโรคทางสมองหลายชนิดในการแพทย์ปัจจุบันอย่างประสบความสำเร็จ)
    ⏩นอกจากนี้ olfactory ensheathing cells ยังช่วยเป็นภูมิคุ้มกันโดยกำเนิด
    ✅เนื่องจากมันประพฤติตัวเป็น phagocytic กล่าวคือ จับกินและย่อยสลายเชื้อโรคได้
    📌ดังนั้น มันจึงเป็นปราการสำคัญที่ช่วยป้องกันสมองโดยระบบภูมิคุ้มกันธรรมชาติของร่างกาย โดยเซลล์ประสาท Olfactory และ neuron bulb มีอายุขัย 4-8 เดือน
    ก่อนจะถูกแทนที่อย่างต่อเนื่องด้วย neuron stem cell อย่าง olfactory ensheathing cells
    ⏩มันช่วยส่งเสริมการอยู่รอดของเซลล์ประสาทและช่วยในการขยายตัวของ axon
    📌จากงานวิจัยล่าสุด แสดงให้เห็นว่า หาก olfactory ensheathing cells สูญเสียความสามารถในการสร้างใหม่หรือซ่อมแซมตัวเองไป
    ‼️จะทำให้โอกาสการเสียชีวิตภายใน 5 ปี ในผู้ใหญ่วัย 57 – 85 ปี เพิ่มสูงขึ้นมากกว่า 4 เท่าตัว
    📌การทำงานของ olfactory จึงเสมือนเป็นเครื่องทำนายความสามารถในการดำรงชีวิตภายใน 5 ปี เป็นสัญญาณเตือนเมื่อการสร้างใหม่ของเซลล์ช้าลง และใช้เป็นเครื่องบ่งชี้เมื่อมีการสะสมสารพิษที่สัมผัสจากสิ่งแวดล้อม
    ‼️ Olfactory nerve ที่เสียหายเสมือนป้อมปราการสู่สมองถูกทำลาย ทำให้ง่ายต่อการถูกโจมตีด้วยสิ่งแปลกปลอมและส่งผลอันตรายถึงแก่ชีวิต
    📌การ swab PCR เป็นระยะ จนทำลายความสามารถในการสร้างใหม่ต่อ Olfactory nerve ทำให้เกิดการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรในผู้ใหญ่อายุ 57 – 85 ปี ซึ่งเป็นประชากรกลุ่มผู้สูงอายุ
    ‼️การทดสอบ PCR test มีบทบาทสำคัญในการสร้างความเสียหายครั้งแล้วครั้งเล่าต่อ Olfactory nerve
    📌ทำให้เกิดการติดเชื้อไวรัสและแบคทีเรียเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
    ⏩ซึ่งยอดผู้ติดเชื้อนี้ได้ถูกนำไปสนับสนุนให้รัฐบาลยกระดับมาตรการต่อโรคระบาดยิ่งขึ้น
    📌เมื่อมีผู้ถูกทดสอบโดย PCR เพิ่มขึ้น เซลล์ป้องกันจึงถูกทำลายมากขึ้นและมีผู้ติดเชื้อหลากหลายชนิดเพิ่มขึ้นในครั้งต่อมา
    😔โดยจะถูกตีความต่อไปว่า เกิดการติดเชื้อจากไวรัสโkวิdด้วยการเพิ่มจำนวน Cycle ใน thermal cycler จนกว่าเปอร์เซ็นต์จะเพิ่มจนให้ผลเป็นบวก
    ⏩เพื่อสรุปว่าเป็นโkวิdตามต้องการ
    📌อาจมีการโต้แย้งว่า การทดสอบ swab ช่องจมูกที่ถูกต้อง ควรกวาดเป็นมุมสูงไม่เกิน 30 องศา จากแนวระนาบเพื่อหลีกเลี่ยงการสัมผัสเส้นประสาทรับกลิ่น
    📌แต่ในตำแหน่งดังกล่าวนี้ ไม้ Swab จะไปไปสัมผัสเส้นประสาท Trigeminal แทน ซึ่งเป็น blood-brain barrier เข้าสู่สมองปราการที่สอง
    ‼️ส่งผลต่อการรับรสและการมองเห็น
    📌นอกจากนี้ เพื่อเป็นการทำลายประสาทรับกลิ่นและรส ไม้ swab ไม่จำเป็นต้องไปสัมผัสโดนจนก่ออันตรายต่อเซลล์ประสาท Trigeminal หรือ Olfactory โดยตรงเลย
    ⁉️แค่ลำพังการสร้างความระคายเคืองต่อเยื่อเมือกในโพรงจมูก ก็สามารถส่งผลกระทบต่ออวัยวะทั้งระบบ Limbic
    📌เนื่องจากมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันมาก
    ‼️สิ่งนี้สามารถอธิบายได้ว่าเหตุใดผู้ป่วยโควิดจึงสูญเสียการตอบสนองทางพฤติกรรมที่ควบคุมโดยระบบ Limbic เช่น การนอนหลับ ความเหนื่อยล้า การรับรู้ การปรับตัว การเคลื่อนไหว ความจำ เป็นต้น
    📌นอกจากปลายของไม้ swab มีเขี้ยวขรุขระ ประกอบกับวิธีการสอดที่ลึกและการหมุนที่กว้างอย่างรุนแรง
    ⏩ถูกออกแบบมาเพื่อขีดข่วนสร้างความเสียหายให้เยื่อยุผิวมากที่สุดแล้ว
    ‼️ยังพบว่ามีการใช้สารเคมี ethylene oxide ที่รู้จักกันดีว่าเป็นสารก่อมะเร็ง
    📌ถูกนำมาใช้ในการฆ่าเชื้อใน PCR swab test ก่ออันตรายกับเยื่อเมือกโพรงจมูกซึ่งเป็นเนื้อเยื่อที่มีความไวต่อการแพ้
    📌ร่วมกับมาตรการบังคับใช้ให้สวมหน้ากากอนามัยทั้งในที่ร่มและกลางแจ้ง
    📌จึงเป็นการเพิ่มจำนวนแบคทีเรียและไวรัสให้เข้าสู่สมองผ่าน Olfactory nerve และ Trigeminal neve ที่เสียหายให้มากยิ่งขึ้น
    📌จากผลการศึกษาหลายร้อยชิ้น แสดงให้เห็นว่าภายใต้หน้ากากอนามัยเป็นแหล่งปนเปื้อนแบคทีเรียและเชื้อราจำนวนมาก เมื่อสวมใส่เป็นเวลานาน
    📌และหลายงานวิจัยยืนยันว่าการใส่หน้ากากอนามัยเป็นประจำ นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของระบบทางเดินหายใจสั้นลง และความเหนื่อยล้าอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05)
    ⏩ในหน้ากาก N95 ออกซิเจนลดลง 72%, คาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้น 82%, อาการปวดหัว 60%, ความบกพร่องของการหายในอุณหภูมิและความชื้นที่เพิ่มขึ้น 100%.
    📌นอกจากนี้ หลายการศึกษาพบว่า
    การใส่หน้ากากอนามัย ไม่สามารถปิดกั้นการแพร่กระจายของละอองไวรัสได้อย่างสมบูรณ์แม้ขณะปิดสนิท จึงไม่มีประสิทธิภาพในการป้องกันการติดเชื้อ
    📌ในปี 2020 เด็กและวัยรุ่นส่วนใหญ่รอดพ้นการการทดสอบ PCR มีสุขภาพแข็งแรง และไม่มีอาการแสดงการติดเชื้อโควิดเลย
    📌กระทั่งปี 2021 เมื่อมีการทดสอบเชิงรุก พวกเขาก็เริ่มแสดงอาการ ที่เกิดจากโkวิdทันที
    📌ซึ่งแท้จริงแล้วเป็นการสร้างความเสียหายต่อสมองโดยจงใจ
    ‼️ความบกพร่องในการทำงานของศูนย์กลางการหายใจในสมอง Medula oblongata ก่อให้เกิดภาวะหายใจลำบาก Dyspnoea โดยที่ไม่มีการติดเชื้อหรือรอยโรคใดที่ปอด แต่เป็นความเสียหายทางสมองและระบบประสาท
    เราเรียบเรียงใหม่จากส่วนหนึ่งในบทความ PCR Tests and the Depopulation Program by Kevin Galalae, 10 October 2021
    Cr : Ramone Jira
    คนที่ชอบ swab บ่อยๆ อดทนอ่านสักนิดนะ อันนี้เค้าแปลไทยมาให้แล้ว บรรทัดต่อบรรทัด ว่ามันอันตรายยังไง แบบไหน เพราะอะไร ⏩เหตุใดหน่วยงานภาครัฐจึงยังดึงดันที่จะบังคับใช้ TR-PCT test เป็น Gold Standard ในการวินิจฉัยผู้ติดเชื้อโkวิdให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ และบ่อยครั้งที่สุดเท่าที่จะบ่อยได้ในบุคคลเดิม ⏩ทั้งที่เทคนิคนี้ได้รับการพิสูจน์อย่างกว้างขวางโดยนักวิทยาศาตร์และบุคลากรทางการแพทย์กว่าห้าหมื่นคนทั่วโลกแล้วว่าเป็นวิธีที่เชื่อถือไม่ได้ ⏩ให้ผลบวกลวง หรือ False Positive มหาศาลกว่า 90% และแม้แต่ Dr. Kary Mullis ผู้คิดค้นเทคนิคนี้เอง ยังยืนกรานออกสื่อหลายครั้งว่ามันไม่เที่ยงตรงและนำไปสู่การแปลผลผิดพลาดได้ ❓เหตุใดจึงเลือกวิธีล่วงล้ำเข้าไปในอวัยวะของพวกเราอย่างมากทั้งที่สามารถทำได้ง่ายจากการตรวจวิเคราะห์น้ำลาย 📌การสอดไม้ Swab เข้าไปกว้านลึกถึงเพดานจมูกสามารถสร้างความเสียหายต่อเนื้อเยื่อพังผืดที่ห่อหุ้ม Olfactory Nerve 📌ซึ่งส่งผลเสียต่อสุขภาพและอายุขัยของมนุษย์ เนื่องจาก olfactory nerve เป็นปราการด่านหนึ่งในสองของกะโหลกศรีษะ ⏩ซึ่งเชื่อมระหว่างโพรงจมูกกับสมอง ที่ไวรัสและแบคทีเรียสามารถเดินทางข้าม blood-brain barrier เข้าสู่สมองได้ 📌นอกจากนี้ olfactory nerve ยังเป็นเซลล์ชนิดเดียวในกะโหลกศรีษะที่มี stem cells เรียกว่า olfactory ensheathing cells ที่ล้อมรอบเซลล์รับกลิ่น olfactory sensory axons ส่วนที่ยื่นออกมาจากเซลล์ประสาท neuron ⏩ทำหน้าที่ส่งผ่านกระแสประสาทจากเซลล์ร่างกาย พวกมันทำหน้าที่ปกป้อง olfactory nerve และช่วยการสร้างเซลล์ใหม่เมื่อเกิดความบาดเจ็บเสียหาย (สเต็มเซลล์ชนิดนี้มีความพิเศษมากจนถูกนำไปใช้ในการซ่อมแซมไขสันหลังบาดเจ็บและรักษาโรคทางสมองหลายชนิดในการแพทย์ปัจจุบันอย่างประสบความสำเร็จ) ⏩นอกจากนี้ olfactory ensheathing cells ยังช่วยเป็นภูมิคุ้มกันโดยกำเนิด ✅เนื่องจากมันประพฤติตัวเป็น phagocytic กล่าวคือ จับกินและย่อยสลายเชื้อโรคได้ 📌ดังนั้น มันจึงเป็นปราการสำคัญที่ช่วยป้องกันสมองโดยระบบภูมิคุ้มกันธรรมชาติของร่างกาย โดยเซลล์ประสาท Olfactory และ neuron bulb มีอายุขัย 4-8 เดือน ก่อนจะถูกแทนที่อย่างต่อเนื่องด้วย neuron stem cell อย่าง olfactory ensheathing cells ⏩มันช่วยส่งเสริมการอยู่รอดของเซลล์ประสาทและช่วยในการขยายตัวของ axon 📌จากงานวิจัยล่าสุด แสดงให้เห็นว่า หาก olfactory ensheathing cells สูญเสียความสามารถในการสร้างใหม่หรือซ่อมแซมตัวเองไป ‼️จะทำให้โอกาสการเสียชีวิตภายใน 5 ปี ในผู้ใหญ่วัย 57 – 85 ปี เพิ่มสูงขึ้นมากกว่า 4 เท่าตัว 📌การทำงานของ olfactory จึงเสมือนเป็นเครื่องทำนายความสามารถในการดำรงชีวิตภายใน 5 ปี เป็นสัญญาณเตือนเมื่อการสร้างใหม่ของเซลล์ช้าลง และใช้เป็นเครื่องบ่งชี้เมื่อมีการสะสมสารพิษที่สัมผัสจากสิ่งแวดล้อม ‼️ Olfactory nerve ที่เสียหายเสมือนป้อมปราการสู่สมองถูกทำลาย ทำให้ง่ายต่อการถูกโจมตีด้วยสิ่งแปลกปลอมและส่งผลอันตรายถึงแก่ชีวิต 📌การ swab PCR เป็นระยะ จนทำลายความสามารถในการสร้างใหม่ต่อ Olfactory nerve ทำให้เกิดการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรในผู้ใหญ่อายุ 57 – 85 ปี ซึ่งเป็นประชากรกลุ่มผู้สูงอายุ ‼️การทดสอบ PCR test มีบทบาทสำคัญในการสร้างความเสียหายครั้งแล้วครั้งเล่าต่อ Olfactory nerve 📌ทำให้เกิดการติดเชื้อไวรัสและแบคทีเรียเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ⏩ซึ่งยอดผู้ติดเชื้อนี้ได้ถูกนำไปสนับสนุนให้รัฐบาลยกระดับมาตรการต่อโรคระบาดยิ่งขึ้น 📌เมื่อมีผู้ถูกทดสอบโดย PCR เพิ่มขึ้น เซลล์ป้องกันจึงถูกทำลายมากขึ้นและมีผู้ติดเชื้อหลากหลายชนิดเพิ่มขึ้นในครั้งต่อมา 😔โดยจะถูกตีความต่อไปว่า เกิดการติดเชื้อจากไวรัสโkวิdด้วยการเพิ่มจำนวน Cycle ใน thermal cycler จนกว่าเปอร์เซ็นต์จะเพิ่มจนให้ผลเป็นบวก ⏩เพื่อสรุปว่าเป็นโkวิdตามต้องการ 📌อาจมีการโต้แย้งว่า การทดสอบ swab ช่องจมูกที่ถูกต้อง ควรกวาดเป็นมุมสูงไม่เกิน 30 องศา จากแนวระนาบเพื่อหลีกเลี่ยงการสัมผัสเส้นประสาทรับกลิ่น 📌แต่ในตำแหน่งดังกล่าวนี้ ไม้ Swab จะไปไปสัมผัสเส้นประสาท Trigeminal แทน ซึ่งเป็น blood-brain barrier เข้าสู่สมองปราการที่สอง ‼️ส่งผลต่อการรับรสและการมองเห็น 📌นอกจากนี้ เพื่อเป็นการทำลายประสาทรับกลิ่นและรส ไม้ swab ไม่จำเป็นต้องไปสัมผัสโดนจนก่ออันตรายต่อเซลล์ประสาท Trigeminal หรือ Olfactory โดยตรงเลย ⁉️แค่ลำพังการสร้างความระคายเคืองต่อเยื่อเมือกในโพรงจมูก ก็สามารถส่งผลกระทบต่ออวัยวะทั้งระบบ Limbic 📌เนื่องจากมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันมาก ‼️สิ่งนี้สามารถอธิบายได้ว่าเหตุใดผู้ป่วยโควิดจึงสูญเสียการตอบสนองทางพฤติกรรมที่ควบคุมโดยระบบ Limbic เช่น การนอนหลับ ความเหนื่อยล้า การรับรู้ การปรับตัว การเคลื่อนไหว ความจำ เป็นต้น 📌นอกจากปลายของไม้ swab มีเขี้ยวขรุขระ ประกอบกับวิธีการสอดที่ลึกและการหมุนที่กว้างอย่างรุนแรง ⏩ถูกออกแบบมาเพื่อขีดข่วนสร้างความเสียหายให้เยื่อยุผิวมากที่สุดแล้ว ‼️ยังพบว่ามีการใช้สารเคมี ethylene oxide ที่รู้จักกันดีว่าเป็นสารก่อมะเร็ง 📌ถูกนำมาใช้ในการฆ่าเชื้อใน PCR swab test ก่ออันตรายกับเยื่อเมือกโพรงจมูกซึ่งเป็นเนื้อเยื่อที่มีความไวต่อการแพ้ 📌ร่วมกับมาตรการบังคับใช้ให้สวมหน้ากากอนามัยทั้งในที่ร่มและกลางแจ้ง 📌จึงเป็นการเพิ่มจำนวนแบคทีเรียและไวรัสให้เข้าสู่สมองผ่าน Olfactory nerve และ Trigeminal neve ที่เสียหายให้มากยิ่งขึ้น 📌จากผลการศึกษาหลายร้อยชิ้น แสดงให้เห็นว่าภายใต้หน้ากากอนามัยเป็นแหล่งปนเปื้อนแบคทีเรียและเชื้อราจำนวนมาก เมื่อสวมใส่เป็นเวลานาน 📌และหลายงานวิจัยยืนยันว่าการใส่หน้ากากอนามัยเป็นประจำ นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของระบบทางเดินหายใจสั้นลง และความเหนื่อยล้าอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) ⏩ในหน้ากาก N95 ออกซิเจนลดลง 72%, คาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้น 82%, อาการปวดหัว 60%, ความบกพร่องของการหายในอุณหภูมิและความชื้นที่เพิ่มขึ้น 100%. 📌นอกจากนี้ หลายการศึกษาพบว่า การใส่หน้ากากอนามัย ไม่สามารถปิดกั้นการแพร่กระจายของละอองไวรัสได้อย่างสมบูรณ์แม้ขณะปิดสนิท จึงไม่มีประสิทธิภาพในการป้องกันการติดเชื้อ 📌ในปี 2020 เด็กและวัยรุ่นส่วนใหญ่รอดพ้นการการทดสอบ PCR มีสุขภาพแข็งแรง และไม่มีอาการแสดงการติดเชื้อโควิดเลย 📌กระทั่งปี 2021 เมื่อมีการทดสอบเชิงรุก พวกเขาก็เริ่มแสดงอาการ ที่เกิดจากโkวิdทันที 📌ซึ่งแท้จริงแล้วเป็นการสร้างความเสียหายต่อสมองโดยจงใจ ‼️ความบกพร่องในการทำงานของศูนย์กลางการหายใจในสมอง Medula oblongata ก่อให้เกิดภาวะหายใจลำบาก Dyspnoea โดยที่ไม่มีการติดเชื้อหรือรอยโรคใดที่ปอด แต่เป็นความเสียหายทางสมองและระบบประสาท เราเรียบเรียงใหม่จากส่วนหนึ่งในบทความ PCR Tests and the Depopulation Program by Kevin Galalae, 10 October 2021 Cr : Ramone Jira
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 57 มุมมอง 0 รีวิว
  • โลกร้อนขึ้นเป็นวัฏจักรธรรมชาติ และในภาพรวมกำลังจะเย็นลง
    แต่…
    เราถูกฝังหัวกันมานานว่ามนุษย์เป็นคนทำให้โลกร้อน
    เพื่อนำไปสู่การใช้คาร์บอนเครดิต เพื่อการบีบบังคับนำไปสู่การเป็นทาส
    ไลฟ์สด โลกร้อนลวงโลก โดย อดิเทพ จาวลาห์
    https://www.facebook.com/share/v/JjrAnsFTf9vwcQ4u/
    ชี้แหล่งศึกษาข้อมูล
    https://www.rookon.com/?p=339
    https://www.rookon.com/?p=975
    https://www.rookon.com/?p=1011
    https://www.rookon.com/?p=1076
    https://www.rookon.com/?p=119เก้า ลิงก์นี้ต้องแก้คำว่าเก้าเป็นตัวเลขก่อน FBแบน
    https://www.rookon.com/?p=1147
    https://vt.tiktok.com/ZSFvhkGKK/
    ตอน 1. https://www.tiktok.com/@adit.../video/7361783535104953601...
    ตอน 2.
    https://www.tiktok.com/@adit.../video/7361783574783200513...
    https://vt.tiktok.com/ZSYeFkn5t/ หรือ
    https://fb.watch/s0HF9m7C09/ (ไลฟ์สดกับอ.ทีน่า อ.เกรซ)
    #คลิป 1 🌎 โลกร้อน (เพราะ CO2) เป็นเรื่องหลอกลวง🔥
    https://t.me/awakened_thailand/424
    ✨หลักฐานทางวิทยาศาสตร์จากการขุดเจาะแท่งน้ำแข็งพบว่า อุณหภูมิโลกสูงขึ้นก่อน ☀️ ต่อมาอีก 800 ปี CO2 ถึงจะสูงขึ้นตามมา...แปลว่า CO2 ไม่ใช่สาเหตุของโลกร้อน 😳 แต่อุณหภูมิที่สูงขึ้นต่างหากที่ทำให้ CO2 เพิ่มขึ้น
    สั้นๆ ง่ายๆ หลักฐานทางวิทยาศาสตร์พิสูจน์ชัดแล้ว! โลกร้อนตามวัฏจักรของโลก มันเป็นธรรมชาติ 😎 มนุษย์ไม่ได้ทำให้โลกร้อน แต่เราทำให้โลกสกปรก...ฉะนั้น CO2 ไม่เกี่ยวอะไรเลย
    แยกให้ออก 🧐 โลกร้อน กับ โลกสกปรก มันคือคนละเรื่องกัน เรื่องง่ายๆ เด็กป.4 ยังรู้เรื่อง
    #คลิป 2 🌎 โลกร้อน (เพราะ CO2) เป็นเรื่องหลอกลวง🔥
    https://t.me/awakened_thailand/425
    โลกร้อนขึ้น และเย็นลง เป็นวัฏจักร เป็นธรรมชาติ ไม่เกี่ยวกับ CO2 แม้แต่น้อย
    คำถาม ❓: รู้ได้ไง? 🤔
    ตอบ: เจาะน้ำแข็งลงไปหลายกิโล แล้วดึงแท่งน้ำแข็งขึ้นมาศึกษา (เหมือนศึกษาวงปีของต้นไม้) 😎
    มหาสมุทรกักเก็บ CO2 ไว้เป็นจำนวนมาก 🥵เมื่อโลกร้อนขึ้นเอง ทะเลคือตัวคาย CO2 ออกมาสู่ชั้นบรรยากาศ
    🌎อุณหภูมิโลกสูงขึ้นก่อน ส่งผลให้ CO2 สูงตามมาทีหลัง
    หมายความว่า CO2 ไม่ใช่ "เหตุ" ที่ทำให้โลกร้อน...แต่ CO2 คือ "ผล" จากโลกร้อน👍✨
    ฉะนั้นสรุป CO2 ไม่ใช่สาเหตุของโลกร้อน ✨
    ถาม ❓: แล้วเขาหลอกเราทำไม? ตั้งนานหลายสิบปี 😈
    ตอบ: เขาใช้ CO2 เป็นข้ออ้างในการบังคับเรา เช่น ออกกฎบังคับเรื่อง CO2 เก็บภาษีฟาร์มวัว เพราะต้องการให้ฟาร์มเจ๊ง 😱 นายทุนจะได้เข้ามาฮุบ, เก็บภาษีทุกอย่าง โดยเอาไปผูกกับ CO2 หลอกลวง เพราะจุดประสงค์ของกลุ่มทุนสามานต่างชาติ คือ การควบคุมอาหารแบบเบ็ดเสร็จ 👎
    #คลิป 3 🔥โลกร้อนเพราะ CO2 เป็นเรื่องหลอกลวง 🌎
    https://t.me/awakened_thailand/426
    💸💵💰Dan Pena มหาเศรษฐีอเมริกัน แฉว่า เรื่องโลกร้อน เป็นเรื่องหลอกลวง นักวิทยาศาสตร์ขุดแท่งน้ำแข็งขึ้นมาให้ดู แล้วบอกว่า หลายหมื่นปีก่อน ทุกประเทศบนโลกมันร้อนกว่าตอนนี้เลย! วิทยาศาสตร์ไม่หลอกลวง! มันคือหลักฐาน! มีแต่คนนี่แหละ ที่หลอกลวง เพื่อผลประโยชน์ของพวกพ้องของตนเอง 😡
    โลกร้อนฝรั่งหลอกเรามานานมากแล้ว หลอกเพื่อให้เราเชื่อ และยอมรับ กฎเกณฑ์ใหม่ๆ ที่เขาจะบังคับ เช่น ขึ้นภาษีคาร์บอนไดออกไซด์ เพื่อให้ธุรกิจเราเจ๊ง เป้าหมายคือ เพื่อฮุบทรัพยากรของคนทั้งโลก 😈
    อย่าหลงทาง!! 🐑🐏
    "โลกร้อน" กับ "โลกสกปรก" มันคนละประเด็น
    🌎✨อยากให้โลกสวยใช่มั้ย? ไปไล่ให้บริษัทขายยาเคมี มันเลิกขายเคมีนู่น! เลิกใช้ซะ พวกไกลโฟเซตน่ะ ☠
    #คลิป 4 🔥โลกร้อนเพราะ CO2 เป็นเรื่องหลอกลวง 🌎
    https://t.me/awakened_thailand/444
    คาร์บอนไดออกไซด์ คือ สิ่งจำเป็นสำหรับพืช เป็นอย่างมาก 🍀
    ต่างประเทศใช้อุปกรณ์เพิ่มคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ สำหรับพืชที่ปลูกในโรงเรือน ทำให้มันแข็งแรงทนทานต่อโรค และแมลง 🍊🍎 ทำให้ผลผลิตเพิ่มมากขึ้นกว่าปกติได้ถึง 30%
    คาร์บอนไดออกไซด์เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับพืช/ต้นไม้
    พืช/ต้นไม้ ก็จำเป็นสำหรับมนุษย์และโลกของเรา
    คาร์บอนไดออกไซด์จึงจำเป็นสำหรับโลกเรา อย่าให้ใครมาหลอกเราว่าคาร์บอนไดออกไซด์ คือ สิ่งไม่ดี หรือ ทำให้โลกร้อน ถ้าคุณเชื่อแบบนั้นคุณกำลังโดนหลอก
    คลิป #5 โลกร้อนเพราะ CO2 เป็นเรื่องหลอกลวง
    https://t.me/awakened_thailand/468
    🌎🔥 ข้อมูลจากนาซ่ายืนยันว่า โลกของเราเขียวขึ้น เพราะมีต้นไม้มากขึ้น 🌳🍀ซึ่งเป็นผลมาจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่สูงขึ้น (ต้นไม้ชอบก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์)
    โลกร้อนขึ้นเองตามธรรมชาติ และเป็นสาเหตุที่ทำให้น้ำทะเลร้อนขึ้น ส่งผลให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ระเหยออกมาจากทะเลมากขึ้น
    คาร์บอนไดออกไซด์ จึงไม่ใช่สาเหตุของโลกร้อนแม้แต่นิดเดียว ✨ ข้อมูลในอดีต เช่น อุณหภูมิ และระดับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สามารถตรวจสอบย้อนหลังได้เป็นแสนๆปี ด้วยการเจาะแท่งน้ำแข็งในบริเวณขั้วโลกขึ้นมาวิเคราะห์ นี่คือวิทยาศาสตร์!
    แต่พวกคุมโลก คุมสื่อ คุมนักการเมือง 😈 ต้องการคุมพฤติกรรมประชากรโลก จึงต้องกุเรื่องแหกตาชาวโลกมาเป็นเวลาหลายสิบปี เตรียมล่วงหน้าไว้ก่อน จนเราๆเชื่อสนิทใจ ว่าคาร์บอนไดออกไซด์คือสิ่งไม่ดี บัดนี้ได้เวลาตื่นจากการหลับใหลมาเป็นเวลานาน อย่าหลงคารมนักการเมือง หรือข่าว ให้ยึดหลักวิทยาศาสตร์ และพิจารณาเอาเอง
    "คาร์บอนไดออกไซด์ คือ ฮีโร่ ที่มาช่วยให้โลกเรามีต้นไม้มากขึ้น" 🌿🌳🌲
    #คลิปไลฟ์สด https://t.me/awakened_thailand/445
    ❗️สาเหตุที่เขาหลอกเราเรื่อง CO2 🌎
    เพราะจะเอามันมาผูกกับระบบเงินดิจิตอล Digital Currency และจะใช้ระบบใหม่นี้ควบคุมพฤติกรรมของเรา เพราะเงินดิจิตอลถูกโปรแกรมได้ เช่น ห้ามใช้นอกรัศมี 4 กิโลเมตร 😱
    การเอาเรื่อง CO2 มาผูกกับเงินดิจิตอลจึงเป็นเรื่องง่ายมาก
    หากเราเชื่อว่าคาร์บอนไดออกไซด์คือสาเหตุที่ทำให้โลกร้อน 🔥และต้องร่วมมือกันลดคาร์บอนไดออกไซด์ลง เขาก็จะใช้ความเชื่อนี้ตั้งกฎเกณฑ์ขึ้นมาใหม่ 👿 เช่น เอาระบบคะแนนคาร์บอนมาใช้กับอาหาร โดยให้เหตุผลว่า ทุกสิ่งทุกอย่างตั้งแต่การทำฟาร์มสัตว์ 🐮🐷 ปลูกผัก 🌾ล้วนแต่ผลิต คาร์บอนไดออกไซด์ จึงต้องกำหนดคะแนนไปเลยว่า อาหารจานไหน ต้องใช้คะแนนคาร์บอนเท่าไหร่ในการซื้อ สมมุติว่าเรามีคะแนนไม่พอ เราก็จะไม่สามารถซื้ออาหารนั้นได้แม้ว่าเราจะมีเงินอยู่ในกระเป๋าก็ตาม
    ระบบที่ใช้คะแนนลักษณะนี้ ได้ถูกใช้งานในจีนมาหลายปีแล้ว เรียกว่า Social Credit System ดูคลิปได้ที่นี่:
    https://t.me/awakened_thailand/148
    ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมจาก คุณ Patrick Moore ใน Rumble.com
    แกเป็น cofounder และ อดีต ceo ของ Greenpeace ครับ
    Cr.อดิเทพ จาวลาห์ จาก rookon.com
    และคลิปจากเทเลแกรม คนไทยตื่นรู้ https://t.me/awakened_thailand
    โลกร้อนขึ้นเป็นวัฏจักรธรรมชาติ และในภาพรวมกำลังจะเย็นลง แต่… เราถูกฝังหัวกันมานานว่ามนุษย์เป็นคนทำให้โลกร้อน เพื่อนำไปสู่การใช้คาร์บอนเครดิต เพื่อการบีบบังคับนำไปสู่การเป็นทาส ไลฟ์สด โลกร้อนลวงโลก โดย อดิเทพ จาวลาห์ https://www.facebook.com/share/v/JjrAnsFTf9vwcQ4u/ ชี้แหล่งศึกษาข้อมูล https://www.rookon.com/?p=339 https://www.rookon.com/?p=975 https://www.rookon.com/?p=1011 https://www.rookon.com/?p=1076 https://www.rookon.com/?p=119เก้า ลิงก์นี้ต้องแก้คำว่าเก้าเป็นตัวเลขก่อน FBแบน https://www.rookon.com/?p=1147 https://vt.tiktok.com/ZSFvhkGKK/ ตอน 1. https://www.tiktok.com/@adit.../video/7361783535104953601... ตอน 2. https://www.tiktok.com/@adit.../video/7361783574783200513... https://vt.tiktok.com/ZSYeFkn5t/ หรือ https://fb.watch/s0HF9m7C09/ (ไลฟ์สดกับอ.ทีน่า อ.เกรซ) #คลิป 1 🌎 โลกร้อน (เพราะ CO2) เป็นเรื่องหลอกลวง🔥 https://t.me/awakened_thailand/424 ✨หลักฐานทางวิทยาศาสตร์จากการขุดเจาะแท่งน้ำแข็งพบว่า อุณหภูมิโลกสูงขึ้นก่อน ☀️ ต่อมาอีก 800 ปี CO2 ถึงจะสูงขึ้นตามมา...แปลว่า CO2 ไม่ใช่สาเหตุของโลกร้อน 😳 แต่อุณหภูมิที่สูงขึ้นต่างหากที่ทำให้ CO2 เพิ่มขึ้น สั้นๆ ง่ายๆ หลักฐานทางวิทยาศาสตร์พิสูจน์ชัดแล้ว! โลกร้อนตามวัฏจักรของโลก มันเป็นธรรมชาติ 😎 มนุษย์ไม่ได้ทำให้โลกร้อน แต่เราทำให้โลกสกปรก...ฉะนั้น CO2 ไม่เกี่ยวอะไรเลย แยกให้ออก 🧐 โลกร้อน กับ โลกสกปรก มันคือคนละเรื่องกัน เรื่องง่ายๆ เด็กป.4 ยังรู้เรื่อง #คลิป 2 🌎 โลกร้อน (เพราะ CO2) เป็นเรื่องหลอกลวง🔥 https://t.me/awakened_thailand/425 โลกร้อนขึ้น และเย็นลง เป็นวัฏจักร เป็นธรรมชาติ ไม่เกี่ยวกับ CO2 แม้แต่น้อย คำถาม ❓: รู้ได้ไง? 🤔 ตอบ: เจาะน้ำแข็งลงไปหลายกิโล แล้วดึงแท่งน้ำแข็งขึ้นมาศึกษา (เหมือนศึกษาวงปีของต้นไม้) 😎 มหาสมุทรกักเก็บ CO2 ไว้เป็นจำนวนมาก 🥵เมื่อโลกร้อนขึ้นเอง ทะเลคือตัวคาย CO2 ออกมาสู่ชั้นบรรยากาศ 🌎อุณหภูมิโลกสูงขึ้นก่อน ส่งผลให้ CO2 สูงตามมาทีหลัง หมายความว่า CO2 ไม่ใช่ "เหตุ" ที่ทำให้โลกร้อน...แต่ CO2 คือ "ผล" จากโลกร้อน👍✨ ฉะนั้นสรุป CO2 ไม่ใช่สาเหตุของโลกร้อน ✨ ถาม ❓: แล้วเขาหลอกเราทำไม? ตั้งนานหลายสิบปี 😈 ตอบ: เขาใช้ CO2 เป็นข้ออ้างในการบังคับเรา เช่น ออกกฎบังคับเรื่อง CO2 เก็บภาษีฟาร์มวัว เพราะต้องการให้ฟาร์มเจ๊ง 😱 นายทุนจะได้เข้ามาฮุบ, เก็บภาษีทุกอย่าง โดยเอาไปผูกกับ CO2 หลอกลวง เพราะจุดประสงค์ของกลุ่มทุนสามานต่างชาติ คือ การควบคุมอาหารแบบเบ็ดเสร็จ 👎 #คลิป 3 🔥โลกร้อนเพราะ CO2 เป็นเรื่องหลอกลวง 🌎 https://t.me/awakened_thailand/426 💸💵💰Dan Pena มหาเศรษฐีอเมริกัน แฉว่า เรื่องโลกร้อน เป็นเรื่องหลอกลวง นักวิทยาศาสตร์ขุดแท่งน้ำแข็งขึ้นมาให้ดู แล้วบอกว่า หลายหมื่นปีก่อน ทุกประเทศบนโลกมันร้อนกว่าตอนนี้เลย! วิทยาศาสตร์ไม่หลอกลวง! มันคือหลักฐาน! มีแต่คนนี่แหละ ที่หลอกลวง เพื่อผลประโยชน์ของพวกพ้องของตนเอง 😡 โลกร้อนฝรั่งหลอกเรามานานมากแล้ว หลอกเพื่อให้เราเชื่อ และยอมรับ กฎเกณฑ์ใหม่ๆ ที่เขาจะบังคับ เช่น ขึ้นภาษีคาร์บอนไดออกไซด์ เพื่อให้ธุรกิจเราเจ๊ง เป้าหมายคือ เพื่อฮุบทรัพยากรของคนทั้งโลก 😈 อย่าหลงทาง!! 🐑🐏 "โลกร้อน" กับ "โลกสกปรก" มันคนละประเด็น 🌎✨อยากให้โลกสวยใช่มั้ย? ไปไล่ให้บริษัทขายยาเคมี มันเลิกขายเคมีนู่น! เลิกใช้ซะ พวกไกลโฟเซตน่ะ ☠ #คลิป 4 🔥โลกร้อนเพราะ CO2 เป็นเรื่องหลอกลวง 🌎 https://t.me/awakened_thailand/444 คาร์บอนไดออกไซด์ คือ สิ่งจำเป็นสำหรับพืช เป็นอย่างมาก 🍀 ต่างประเทศใช้อุปกรณ์เพิ่มคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ สำหรับพืชที่ปลูกในโรงเรือน ทำให้มันแข็งแรงทนทานต่อโรค และแมลง 🍊🍎 ทำให้ผลผลิตเพิ่มมากขึ้นกว่าปกติได้ถึง 30% คาร์บอนไดออกไซด์เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับพืช/ต้นไม้ พืช/ต้นไม้ ก็จำเป็นสำหรับมนุษย์และโลกของเรา คาร์บอนไดออกไซด์จึงจำเป็นสำหรับโลกเรา อย่าให้ใครมาหลอกเราว่าคาร์บอนไดออกไซด์ คือ สิ่งไม่ดี หรือ ทำให้โลกร้อน ถ้าคุณเชื่อแบบนั้นคุณกำลังโดนหลอก คลิป #5 โลกร้อนเพราะ CO2 เป็นเรื่องหลอกลวง https://t.me/awakened_thailand/468 🌎🔥 ข้อมูลจากนาซ่ายืนยันว่า โลกของเราเขียวขึ้น เพราะมีต้นไม้มากขึ้น 🌳🍀ซึ่งเป็นผลมาจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่สูงขึ้น (ต้นไม้ชอบก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์) โลกร้อนขึ้นเองตามธรรมชาติ และเป็นสาเหตุที่ทำให้น้ำทะเลร้อนขึ้น ส่งผลให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ระเหยออกมาจากทะเลมากขึ้น คาร์บอนไดออกไซด์ จึงไม่ใช่สาเหตุของโลกร้อนแม้แต่นิดเดียว ✨ ข้อมูลในอดีต เช่น อุณหภูมิ และระดับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สามารถตรวจสอบย้อนหลังได้เป็นแสนๆปี ด้วยการเจาะแท่งน้ำแข็งในบริเวณขั้วโลกขึ้นมาวิเคราะห์ นี่คือวิทยาศาสตร์! แต่พวกคุมโลก คุมสื่อ คุมนักการเมือง 😈 ต้องการคุมพฤติกรรมประชากรโลก จึงต้องกุเรื่องแหกตาชาวโลกมาเป็นเวลาหลายสิบปี เตรียมล่วงหน้าไว้ก่อน จนเราๆเชื่อสนิทใจ ว่าคาร์บอนไดออกไซด์คือสิ่งไม่ดี บัดนี้ได้เวลาตื่นจากการหลับใหลมาเป็นเวลานาน อย่าหลงคารมนักการเมือง หรือข่าว ให้ยึดหลักวิทยาศาสตร์ และพิจารณาเอาเอง "คาร์บอนไดออกไซด์ คือ ฮีโร่ ที่มาช่วยให้โลกเรามีต้นไม้มากขึ้น" 🌿🌳🌲 #คลิปไลฟ์สด https://t.me/awakened_thailand/445 ❗️สาเหตุที่เขาหลอกเราเรื่อง CO2 🌎 เพราะจะเอามันมาผูกกับระบบเงินดิจิตอล Digital Currency และจะใช้ระบบใหม่นี้ควบคุมพฤติกรรมของเรา เพราะเงินดิจิตอลถูกโปรแกรมได้ เช่น ห้ามใช้นอกรัศมี 4 กิโลเมตร 😱 การเอาเรื่อง CO2 มาผูกกับเงินดิจิตอลจึงเป็นเรื่องง่ายมาก หากเราเชื่อว่าคาร์บอนไดออกไซด์คือสาเหตุที่ทำให้โลกร้อน 🔥และต้องร่วมมือกันลดคาร์บอนไดออกไซด์ลง เขาก็จะใช้ความเชื่อนี้ตั้งกฎเกณฑ์ขึ้นมาใหม่ 👿 เช่น เอาระบบคะแนนคาร์บอนมาใช้กับอาหาร โดยให้เหตุผลว่า ทุกสิ่งทุกอย่างตั้งแต่การทำฟาร์มสัตว์ 🐮🐷 ปลูกผัก 🌾ล้วนแต่ผลิต คาร์บอนไดออกไซด์ จึงต้องกำหนดคะแนนไปเลยว่า อาหารจานไหน ต้องใช้คะแนนคาร์บอนเท่าไหร่ในการซื้อ สมมุติว่าเรามีคะแนนไม่พอ เราก็จะไม่สามารถซื้ออาหารนั้นได้แม้ว่าเราจะมีเงินอยู่ในกระเป๋าก็ตาม ระบบที่ใช้คะแนนลักษณะนี้ ได้ถูกใช้งานในจีนมาหลายปีแล้ว เรียกว่า Social Credit System ดูคลิปได้ที่นี่: https://t.me/awakened_thailand/148 ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมจาก คุณ Patrick Moore ใน Rumble.com แกเป็น cofounder และ อดีต ceo ของ Greenpeace ครับ Cr.อดิเทพ จาวลาห์ จาก rookon.com และคลิปจากเทเลแกรม คนไทยตื่นรู้ https://t.me/awakened_thailand
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 84 มุมมอง 0 รีวิว
  • “Fruit” vs. “Vegetable”: Thyme To Explain The Actual Difference

    Trying to classify what’s a fruit and what’s a vegetable isn’t always cut and dry. In fact, the debate about it can get pretty juicy—seedy, even. This all stems from the fact that some things we eat are technically fruits but are almost always called vegetables (and treated like vegetables, too). Some people make a distinction based on the level of sweetness, but the difference—from the perspective of a botanist, at least—is less a matter of taste and more a matter of which part of the plant you’re eating.

    This article will get to the root of which foods are fruits, which are vegetables, and which are actually fruits despite always getting placed with the vegetables at the grocery store. You’ll come away with answers to these questions and more:

    What exactly is the difference between fruits and vegetables?
    Is a tomato a fruit or a vegetable?
    Is a potato a vegetable?
    Are berries fruit?
    What about nuts?

    We’ll even include a list of the fruits and vegetables whose categorization status most often pits people against each other, along with their technical classification and what they’re usually considered in culinary use. (Spoilage alert: the fruit and veggie puns are already pretty ripe, but they’re going to get even grosser.)

    Quick summary

    Technically speaking, a fruit is a plant’s developed ovary that comes from a flower and contains one or multiple seeds. The term vegetable is much broader—it refers to any part of a plant that’s used for food, including the roots, tubers, stems, and leaves. Many of the foods that we casually call vegetables, like tomatoes, are technically fruits. Still, it’s a technical distinction that’s usually ignored in practical contexts, such as menus or the layout of the produce section.

    What is the difference between a fruit and a vegetable?

    To a botanist, the word fruit specifically refers to the edible part of a seed plant that develops from a flower into a ripened ovary that contains one or more seeds—fertilized seeds capable of generating a new plant. Fruits come from many different types of plants: apples grow on trees, grapes grow on vines, and blueberries grow on shrubs, for example. The botanical definition of a fruit has nothing to do with whether or not it tastes sweet.

    The word vegetable tends to make us think of savory (and nonsweet) flavors. But vegetable simply means any part of a plant that is grown primarily for food. This can be the leaves (spinach), the root (carrots), the tuber (potatoes), the flower (broccoli), the stalk (celery), or other parts—including the fruit. Yes, definitionally speaking, fruits are actually just one type of vegetable (because they’re an edible part of a plant).

    Still, people don’t usually think about their fruits and vegetables in terms of strict, definition-specific distinctions. In everyday, nonscientific contexts, we usually make the distinction between a fruit and a vegetable based on how we eat it and what dishes we put it in, especially according to whether it’s sweet or not. To most of us, fruits are the edible, usually sweet parts of a plant—often ones that are eaten raw, squeezed for juice, or used in desserts.

    Many things that are technically fruits are commonly treated as vegetables (and even sometimes the other way around). Here are some whose categorizations are among the most ambiguous.

    Tomato: fruit or vegetable?

    It’s both. No matter how you slice it, a tomato is technically a fruit (the seed-filled ovary of the plant), but it’s typically treated as (and called) a vegetable. The classification confusion is understandable, given its savory but sweet flavor and the fact that it’s commonly used in savory dishes in the same way that vegetables usually are. Even the Supreme Court has had trouble with putting the fruit in the right category. In 1893, the high court of the US decided a tomato is a vegetable because of the way it’s used in cooking, regardless of the botanical categorization.

    Just because the scientific definition is clear doesn’t mean the issue is settled. Perhaps the distinction is best summarized by the quote, often attributed to journalist Miles Kington, that “Knowledge is knowing that a tomato is a fruit. Wisdom is not putting it in a fruit salad.” But even that notion has been contradicted by countless cooks—search some variation of tomato and watermelon salad recipe and you’ll get millions of hits.

    Is a cucumber a fruit?

    The cucumber plant is part of the gourd family. The part that people eat (and turn into pickles) is the fruit of the plant. So while you might not think of a cucumber salad as a kind of fruit salad, cucumbers do fit the technical definition of a fruit. It’s a good reminder that taste and how people commonly prepare a food have little to do with its scientific classification.

    Is a coconut a fruit?

    A coconut is the fruit of the coconut palm. It falls into the subcategory of fruits called drupes, which are distinguished by an outer skin, a fleshy middle, and a hard woody shell over a single seed. However, unlike other drupes in which the flesh covering the seed is what’s eaten (like peaches or cherries), the edible part of the coconut is the meat just inside that last interior shell.

    Is a potato a vegetable?

    The potato is part of the same family of plants (the nightshade family) as the tomato, the eggplant, and some peppers. But unlike those, it’s classified as a vegetable because the part of the plant that’s eaten is the tuber part of the root, as opposed to the reproductive organ.

    Many people asking “Is a potato a vegetable?” are really asking if they can count it as one nutritionally, like they do green vegetables. Traditionally, potatoes have been considered a starch, but they’re full of nutrients, including vitamins C, B1, B3, and B6, as well as minerals like iron, potassium, and folate.

    Is a carrot a fruit?

    This is an easy one—carrots are definitely vegetables, not fruits. Like potatoes, carrots are a type of root vegetable. The greens of the plant are edible, but carrots are grown for the bright orange (or purple, or white, or yellow) taproot growing underneath.

    Remember, vegetables can come from all parts of the plant, be it the roots, leaves, stalks, or other parts. Keeping that in mind can be useful when sorting out whether something belongs in the vegetable category or the fruit category.

    But here’s an easier way—we’ll just tell you. Produce this produce list any time there’s a rhubarb concerning edible plant facts.

    Are berries fruit? What about nuts?

    You might be thinking that grains are a surprising inclusion in the fruit category. They aren’t the only fruits that often get left out of the fruit conversation, either. Nuts, berries, and pods (such as peas) are also technically fruits.

    A berry is a small fruit that usually has small seeds embedded, as in grapes and blueberries. Tomatoes, in fact, also fall into this group. From a botanical standpoint, only simple fruits—those that develop from a single ovary in a single flower—are berries. Still, some other fruits commonly called berries, like strawberries and raspberries, are technically aggregate fruits, meaning they develop from multiple ovaries of a single flower. Some fruits commonly classified as berries, such as the mulberry, are multiple fruits, meaning they come from the ovaries of several individual flowers.

    Nuts are also simple fruits, albeit ones eaten dry. These have an edible inside that’s enclosed in a hard shell, like a chestnut or hazelnut. Some other things that we call nuts, like walnuts and almonds, aren’t nuts from a botanical perspective, but are instead the kind of fruits classified as drupes (like coconuts), since the shells are covered in a fleshy outside. Peanuts are also not nuts—they are legumes, meaning they’re technically a vegetable.

    Copyright 2024, XAKKHRA, All Rights Reserved.
    “Fruit” vs. “Vegetable”: Thyme To Explain The Actual Difference Trying to classify what’s a fruit and what’s a vegetable isn’t always cut and dry. In fact, the debate about it can get pretty juicy—seedy, even. This all stems from the fact that some things we eat are technically fruits but are almost always called vegetables (and treated like vegetables, too). Some people make a distinction based on the level of sweetness, but the difference—from the perspective of a botanist, at least—is less a matter of taste and more a matter of which part of the plant you’re eating. This article will get to the root of which foods are fruits, which are vegetables, and which are actually fruits despite always getting placed with the vegetables at the grocery store. You’ll come away with answers to these questions and more: What exactly is the difference between fruits and vegetables? Is a tomato a fruit or a vegetable? Is a potato a vegetable? Are berries fruit? What about nuts? We’ll even include a list of the fruits and vegetables whose categorization status most often pits people against each other, along with their technical classification and what they’re usually considered in culinary use. (Spoilage alert: the fruit and veggie puns are already pretty ripe, but they’re going to get even grosser.) Quick summary Technically speaking, a fruit is a plant’s developed ovary that comes from a flower and contains one or multiple seeds. The term vegetable is much broader—it refers to any part of a plant that’s used for food, including the roots, tubers, stems, and leaves. Many of the foods that we casually call vegetables, like tomatoes, are technically fruits. Still, it’s a technical distinction that’s usually ignored in practical contexts, such as menus or the layout of the produce section. What is the difference between a fruit and a vegetable? To a botanist, the word fruit specifically refers to the edible part of a seed plant that develops from a flower into a ripened ovary that contains one or more seeds—fertilized seeds capable of generating a new plant. Fruits come from many different types of plants: apples grow on trees, grapes grow on vines, and blueberries grow on shrubs, for example. The botanical definition of a fruit has nothing to do with whether or not it tastes sweet. The word vegetable tends to make us think of savory (and nonsweet) flavors. But vegetable simply means any part of a plant that is grown primarily for food. This can be the leaves (spinach), the root (carrots), the tuber (potatoes), the flower (broccoli), the stalk (celery), or other parts—including the fruit. Yes, definitionally speaking, fruits are actually just one type of vegetable (because they’re an edible part of a plant). Still, people don’t usually think about their fruits and vegetables in terms of strict, definition-specific distinctions. In everyday, nonscientific contexts, we usually make the distinction between a fruit and a vegetable based on how we eat it and what dishes we put it in, especially according to whether it’s sweet or not. To most of us, fruits are the edible, usually sweet parts of a plant—often ones that are eaten raw, squeezed for juice, or used in desserts. Many things that are technically fruits are commonly treated as vegetables (and even sometimes the other way around). Here are some whose categorizations are among the most ambiguous. Tomato: fruit or vegetable? It’s both. No matter how you slice it, a tomato is technically a fruit (the seed-filled ovary of the plant), but it’s typically treated as (and called) a vegetable. The classification confusion is understandable, given its savory but sweet flavor and the fact that it’s commonly used in savory dishes in the same way that vegetables usually are. Even the Supreme Court has had trouble with putting the fruit in the right category. In 1893, the high court of the US decided a tomato is a vegetable because of the way it’s used in cooking, regardless of the botanical categorization. Just because the scientific definition is clear doesn’t mean the issue is settled. Perhaps the distinction is best summarized by the quote, often attributed to journalist Miles Kington, that “Knowledge is knowing that a tomato is a fruit. Wisdom is not putting it in a fruit salad.” But even that notion has been contradicted by countless cooks—search some variation of tomato and watermelon salad recipe and you’ll get millions of hits. Is a cucumber a fruit? The cucumber plant is part of the gourd family. The part that people eat (and turn into pickles) is the fruit of the plant. So while you might not think of a cucumber salad as a kind of fruit salad, cucumbers do fit the technical definition of a fruit. It’s a good reminder that taste and how people commonly prepare a food have little to do with its scientific classification. Is a coconut a fruit? A coconut is the fruit of the coconut palm. It falls into the subcategory of fruits called drupes, which are distinguished by an outer skin, a fleshy middle, and a hard woody shell over a single seed. However, unlike other drupes in which the flesh covering the seed is what’s eaten (like peaches or cherries), the edible part of the coconut is the meat just inside that last interior shell. Is a potato a vegetable? The potato is part of the same family of plants (the nightshade family) as the tomato, the eggplant, and some peppers. But unlike those, it’s classified as a vegetable because the part of the plant that’s eaten is the tuber part of the root, as opposed to the reproductive organ. Many people asking “Is a potato a vegetable?” are really asking if they can count it as one nutritionally, like they do green vegetables. Traditionally, potatoes have been considered a starch, but they’re full of nutrients, including vitamins C, B1, B3, and B6, as well as minerals like iron, potassium, and folate. Is a carrot a fruit? This is an easy one—carrots are definitely vegetables, not fruits. Like potatoes, carrots are a type of root vegetable. The greens of the plant are edible, but carrots are grown for the bright orange (or purple, or white, or yellow) taproot growing underneath. Remember, vegetables can come from all parts of the plant, be it the roots, leaves, stalks, or other parts. Keeping that in mind can be useful when sorting out whether something belongs in the vegetable category or the fruit category. But here’s an easier way—we’ll just tell you. Produce this produce list any time there’s a rhubarb concerning edible plant facts. Are berries fruit? What about nuts? You might be thinking that grains are a surprising inclusion in the fruit category. They aren’t the only fruits that often get left out of the fruit conversation, either. Nuts, berries, and pods (such as peas) are also technically fruits. A berry is a small fruit that usually has small seeds embedded, as in grapes and blueberries. Tomatoes, in fact, also fall into this group. From a botanical standpoint, only simple fruits—those that develop from a single ovary in a single flower—are berries. Still, some other fruits commonly called berries, like strawberries and raspberries, are technically aggregate fruits, meaning they develop from multiple ovaries of a single flower. Some fruits commonly classified as berries, such as the mulberry, are multiple fruits, meaning they come from the ovaries of several individual flowers. Nuts are also simple fruits, albeit ones eaten dry. These have an edible inside that’s enclosed in a hard shell, like a chestnut or hazelnut. Some other things that we call nuts, like walnuts and almonds, aren’t nuts from a botanical perspective, but are instead the kind of fruits classified as drupes (like coconuts), since the shells are covered in a fleshy outside. Peanuts are also not nuts—they are legumes, meaning they’re technically a vegetable. Copyright 2024, XAKKHRA, All Rights Reserved.
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 73 มุมมอง 0 รีวิว
  • 💥💥สุดยอด ปรบมือ!! ก.ล.ต. และ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
    ประสานความร่วมมือ ยกระดับการทำหน้าที่กำกับดูแล
    ตลาดทุนร่วมกัน ให้มีประสิทธิภาพยอดเยี่ยม มากยิ่งขึ้น

    บันทึกความเข้าใจฉบับนี้ได้มีการปรับปรุงกรอบการ
    ทำงานร่วมกันของทั้ง 2 องค์กรในงานด้านกำกับดูแล
    ให้มีความชัดเจน ลดความซ้ำซ้อน รวมถึงสอดรับกับระบบนิเวศ
    และการเปลี่ยนแปลงของตลาดทุนในปัจจุบัน
    ตลอดจนสามารถรองรับกับแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
    ได้แก่

    (1) การกำกับดูแลบริษัทที่เสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชน
    และการกำกับดูแลบริษัทจดทะเบียน

    (2) การกำกับดูแลผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์และสมาชิก
    ของตลาดหลักทรัพย์ฯ

    (3) การติดตามดูแลการซื้อขายหลักทรัพย์จดทะเบียน
    และการบังคับใช้กฎหมาย และ

    (4) การออกระเบียบข้อบังคับหรือกฎเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ฯ
    อีกทั้งจะเพิ่มการสนับสนุนและแลกเปลี่ยนข้อมูลการกำกับดูแล
    ระหว่างกัน เพื่อให้การทำหน้าที่ของแต่ละองค์กรมีประสิทธิภาพ
    มากยิ่งขึ้น เช่น การร่วมกันพิจารณาคำขอกรณีการจดทะเบียนโดยอ้อม
    (Backdoor Listing) การขอย้ายกลับมาซื้อขายของบริษัทจดทะเบียน
    หลังแก้ไขเหตุอาจถูกเพิกถอน (Resume Trading) เพื่อให้กระบวนการ
    พิจารณา มีมาตรฐานเทียบเท่าการรับหลักทรัพย์จดทะเบียนใหม่
    และยังจะมีการร่วมกันกำหนดหรือปรับปรุงกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง
    หากเห็นว่ากฎเกณฑ์ที่มีอยู่ยังไม่เพียงพอที่จะช่วยสนับสนุน ป้องปราม
    หรือยับยั้งพฤติกรรมที่อาจนำไปสู่การซื้อขายหลักทรัพย์ที่ไม่เป็นธรรม
    ในตลาดหลักทรัพย์ฯ เป็นต้น

    อีกทั้งบันทึกความเข้าใจฉบับนี้ยังครอบคลุมถึงแนวทางการทำงาน
    และการประสานงานร่วมกัน ทั้งในระดับคณะกรรมการและฝ่ายจัดการ
    ของทั้ง 2 องค์กร เพื่อให้การขับเคลื่อนทิศทางนโยบายการพัฒนา
    ตลาดทุน การส่งเสริมความสามารถในการแข่งขันกับตลาดทุนอื่น
    และการกำกับดูแลตลาดทุนของ ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ฯ
    มีความสอดคล้องกันมากยิ่งขึ้น

    นอกจากนี้ ทั้ง 2 องค์กรยังมีการหารือในประเด็นที่จะขับเคลื่อน
    ร่วมกันที่สำคัญ ดังนี้

    (1) การสร้างระบบนิเวศ (ecosystem) หลักทรัพย์อิเล็กทรอนิกส์
    เพื่อรองรับการพัฒนาการลงทุนในรูปแบบใหม่ ที่อยู่ระหว่างปรับปรุง
    พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

    (2) การสนับสนุนการเพิ่มมูลค่า (value up) ของบริษัทจดทะเบียน
    เพื่อสนับสนุนและสร้างแรงจูงใจให้บริษัทจดทะเบียนมุ่งมั่น
    ที่จะเสริมศักยภาพและมูลค่าของตัวเอง สื่อสารกับนักลงทุน
    อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกเหนือจากที่รัฐบาลได้สนับสนุน
    การขยายรายชื่อหลักทรัพย์ที่กองทุน Thai ESG สามารถลงทุนได้

    (3) การส่งเสริมการเปิดเผยข้อมูลด้านความยั่งยืนตามมาตรฐาน
    International Sustainability Standards Board (ISSB)
    ซึ่ง ก.ล.ต. อยู่ระหว่างเตรียมความพร้อมและขอความร่วมมือ
    จากตลาดหลักทรัพย์ฯ ในการสนับสนุนและต่อยอดการดำเนินการ
    และการทำความเข้าใจกับบริษัทจดทะเบียน

    (4) การส่งเสริมผู้ลงทุนให้มีความรู้ (investor empowerment)
    ผ่าน Open Data ของภาคตลาดทุนและภาคการเงิน เพื่อให้ผู้ลงทุน
    สามารถใช้ข้อมูลของตนที่อยู่กับผู้ประกอบธุรกิจได้อย่างมี
    ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

    ที่มา ก.ล.ต.
    #หุ้นติดดอย #การลงทุน #thaitimes
    💥💥สุดยอด ปรบมือ!! ก.ล.ต. และ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ประสานความร่วมมือ ยกระดับการทำหน้าที่กำกับดูแล ตลาดทุนร่วมกัน ให้มีประสิทธิภาพยอดเยี่ยม มากยิ่งขึ้น บันทึกความเข้าใจฉบับนี้ได้มีการปรับปรุงกรอบการ ทำงานร่วมกันของทั้ง 2 องค์กรในงานด้านกำกับดูแล ให้มีความชัดเจน ลดความซ้ำซ้อน รวมถึงสอดรับกับระบบนิเวศ และการเปลี่ยนแปลงของตลาดทุนในปัจจุบัน ตลอดจนสามารถรองรับกับแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ได้แก่ (1) การกำกับดูแลบริษัทที่เสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชน และการกำกับดูแลบริษัทจดทะเบียน (2) การกำกับดูแลผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์และสมาชิก ของตลาดหลักทรัพย์ฯ (3) การติดตามดูแลการซื้อขายหลักทรัพย์จดทะเบียน และการบังคับใช้กฎหมาย และ (4) การออกระเบียบข้อบังคับหรือกฎเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ฯ อีกทั้งจะเพิ่มการสนับสนุนและแลกเปลี่ยนข้อมูลการกำกับดูแล ระหว่างกัน เพื่อให้การทำหน้าที่ของแต่ละองค์กรมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น เช่น การร่วมกันพิจารณาคำขอกรณีการจดทะเบียนโดยอ้อม (Backdoor Listing) การขอย้ายกลับมาซื้อขายของบริษัทจดทะเบียน หลังแก้ไขเหตุอาจถูกเพิกถอน (Resume Trading) เพื่อให้กระบวนการ พิจารณา มีมาตรฐานเทียบเท่าการรับหลักทรัพย์จดทะเบียนใหม่ และยังจะมีการร่วมกันกำหนดหรือปรับปรุงกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง หากเห็นว่ากฎเกณฑ์ที่มีอยู่ยังไม่เพียงพอที่จะช่วยสนับสนุน ป้องปราม หรือยับยั้งพฤติกรรมที่อาจนำไปสู่การซื้อขายหลักทรัพย์ที่ไม่เป็นธรรม ในตลาดหลักทรัพย์ฯ เป็นต้น อีกทั้งบันทึกความเข้าใจฉบับนี้ยังครอบคลุมถึงแนวทางการทำงาน และการประสานงานร่วมกัน ทั้งในระดับคณะกรรมการและฝ่ายจัดการ ของทั้ง 2 องค์กร เพื่อให้การขับเคลื่อนทิศทางนโยบายการพัฒนา ตลาดทุน การส่งเสริมความสามารถในการแข่งขันกับตลาดทุนอื่น และการกำกับดูแลตลาดทุนของ ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ฯ มีความสอดคล้องกันมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ทั้ง 2 องค์กรยังมีการหารือในประเด็นที่จะขับเคลื่อน ร่วมกันที่สำคัญ ดังนี้ (1) การสร้างระบบนิเวศ (ecosystem) หลักทรัพย์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อรองรับการพัฒนาการลงทุนในรูปแบบใหม่ ที่อยู่ระหว่างปรับปรุง พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (2) การสนับสนุนการเพิ่มมูลค่า (value up) ของบริษัทจดทะเบียน เพื่อสนับสนุนและสร้างแรงจูงใจให้บริษัทจดทะเบียนมุ่งมั่น ที่จะเสริมศักยภาพและมูลค่าของตัวเอง สื่อสารกับนักลงทุน อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกเหนือจากที่รัฐบาลได้สนับสนุน การขยายรายชื่อหลักทรัพย์ที่กองทุน Thai ESG สามารถลงทุนได้ (3) การส่งเสริมการเปิดเผยข้อมูลด้านความยั่งยืนตามมาตรฐาน International Sustainability Standards Board (ISSB) ซึ่ง ก.ล.ต. อยู่ระหว่างเตรียมความพร้อมและขอความร่วมมือ จากตลาดหลักทรัพย์ฯ ในการสนับสนุนและต่อยอดการดำเนินการ และการทำความเข้าใจกับบริษัทจดทะเบียน (4) การส่งเสริมผู้ลงทุนให้มีความรู้ (investor empowerment) ผ่าน Open Data ของภาคตลาดทุนและภาคการเงิน เพื่อให้ผู้ลงทุน สามารถใช้ข้อมูลของตนที่อยู่กับผู้ประกอบธุรกิจได้อย่างมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ที่มา ก.ล.ต. #หุ้นติดดอย #การลงทุน #thaitimes
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 224 มุมมอง 0 รีวิว
  • #2 ด่วน!!!
    วิดีโอเพิ่มเติม เหตุเพลิงไหม้รุนแรงที่อู่ต่อเรือดำน้ำนิวเคลียร์ของอังกฤษ ในพื้นที่โรงงานของบริษัท BAE Systems ซึ่งเป็นบริษัทด้านการป้องกันประเทศที่ใหญ่ที่สุด ในเมืองบาร์โรว์อินเฟอร์เนส(Barrow-in-Furness)
    #2 ด่วน!!! วิดีโอเพิ่มเติม เหตุเพลิงไหม้รุนแรงที่อู่ต่อเรือดำน้ำนิวเคลียร์ของอังกฤษ ในพื้นที่โรงงานของบริษัท BAE Systems ซึ่งเป็นบริษัทด้านการป้องกันประเทศที่ใหญ่ที่สุด ในเมืองบาร์โรว์อินเฟอร์เนส(Barrow-in-Furness)
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 78 มุมมอง 24 0 รีวิว
  • #1 ด่วน!!!
    เกิดเหตุเพลิงไหม้รุนแรงที่อู่ต่อเรือดำน้ำนิวเคลียร์ของอังกฤษ ในพื้นที่โรงงานของบริษัท BAE Systems ซึ่งเป็นบริษัทด้านการป้องกันประเทศที่ใหญ่ที่สุด ในเมืองบาร์โรว์อินเฟอร์เนส(Barrow-in-Furness)

    เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องรายงานว่าขณะนี้ยังไม่มีความเสี่ยงที่จะเกิดภัยพิบัติด้านนิวเคลียร์

    เบื้องต้นมีรายงานผู้บาดเจ็บ 2 ราย
    #1 ด่วน!!! เกิดเหตุเพลิงไหม้รุนแรงที่อู่ต่อเรือดำน้ำนิวเคลียร์ของอังกฤษ ในพื้นที่โรงงานของบริษัท BAE Systems ซึ่งเป็นบริษัทด้านการป้องกันประเทศที่ใหญ่ที่สุด ในเมืองบาร์โรว์อินเฟอร์เนส(Barrow-in-Furness) เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องรายงานว่าขณะนี้ยังไม่มีความเสี่ยงที่จะเกิดภัยพิบัติด้านนิวเคลียร์ เบื้องต้นมีรายงานผู้บาดเจ็บ 2 ราย
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 27 มุมมอง 0 รีวิว
  • ภาพระบบป้องกันภัยทางอากาศและขีปนาวุธระยะไกล SIPER ของตุรกี ที่ผลิตและใช้ภายในประเทศ ถูกทดสอบและนำไปใช้งานอย่างเป็นทางการแล้ว

    ASELSAN บริษัทยักษ์ใหญ่ด้านการป้องกันประเทศของตุรกี ซึ่งเป็นผู้ผลิตระบบ SIPER เปิดเผยว่า ขีปนาวุธ SIPER Block-I ซึ่งพัฒนาต่อจาก HISAR-RF หรือที่เรียกว่า "ระบบขีปนาวุธป้องกันภัยทางอากาศหลายชั้น" (‘Multi-Layer Air Defense Missile System’) จัดอยู่ในระดับเดียวกับในระบบ Patriot ของอเมริกา และ S-400 ของรัสเซีย
    ภาพระบบป้องกันภัยทางอากาศและขีปนาวุธระยะไกล SIPER ของตุรกี ที่ผลิตและใช้ภายในประเทศ ถูกทดสอบและนำไปใช้งานอย่างเป็นทางการแล้ว ASELSAN บริษัทยักษ์ใหญ่ด้านการป้องกันประเทศของตุรกี ซึ่งเป็นผู้ผลิตระบบ SIPER เปิดเผยว่า ขีปนาวุธ SIPER Block-I ซึ่งพัฒนาต่อจาก HISAR-RF หรือที่เรียกว่า "ระบบขีปนาวุธป้องกันภัยทางอากาศหลายชั้น" (‘Multi-Layer Air Defense Missile System’) จัดอยู่ในระดับเดียวกับในระบบ Patriot ของอเมริกา และ S-400 ของรัสเซีย
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 30 มุมมอง 0 รีวิว
  • UPDATE: เริ่ม 1 ธ.ค. นี้ เดินทางผ่าน 6 สนามบินใช้ระบบ Biometric สแกนหน้าเช็กอิน คาดประชาชนได้รับความสะดวกและรวดเร็วขึ้น
    .
    วันนี้ (29 ตุลาคม) ดร.กีรติ กิจมานะวัฒน์ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) (AOT) กล่าวว่า AOT นำระบบพิสูจน์อัตลักษณ์บุคคล (Automated Biometric Identification System: Biometric) ด้วยเทคโนโลยี Facial Recognition มาใช้ในการระบุตัวตนของผู้โดยสาร โดยพัฒนาและทดสอบระบบให้มีความพร้อมในการใช้งาน เพื่อช่วยให้ผู้โดยสารได้รับความสะดวกสบายและรวดเร็วยิ่งขึ้น
    .
    รวมทั้งจะช่วยลดระยะเวลาในการรอคิวของแต่ละจุดบริการภายในท่าอากาศยานทั้ง 6 แห่งของ AOT ได้แก่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (ทสภ.), ท่าอากาศยานดอนเมือง (ทดม.), ท่าอากาศยานเชียงใหม่ (ทชม.), ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย (ทชร.), ท่าอากาศยานภูเก็ต (ทภก.) และท่าอากาศยานหาดใหญ่ (ทหญ.)
    .
    ซึ่งในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2567 ผู้โดยสารภายในประเทศสามารถใช้งานได้ก่อน และในวันที่ 1 ธันวาคม 2567 พร้อมใช้งานสำหรับผู้โดยสารระหว่างประเทศ ทั้งนี้ ผู้โดยสารจำเป็นต้องยินยอมให้ใช้ข้อมูลอัตลักษณ์บุคคล
    .
    สำหรับผู้โดยสารที่ต้องการใช้งานระบบ Biometric สามารถลงทะเบียนใช้งานเมื่อมาเช็กอินที่สนามบิน โดยมี 2 วิธี ได้แก่
    .
    1. เช็กอินที่เคาน์เตอร์เช็กอิน ผู้โดยสารแจ้งเจ้าหน้าที่สายการบินให้ลงทะเบียนใบหน้าในระบบ Biometric ผ่านเครื่องตรวจบัตรโดยสาร (เครื่อง CUTE) โดยระบบจะดำเนินการจัดเก็บข้อมูลใบหน้าและข้อมูลเอกสารการเดินทางของผู้โดยสารในรูปแบบของ Token ไว้ในระบบ
    .
    2. เช็กอินที่เครื่องเช็กอินด้วยตนเองอัตโนมัติ (เครื่อง CUSS) โดยหลังจากเช็กอินเสร็จแล้วให้ผู้โดยสารเลือกสายการบินที่เดินทาง ต่อด้วยเลือก Enrollment จากนั้นสแกน Barcode จากบัตรโดยสารขึ้นเครื่อง (Boarding Pass) เสียบหนังสือเดินทาง (Passport) หรือบัตรประชาชน และสแกนใบหน้าเป็นขั้นตอนสุดท้าย ถือเป็นการเสร็จสิ้นการลงทะเบียน ซึ่งระบบจะดำเนินการจัดเก็บข้อมูลใบหน้าและข้อมูลเอกสารการเดินทางของผู้โดยสารในรูปแบบของ Token ไว้ในระบบเช่นเดียวกัน
    .
    ซึ่งเมื่อดำเนินการเรียบร้อยแล้ว ถือว่าผู้โดยสารให้ความยินยอมให้ใช้ข้อมูลอัตลักษณ์บุคคลแล้ว ดังนั้นเมื่อผู้โดยสารจะโหลดกระเป๋าสัมภาระผ่านเครื่องรับกระเป๋าสัมภาระอัตโนมัติ (เครื่อง CUBD) ตลอดจนผ่านจุดตรวจค้น รวมทั้งขั้นตอนขึ้นเครื่อง ไม่ต้องแสดง Passport และ Boarding Pass อีกต่อไป ทั้งนี้ เป็นการยินยอมให้ใช้ข้อมูล Biometric สำหรับการเดินทางเพียงครั้งเดียวเท่านั้น
    .
    ดร.กีรติ กล่าวเพิ่มเติมว่า AOT มั่นใจว่าระบบ Biometric มีความพร้อมในการอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้โดยสาร ทั้งผู้โดยสารภายในประเทศและระหว่างประเทศ จะได้รับความสะดวกสบาย รวดเร็ว ใช้เวลาน้อยในแต่ละจุดบริการ ทำให้ผู้โดยสารมีเวลาเพียงพอที่จะเดินเล่น เลือกซื้อสินค้าปลอดอากรและของฝาก รับประทานอาหาร หรือพักผ่อนหย่อนใจ เนื่องจากที่ผ่านมา AOT มีการติดตั้งระบบบริการผู้โดยสารขึ้นเครื่อง หรือ CUPPS (Common Use Passenger Processing System) ที่สนับสนุนการให้บริการทั้งหมด 5 ระบบ
    .
    ได้แก่ 1. เครื่อง CUTE (เครื่องตรวจบัตรโดยสารซึ่งใช้งานโดยเจ้าหน้าที่สายการบิน) 2. เครื่อง CUSS (เครื่องเช็กอินด้วยตนเองอัตโนมัติ) 3. เครื่อง CUBD เครื่องรับกระเป๋าสัมภาระอัตโนมัติ 4. ระบบ PVS (Passenger Validation System) สำหรับตรวจสอบยืนยันตัวตนผู้โดยสาร และ 5. ระบบ SBG (Self-Boarding Gate) หรือระบบประตูทางออกขึ้นเครื่อง
    .
    โดยทั้ง 5 ระบบดังกล่าวติดตั้งเพื่อรองรับระบบ Biometric ไว้เรียบร้อยแล้ว และเมื่อระบบทั้งหมด 6 ระบบมีการใช้งานและเชื่อมต่อกันอย่างครอบคลุม จะทำให้ข้อมูลต่างๆ ถูกเชื่อมโยงเข้าสู่เครือข่ายอย่างสมบูรณ์
    .
    ดร.กีรติ กล่าวว่า ในส่วนของปริมาณการจราจรทางอากาศ ณ ท่าอากาศยานทั้ง 6 แห่งของ AOT ในปีงบประมาณ 2567 (ตุลาคม 2566 - กันยายน 2567) มีผู้โดยสารมาใช้บริการรวมกว่า 119.29 ล้านคน เพิ่มขึ้น 19.22% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แบ่งเป็นผู้โดยสารระหว่างประเทศ 72.67 ล้านคน เพิ่มขึ้น 34.82% และผู้โดยสารภายในประเทศ 46.62 ล้านคน เพิ่มขึ้น 1.01% ขณะที่มีเที่ยวบินรวม 732,690 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้น 14.5% แบ่งเป็นเที่ยวบินระหว่างประเทศ 416,190 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้น 29.63% และเที่ยวบินภายในประเทศ 316,500 เที่ยวบิน ลดลง 0.73%
    .
    โดยเฉพาะที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ มีผู้โดยสาร 60 ล้านคน เพิ่มขึ้น 24.04% และมีเที่ยวบิน 346,680 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้น 17.88% ส่วนท่าอากาศยานดอนเมือง มีผู้โดยสาร 29.15 ล้านคน เพิ่มขึ้น 13.25% และมีเที่ยวบิน 197,250 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้น 11.47% ด้านท่าอากาศยานเชียงใหม่ มีผู้โดยสาร 8.82 ล้านคน เพิ่มขึ้น 13.14% และมีเที่ยวบิน 57,780 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้น 9.68% สำหรับท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย มีผู้โดยสาร 1.9 ล้านคน ลดลง 1.96% และมีเที่ยวบิน 12,260 เที่ยวบิน ลดลง 3.37%
    .
    ขณะที่ท่าอากาศยานภูเก็ต มีผู้โดยสาร 16.40 ล้านคน เพิ่มขึ้น 25.94% และมีเที่ยวบิน 98,710 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้น 19.97% และท่าอากาศยานหาดใหญ่ มีผู้โดยสาร 3.03 ล้านคน ลดลง 5.14% และมีเที่ยวบิน 19,730 เที่ยวบิน ลดลง 5.84% ทั้งนี้ มีผู้โดยสารแยกตามสัญชาติ 5 อันดับแรก ได้แก่ จีน, อินเดีย, เกาหลีใต้, รัสเซีย และญี่ปุ่น
    .
    ดร.กีรติ กล่าวเพิ่มเติมว่า จากข้อมูลการจัดสรรตารางบินฤดูหนาว 2024/2025 (W2024/2025) ท่าอากาศยานทั้ง 6 แห่งของ AOT มีเที่ยวบินได้รับการจัดสรรเวลารวม 370,239 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นจากฤดูหนาวในปีที่ผ่านมา (W2023/2024) 22.1% แบ่งเป็นเที่ยวบินระหว่างประเทศ 222,780 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้น 33.1% เที่ยวบินภายในประเทศ 147,459 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้น 8.5% ทั้งนี้ มีแนวโน้มจำนวนผู้โดยสารรวมทั้งระหว่างประเทศและในประเทศเพิ่มขึ้น 23% และเส้นทางระหว่างประเทศที่มีผู้โดยสารเดินทางเข้าประเทศไทย 5 อันดับแรก ได้แก่ จีน, มาเลเซีย, อินเดีย, สิงคโปร์ และฮ่องกง
    .
    สำหรับปริมาณการจราจรทางอากาศ ณ ท่าอากาศยานทั้ง 6 แห่งของ AOT ในปีงบประมาณ 2568 (ตุลาคม 2567 - กันยายน 2568) AOT คาดว่าจะผู้โดยสารมาใช้บริการรวมกว่า 129.97 ล้านคน เพิ่มขึ้น 8.95% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แบ่งเป็นผู้โดยสารระหว่างประเทศประมาณ 78.61 ล้านคน เพิ่มขึ้น 8.17% และผู้โดยสารภายในประเทศประมาณ 51.36 คน เพิ่มขึ้น 10.18% ขณะที่คาดว่าจะมีเที่ยวบินรวมประมาณ 808,280 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้น 10.32% แบ่งเป็นเที่ยวบินระหว่างประเทศประมาณ 453,750 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้น 9.02% และเที่ยวบินภายในประเทศประมาณ 354,530 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้น 12.02%
    .
    โดยเฉพาะที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิคาดว่าจะมีผู้โดยสารประมาณ 64.44 ล้านคน เพิ่มขึ้น 7.40% และมีเที่ยวบินประมาณ 376,820 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้น 8.69% ส่วนท่าอากาศยานดอนเมืองมีผู้โดยสารประมาณ 33.2 ล้านคน เพิ่มขึ้น 13.91% และมีเที่ยวบินประมาณ 223,200 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้น 13.00%
    .
    #สนามบิน
    #TheStandardNews
    UPDATE: เริ่ม 1 ธ.ค. นี้ เดินทางผ่าน 6 สนามบินใช้ระบบ Biometric สแกนหน้าเช็กอิน คาดประชาชนได้รับความสะดวกและรวดเร็วขึ้น . วันนี้ (29 ตุลาคม) ดร.กีรติ กิจมานะวัฒน์ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) (AOT) กล่าวว่า AOT นำระบบพิสูจน์อัตลักษณ์บุคคล (Automated Biometric Identification System: Biometric) ด้วยเทคโนโลยี Facial Recognition มาใช้ในการระบุตัวตนของผู้โดยสาร โดยพัฒนาและทดสอบระบบให้มีความพร้อมในการใช้งาน เพื่อช่วยให้ผู้โดยสารได้รับความสะดวกสบายและรวดเร็วยิ่งขึ้น . รวมทั้งจะช่วยลดระยะเวลาในการรอคิวของแต่ละจุดบริการภายในท่าอากาศยานทั้ง 6 แห่งของ AOT ได้แก่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (ทสภ.), ท่าอากาศยานดอนเมือง (ทดม.), ท่าอากาศยานเชียงใหม่ (ทชม.), ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย (ทชร.), ท่าอากาศยานภูเก็ต (ทภก.) และท่าอากาศยานหาดใหญ่ (ทหญ.) . ซึ่งในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2567 ผู้โดยสารภายในประเทศสามารถใช้งานได้ก่อน และในวันที่ 1 ธันวาคม 2567 พร้อมใช้งานสำหรับผู้โดยสารระหว่างประเทศ ทั้งนี้ ผู้โดยสารจำเป็นต้องยินยอมให้ใช้ข้อมูลอัตลักษณ์บุคคล . สำหรับผู้โดยสารที่ต้องการใช้งานระบบ Biometric สามารถลงทะเบียนใช้งานเมื่อมาเช็กอินที่สนามบิน โดยมี 2 วิธี ได้แก่ . 1. เช็กอินที่เคาน์เตอร์เช็กอิน ผู้โดยสารแจ้งเจ้าหน้าที่สายการบินให้ลงทะเบียนใบหน้าในระบบ Biometric ผ่านเครื่องตรวจบัตรโดยสาร (เครื่อง CUTE) โดยระบบจะดำเนินการจัดเก็บข้อมูลใบหน้าและข้อมูลเอกสารการเดินทางของผู้โดยสารในรูปแบบของ Token ไว้ในระบบ . 2. เช็กอินที่เครื่องเช็กอินด้วยตนเองอัตโนมัติ (เครื่อง CUSS) โดยหลังจากเช็กอินเสร็จแล้วให้ผู้โดยสารเลือกสายการบินที่เดินทาง ต่อด้วยเลือก Enrollment จากนั้นสแกน Barcode จากบัตรโดยสารขึ้นเครื่อง (Boarding Pass) เสียบหนังสือเดินทาง (Passport) หรือบัตรประชาชน และสแกนใบหน้าเป็นขั้นตอนสุดท้าย ถือเป็นการเสร็จสิ้นการลงทะเบียน ซึ่งระบบจะดำเนินการจัดเก็บข้อมูลใบหน้าและข้อมูลเอกสารการเดินทางของผู้โดยสารในรูปแบบของ Token ไว้ในระบบเช่นเดียวกัน . ซึ่งเมื่อดำเนินการเรียบร้อยแล้ว ถือว่าผู้โดยสารให้ความยินยอมให้ใช้ข้อมูลอัตลักษณ์บุคคลแล้ว ดังนั้นเมื่อผู้โดยสารจะโหลดกระเป๋าสัมภาระผ่านเครื่องรับกระเป๋าสัมภาระอัตโนมัติ (เครื่อง CUBD) ตลอดจนผ่านจุดตรวจค้น รวมทั้งขั้นตอนขึ้นเครื่อง ไม่ต้องแสดง Passport และ Boarding Pass อีกต่อไป ทั้งนี้ เป็นการยินยอมให้ใช้ข้อมูล Biometric สำหรับการเดินทางเพียงครั้งเดียวเท่านั้น . ดร.กีรติ กล่าวเพิ่มเติมว่า AOT มั่นใจว่าระบบ Biometric มีความพร้อมในการอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้โดยสาร ทั้งผู้โดยสารภายในประเทศและระหว่างประเทศ จะได้รับความสะดวกสบาย รวดเร็ว ใช้เวลาน้อยในแต่ละจุดบริการ ทำให้ผู้โดยสารมีเวลาเพียงพอที่จะเดินเล่น เลือกซื้อสินค้าปลอดอากรและของฝาก รับประทานอาหาร หรือพักผ่อนหย่อนใจ เนื่องจากที่ผ่านมา AOT มีการติดตั้งระบบบริการผู้โดยสารขึ้นเครื่อง หรือ CUPPS (Common Use Passenger Processing System) ที่สนับสนุนการให้บริการทั้งหมด 5 ระบบ . ได้แก่ 1. เครื่อง CUTE (เครื่องตรวจบัตรโดยสารซึ่งใช้งานโดยเจ้าหน้าที่สายการบิน) 2. เครื่อง CUSS (เครื่องเช็กอินด้วยตนเองอัตโนมัติ) 3. เครื่อง CUBD เครื่องรับกระเป๋าสัมภาระอัตโนมัติ 4. ระบบ PVS (Passenger Validation System) สำหรับตรวจสอบยืนยันตัวตนผู้โดยสาร และ 5. ระบบ SBG (Self-Boarding Gate) หรือระบบประตูทางออกขึ้นเครื่อง . โดยทั้ง 5 ระบบดังกล่าวติดตั้งเพื่อรองรับระบบ Biometric ไว้เรียบร้อยแล้ว และเมื่อระบบทั้งหมด 6 ระบบมีการใช้งานและเชื่อมต่อกันอย่างครอบคลุม จะทำให้ข้อมูลต่างๆ ถูกเชื่อมโยงเข้าสู่เครือข่ายอย่างสมบูรณ์ . ดร.กีรติ กล่าวว่า ในส่วนของปริมาณการจราจรทางอากาศ ณ ท่าอากาศยานทั้ง 6 แห่งของ AOT ในปีงบประมาณ 2567 (ตุลาคม 2566 - กันยายน 2567) มีผู้โดยสารมาใช้บริการรวมกว่า 119.29 ล้านคน เพิ่มขึ้น 19.22% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แบ่งเป็นผู้โดยสารระหว่างประเทศ 72.67 ล้านคน เพิ่มขึ้น 34.82% และผู้โดยสารภายในประเทศ 46.62 ล้านคน เพิ่มขึ้น 1.01% ขณะที่มีเที่ยวบินรวม 732,690 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้น 14.5% แบ่งเป็นเที่ยวบินระหว่างประเทศ 416,190 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้น 29.63% และเที่ยวบินภายในประเทศ 316,500 เที่ยวบิน ลดลง 0.73% . โดยเฉพาะที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ มีผู้โดยสาร 60 ล้านคน เพิ่มขึ้น 24.04% และมีเที่ยวบิน 346,680 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้น 17.88% ส่วนท่าอากาศยานดอนเมือง มีผู้โดยสาร 29.15 ล้านคน เพิ่มขึ้น 13.25% และมีเที่ยวบิน 197,250 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้น 11.47% ด้านท่าอากาศยานเชียงใหม่ มีผู้โดยสาร 8.82 ล้านคน เพิ่มขึ้น 13.14% และมีเที่ยวบิน 57,780 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้น 9.68% สำหรับท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย มีผู้โดยสาร 1.9 ล้านคน ลดลง 1.96% และมีเที่ยวบิน 12,260 เที่ยวบิน ลดลง 3.37% . ขณะที่ท่าอากาศยานภูเก็ต มีผู้โดยสาร 16.40 ล้านคน เพิ่มขึ้น 25.94% และมีเที่ยวบิน 98,710 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้น 19.97% และท่าอากาศยานหาดใหญ่ มีผู้โดยสาร 3.03 ล้านคน ลดลง 5.14% และมีเที่ยวบิน 19,730 เที่ยวบิน ลดลง 5.84% ทั้งนี้ มีผู้โดยสารแยกตามสัญชาติ 5 อันดับแรก ได้แก่ จีน, อินเดีย, เกาหลีใต้, รัสเซีย และญี่ปุ่น . ดร.กีรติ กล่าวเพิ่มเติมว่า จากข้อมูลการจัดสรรตารางบินฤดูหนาว 2024/2025 (W2024/2025) ท่าอากาศยานทั้ง 6 แห่งของ AOT มีเที่ยวบินได้รับการจัดสรรเวลารวม 370,239 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นจากฤดูหนาวในปีที่ผ่านมา (W2023/2024) 22.1% แบ่งเป็นเที่ยวบินระหว่างประเทศ 222,780 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้น 33.1% เที่ยวบินภายในประเทศ 147,459 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้น 8.5% ทั้งนี้ มีแนวโน้มจำนวนผู้โดยสารรวมทั้งระหว่างประเทศและในประเทศเพิ่มขึ้น 23% และเส้นทางระหว่างประเทศที่มีผู้โดยสารเดินทางเข้าประเทศไทย 5 อันดับแรก ได้แก่ จีน, มาเลเซีย, อินเดีย, สิงคโปร์ และฮ่องกง . สำหรับปริมาณการจราจรทางอากาศ ณ ท่าอากาศยานทั้ง 6 แห่งของ AOT ในปีงบประมาณ 2568 (ตุลาคม 2567 - กันยายน 2568) AOT คาดว่าจะผู้โดยสารมาใช้บริการรวมกว่า 129.97 ล้านคน เพิ่มขึ้น 8.95% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แบ่งเป็นผู้โดยสารระหว่างประเทศประมาณ 78.61 ล้านคน เพิ่มขึ้น 8.17% และผู้โดยสารภายในประเทศประมาณ 51.36 คน เพิ่มขึ้น 10.18% ขณะที่คาดว่าจะมีเที่ยวบินรวมประมาณ 808,280 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้น 10.32% แบ่งเป็นเที่ยวบินระหว่างประเทศประมาณ 453,750 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้น 9.02% และเที่ยวบินภายในประเทศประมาณ 354,530 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้น 12.02% . โดยเฉพาะที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิคาดว่าจะมีผู้โดยสารประมาณ 64.44 ล้านคน เพิ่มขึ้น 7.40% และมีเที่ยวบินประมาณ 376,820 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้น 8.69% ส่วนท่าอากาศยานดอนเมืองมีผู้โดยสารประมาณ 33.2 ล้านคน เพิ่มขึ้น 13.91% และมีเที่ยวบินประมาณ 223,200 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้น 13.00% . #สนามบิน #TheStandardNews
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 43 มุมมอง 0 รีวิว
  • เสนาธิการกองทัพอิหร่าน:

    เมื่อคืนที่ผ่านมา, อิสราเอลได้ยิงขีปนาวุธโจมตีจากน่านฟ้าอิรัก โดยโจมตีเตหะราน, คูเซสถาน, และอีลัม เรดาร์บางส่วนถูกโจมตี, แต่สามารถกู้คืนได้อย่างรวดเร็ว

    ระบบป้องกันภัยทางอากาศของเราสกัดกั้นขีปนาวุธและโดรนได้จำนวนมาก และไม่มีเครื่องบินเจ็ทของอิสราเอลลำใดเข้าสู่น่านฟ้าอิหร่าน

    อิหร่านขอสงวนสิทธิ์ในการตอบโต้ ในเวลาและสถานที่ที่ต้องการ
    .
    The Chief of Staff of Iranian force:

    Last night, Israel launched a missile attack from Iraqi airspace targeting Tehran, Khuzestan, and Ilam. Some radars were hit, but they were promptly restored.

    Our air defense system intercepted a significant number of missiles and drones and no Israeli jets entered Iranian airspace.

    Iran reserves the right to respond at a time and place of its choosing.
    .
    8:53 AM · Oct 27, 2024 · 7,491 Views
    https://x.com/Currentreport1/status/1850354986225459529
    เสนาธิการกองทัพอิหร่าน: เมื่อคืนที่ผ่านมา, อิสราเอลได้ยิงขีปนาวุธโจมตีจากน่านฟ้าอิรัก โดยโจมตีเตหะราน, คูเซสถาน, และอีลัม เรดาร์บางส่วนถูกโจมตี, แต่สามารถกู้คืนได้อย่างรวดเร็ว ระบบป้องกันภัยทางอากาศของเราสกัดกั้นขีปนาวุธและโดรนได้จำนวนมาก และไม่มีเครื่องบินเจ็ทของอิสราเอลลำใดเข้าสู่น่านฟ้าอิหร่าน อิหร่านขอสงวนสิทธิ์ในการตอบโต้ ในเวลาและสถานที่ที่ต้องการ . The Chief of Staff of Iranian force: Last night, Israel launched a missile attack from Iraqi airspace targeting Tehran, Khuzestan, and Ilam. Some radars were hit, but they were promptly restored. Our air defense system intercepted a significant number of missiles and drones and no Israeli jets entered Iranian airspace. Iran reserves the right to respond at a time and place of its choosing. . 8:53 AM · Oct 27, 2024 · 7,491 Views https://x.com/Currentreport1/status/1850354986225459529
    Like
    2
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 29 มุมมอง 0 รีวิว
  • ระบบเรดาร์หลายระบบได้รับความเสียหายจากการรุกรานของอิสราเอลเมื่อคืนนี้, ซึ่งกำลังได้รับการซ่อมแซม

    อิสราเอลยิงขีปนาวุธจากน่านฟ้าอิรักใส่ฐานป้องกันภัยทางอากาศใกล้ชายแดนอิรักและเตหะราน

    อิหร่านมีสิทธิที่จะตอบโต้ในเวลาที่เหมาะสม - กองทัพอิหร่าน
    .
    ⚡️BREAKING

    A number of radar systems were damaged in last night's Israeli aggression, which are being repaired

    Israel launched missiles from Iraqi airspace on air defense sites near the Iraqi border and Tehran

    Iran has the right to respond at the appropriate time - Iran's Armed Forces
    .
    11:45 PM · Oct 26, 2024 · 671.3K Views
    https://x.com/IranObserver0/status/1850217185643200818
    ระบบเรดาร์หลายระบบได้รับความเสียหายจากการรุกรานของอิสราเอลเมื่อคืนนี้, ซึ่งกำลังได้รับการซ่อมแซม อิสราเอลยิงขีปนาวุธจากน่านฟ้าอิรักใส่ฐานป้องกันภัยทางอากาศใกล้ชายแดนอิรักและเตหะราน อิหร่านมีสิทธิที่จะตอบโต้ในเวลาที่เหมาะสม - กองทัพอิหร่าน . ⚡️BREAKING A number of radar systems were damaged in last night's Israeli aggression, which are being repaired Israel launched missiles from Iraqi airspace on air defense sites near the Iraqi border and Tehran Iran has the right to respond at the appropriate time - Iran's Armed Forces . 11:45 PM · Oct 26, 2024 · 671.3K Views https://x.com/IranObserver0/status/1850217185643200818
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 21 มุมมอง 0 รีวิว
  • องุ่นพิษ 'ไชน์มัสแคท' สารเคมีเกิน 50 ชนิด เสี่ยงอันตรายล้างยาก
    .
    เป็นข่าวที่สะเทือนประชาชนผู้บริโภคพอสมควร ภายหลังเครือข่ายเตือนภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืช (Thai-PAN) ร่วมกับนิตยสารฉลาดซื้อ มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค สุ่มตรวจองุ่นไชน์มัสแคท 24 ตัวอย่าง ทั่วกรุงเทพและปริมณฑล พบสารเคมีเกษตรตกค้างเกินค่ามาตรฐานมากถึงร้อยละ 95.8 โดยปัจจจุบันองุ่นพันธุ์นี้กำลังเป็นที่นิยมอย่างมากในประเทศไทย
    .
    ทั้งนี้ การเก็บตัวอย่างองุ่นไชน์มัสแคทมีทั้งหมดทั้งหมด 24 ตัวอย่าง จาก 15 สถานที่จำหน่ายในพื้นที่ กทม. และปริมณฑลข้อค้นพบสำคัญของการเฝ้าระวังสารพิษตกค้างในองุ่นไชน์มัสแคท โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. ร้อยละ 95.8 ของตัวอย่างองุ่นไชน์มัสแคทหรือ 23 จาก 24 ตัวอย่าง พบสารพิษตกค้างเกินค่าที่กฎหมายกำหนด เช่น สารคลอร์ไพริฟอสซึ่งเป็นวัตถุอันตรายชนิดที่ 4 2. พบสารพิษตกค้างทั้งหมด 50 ชนิด โดยเป็นวัตถุอันตรายชนิดที่ 3 จำนวน 26 ชนิด เช่น Chlorpyrifos และ Endrin aldehyde และเป็นสารที่อยู่นอกบัญชีวัตถุอันตรายมากถึง 22 ชนิด 4. จากสารพิษตกค้าง 50 ชนิด มีสารประเภทดูดซึม (Systemic pesticide) 37 ชนิด หรือคิดเป็น 74% ของสารพิษตกค้าง โดยสารกลุ่มนี้มีโอกาสตกค้างอยู่ในเนื้อเยื่อขององุ่น ซึ่งการล้างสารกลุ่มนี้ออกจากเนื้อเยื่อพืชคงไม่ใช่เรื่องที่ทำได้โดยง่าย
    .
    ดังนั้น เครือข่ายเตือนภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืช (Thai-PAN) และนิตยสารฉลาดซื้อ มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค มีข้อเสนอว่า ห้างโมเดิร์นเทรดและผู้จำหน่ายองุ่นไชน์มัสแคท ควรจัดเก็บออกจากชั้นวาง แถลงมาตรการที่ชัดเจนกับซัพพลายเออร์และแหล่งผลิตที่มีสารพิษตกค้างเกินมาตรฐาน เช่น ผู้ประกอบการต้องยกเลิกการนำเข้าจากซัพพลายเออร์และแหล่งผลิตนั้นเมื่อมีการกระทำผิดซ้ำอีก ผู้ประกอบการนำเข้า ห้างโมเดิร์นเทรดและผู้จำหน่ายต้องระบุแหล่งที่มา/ประเทศต้นทางของสินค้านำเข้า เพื่อให้สามารถตรวจสอบย้อนกลับได้เมื่อเกิดปัญหา
    ขณะที่ กระทรวงสาธารณสุข ควรใช้อำนาจหน้าที่ตามกฎระเบียบและกฎหมายที่มีอยู่กำหนดผู้นำเข้าและผู้จัดจำหน่ายต้องติดฉลากแสดงที่มาและประเทศต้นทาง เพิ่มมาตรการในการรับประกันคุณภาพความปลอดภัย และ สร้างระบบ Rapid Alert System ที่ตอบสนองต่อสถานการณ์แบบนี้อย่างรวดเร็ว เช่น การแจ้งให้ทราบ การเรียกคืน การทำลายสินค้า ทันทีที่ตรวจพบ รวมทั้งการเพิ่มความเข้มข้นในการตรวจวิเคราะห์จากประเทศต้นทางหรือแหล่งผลิตที่พบว่ามีความเสี่ยงสูง
    .
    ที่สำคัญ รัฐบาลควรกำหนดเป้าหมายความปลอดภัยของผักผลไม้ โดยในปี 2573 ผักผลไม้ที่จำหน่ายในประเทศไทย มีสารพิษตกค้างเกินค่ามาตรฐาน ไม่เกิน 5% และกำหนดเป้าหมายและงบประมาณในการพัฒนาระบบเฝ้าระวังเพื่อยกระดับความปลอดภัยทางอาหาร โดยในปี 2571 ประเทศไทยมีระบบ Rapid Alert System เพื่อให้เกิดการเฝ้าระวังและแจ้งเตือนเร่งด่วนที่มีประสิทธิภาพ เท่าทันต่อสถานการณ์ และมีกลไกการเชื่อมต่อข้อมูลและติดตามการจัดการปัญหาตลอดห่วงโซ่
    ............
    Sondhi X
    องุ่นพิษ 'ไชน์มัสแคท' สารเคมีเกิน 50 ชนิด เสี่ยงอันตรายล้างยาก . เป็นข่าวที่สะเทือนประชาชนผู้บริโภคพอสมควร ภายหลังเครือข่ายเตือนภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืช (Thai-PAN) ร่วมกับนิตยสารฉลาดซื้อ มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค สุ่มตรวจองุ่นไชน์มัสแคท 24 ตัวอย่าง ทั่วกรุงเทพและปริมณฑล พบสารเคมีเกษตรตกค้างเกินค่ามาตรฐานมากถึงร้อยละ 95.8 โดยปัจจจุบันองุ่นพันธุ์นี้กำลังเป็นที่นิยมอย่างมากในประเทศไทย . ทั้งนี้ การเก็บตัวอย่างองุ่นไชน์มัสแคทมีทั้งหมดทั้งหมด 24 ตัวอย่าง จาก 15 สถานที่จำหน่ายในพื้นที่ กทม. และปริมณฑลข้อค้นพบสำคัญของการเฝ้าระวังสารพิษตกค้างในองุ่นไชน์มัสแคท โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. ร้อยละ 95.8 ของตัวอย่างองุ่นไชน์มัสแคทหรือ 23 จาก 24 ตัวอย่าง พบสารพิษตกค้างเกินค่าที่กฎหมายกำหนด เช่น สารคลอร์ไพริฟอสซึ่งเป็นวัตถุอันตรายชนิดที่ 4 2. พบสารพิษตกค้างทั้งหมด 50 ชนิด โดยเป็นวัตถุอันตรายชนิดที่ 3 จำนวน 26 ชนิด เช่น Chlorpyrifos และ Endrin aldehyde และเป็นสารที่อยู่นอกบัญชีวัตถุอันตรายมากถึง 22 ชนิด 4. จากสารพิษตกค้าง 50 ชนิด มีสารประเภทดูดซึม (Systemic pesticide) 37 ชนิด หรือคิดเป็น 74% ของสารพิษตกค้าง โดยสารกลุ่มนี้มีโอกาสตกค้างอยู่ในเนื้อเยื่อขององุ่น ซึ่งการล้างสารกลุ่มนี้ออกจากเนื้อเยื่อพืชคงไม่ใช่เรื่องที่ทำได้โดยง่าย . ดังนั้น เครือข่ายเตือนภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืช (Thai-PAN) และนิตยสารฉลาดซื้อ มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค มีข้อเสนอว่า ห้างโมเดิร์นเทรดและผู้จำหน่ายองุ่นไชน์มัสแคท ควรจัดเก็บออกจากชั้นวาง แถลงมาตรการที่ชัดเจนกับซัพพลายเออร์และแหล่งผลิตที่มีสารพิษตกค้างเกินมาตรฐาน เช่น ผู้ประกอบการต้องยกเลิกการนำเข้าจากซัพพลายเออร์และแหล่งผลิตนั้นเมื่อมีการกระทำผิดซ้ำอีก ผู้ประกอบการนำเข้า ห้างโมเดิร์นเทรดและผู้จำหน่ายต้องระบุแหล่งที่มา/ประเทศต้นทางของสินค้านำเข้า เพื่อให้สามารถตรวจสอบย้อนกลับได้เมื่อเกิดปัญหา ขณะที่ กระทรวงสาธารณสุข ควรใช้อำนาจหน้าที่ตามกฎระเบียบและกฎหมายที่มีอยู่กำหนดผู้นำเข้าและผู้จัดจำหน่ายต้องติดฉลากแสดงที่มาและประเทศต้นทาง เพิ่มมาตรการในการรับประกันคุณภาพความปลอดภัย และ สร้างระบบ Rapid Alert System ที่ตอบสนองต่อสถานการณ์แบบนี้อย่างรวดเร็ว เช่น การแจ้งให้ทราบ การเรียกคืน การทำลายสินค้า ทันทีที่ตรวจพบ รวมทั้งการเพิ่มความเข้มข้นในการตรวจวิเคราะห์จากประเทศต้นทางหรือแหล่งผลิตที่พบว่ามีความเสี่ยงสูง . ที่สำคัญ รัฐบาลควรกำหนดเป้าหมายความปลอดภัยของผักผลไม้ โดยในปี 2573 ผักผลไม้ที่จำหน่ายในประเทศไทย มีสารพิษตกค้างเกินค่ามาตรฐาน ไม่เกิน 5% และกำหนดเป้าหมายและงบประมาณในการพัฒนาระบบเฝ้าระวังเพื่อยกระดับความปลอดภัยทางอาหาร โดยในปี 2571 ประเทศไทยมีระบบ Rapid Alert System เพื่อให้เกิดการเฝ้าระวังและแจ้งเตือนเร่งด่วนที่มีประสิทธิภาพ เท่าทันต่อสถานการณ์ และมีกลไกการเชื่อมต่อข้อมูลและติดตามการจัดการปัญหาตลอดห่วงโซ่ ............ Sondhi X
    Like
    Angry
    13
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 931 มุมมอง 1 รีวิว
  • 🇺🇳เลขาธิการสหประชาชาติเรียกร้องให้เร่งปฏิรูปโครงสร้างการเงินระหว่างประเทศที่ล้าสมัย, ไร้ประสิทธิภาพ และ ไม่เป็นธรรม

    💬"ผมรู้สึกขอบคุณที่ได้มีส่วนร่วมในการประชุมสุดยอด BRIC ครั้งที่ ๑๖ โดยรวมแล้ว, ประเทศของคุณเป็นตัวแทนของประชากรเกือบครึ่งหนึ่งของโลก และผมขอชื่นชมความมุ่งมั่นและการสนับสนุนอันมีค่าของคุณต่อพหุภาคีและการแก้ไขปัญหาในระดับนานาชาติ ซึ่งสะท้อนให้เห็นอย่างชัดเจนในทีมของคุณในปีนี้... จำเป็นต้องมีชุมชนของประเทศต่างๆ ที่ทำงานเป็นครอบครัวเดียวกันเพื่อรับมือกับความท้าทายระดับโลก," อันโตนิโอ กูเตอร์เรส เลขาธิการสหประชาชาติ กล่าวในการประชุมครั้งสุดท้ายของการประชุมสุดยอด BRICS ในรูปแบบ BRICS+ และการเข้าถึงที่เมืองคาซานของรัสเซีย

    ตามที่เขากล่าว, ระบบการเงินระหว่างประเทศในปัจจุบันไม่ได้ให้ตาข่ายความปลอดภัยหรือระดับการสนับสนุนที่ประเทศที่เปราะบางจำนวนมากต้องการ

    กูเตอร์เรสยังเน้นย้ำถึงความจำเป็นในการเสริมสร้างและปรับปรุงกลไกสันติภาพ, รวมถึงการกล่าวถึงการนำอาวุธจากอวกาศมาใช้และการใช้อาวุธสังหารอัตโนมัติ

    #BRICS2024
    .
    🇺🇳UN CHIEF CALLS FOR ACCELERATING THE REFORM OF THE INTERNATIONAL OUTDATED, INEFFECTIVE AND UNFAIR FINANCIAL ARCHITECTURE

    💬"I am grateful to participate in the 16th BRIC Summit. Collectively, your countries represent nearly half of the world's population. And I salute your valuable commitment and support for multilateralism and international problem solving as clearly reflected in your team this year... It takes a community of nations working as one global family to address global challenges," United Nations Secretary-General Antonio Guterres said at the final meeting of the BRICS summit in the BRICS+ and outreach format in Russia's Kazan.

    According to him, today's international financial system does not provide many vulnerable countries with the safety net or level of support they need.

    Guterres also stressed the need for strengthening and updating the machinery of peace, as well as addressing the weaponization of outer space and use of lethal autonomous weapons.

    #BRICS2024
    .
    7:52 PM · Oct 24, 2024 · 20.8K Views
    https://x.com/SputnikInt/status/1849433743972290684
    🇺🇳เลขาธิการสหประชาชาติเรียกร้องให้เร่งปฏิรูปโครงสร้างการเงินระหว่างประเทศที่ล้าสมัย, ไร้ประสิทธิภาพ และ ไม่เป็นธรรม 💬"ผมรู้สึกขอบคุณที่ได้มีส่วนร่วมในการประชุมสุดยอด BRIC ครั้งที่ ๑๖ โดยรวมแล้ว, ประเทศของคุณเป็นตัวแทนของประชากรเกือบครึ่งหนึ่งของโลก และผมขอชื่นชมความมุ่งมั่นและการสนับสนุนอันมีค่าของคุณต่อพหุภาคีและการแก้ไขปัญหาในระดับนานาชาติ ซึ่งสะท้อนให้เห็นอย่างชัดเจนในทีมของคุณในปีนี้... จำเป็นต้องมีชุมชนของประเทศต่างๆ ที่ทำงานเป็นครอบครัวเดียวกันเพื่อรับมือกับความท้าทายระดับโลก," อันโตนิโอ กูเตอร์เรส เลขาธิการสหประชาชาติ กล่าวในการประชุมครั้งสุดท้ายของการประชุมสุดยอด BRICS ในรูปแบบ BRICS+ และการเข้าถึงที่เมืองคาซานของรัสเซีย ตามที่เขากล่าว, ระบบการเงินระหว่างประเทศในปัจจุบันไม่ได้ให้ตาข่ายความปลอดภัยหรือระดับการสนับสนุนที่ประเทศที่เปราะบางจำนวนมากต้องการ กูเตอร์เรสยังเน้นย้ำถึงความจำเป็นในการเสริมสร้างและปรับปรุงกลไกสันติภาพ, รวมถึงการกล่าวถึงการนำอาวุธจากอวกาศมาใช้และการใช้อาวุธสังหารอัตโนมัติ #BRICS2024 . 🇺🇳UN CHIEF CALLS FOR ACCELERATING THE REFORM OF THE INTERNATIONAL OUTDATED, INEFFECTIVE AND UNFAIR FINANCIAL ARCHITECTURE 💬"I am grateful to participate in the 16th BRIC Summit. Collectively, your countries represent nearly half of the world's population. And I salute your valuable commitment and support for multilateralism and international problem solving as clearly reflected in your team this year... It takes a community of nations working as one global family to address global challenges," United Nations Secretary-General Antonio Guterres said at the final meeting of the BRICS summit in the BRICS+ and outreach format in Russia's Kazan. According to him, today's international financial system does not provide many vulnerable countries with the safety net or level of support they need. Guterres also stressed the need for strengthening and updating the machinery of peace, as well as addressing the weaponization of outer space and use of lethal autonomous weapons. #BRICS2024 . 7:52 PM · Oct 24, 2024 · 20.8K Views https://x.com/SputnikInt/status/1849433743972290684
    Like
    Haha
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 197 มุมมอง 121 0 รีวิว
  • 🇨🇳สีจิ้นผิงเรียกร้องให้สมาชิกกลุ่ม BRICS มีบทบาทนำในการปฏิรูประบบการกำกับดูแลเศรษฐกิจโลก

    นอกจากสมาชิกในกลุ่มแล้ว, การประชุมในรูปแบบการติดต่อ/BRICS+ ยังมีผู้แทนจากประเทศต่างๆในเอเชีย, แอฟริกา, ตะวันออกกลาง, และละตินอเมริกาเข้าร่วมด้วย ผู้นำจากประเทศ CIS, รวมถึงตัวแทนจากองค์กรระหว่างประเทศ เช่น สหประชาชาติ, ก็เข้าร่วมด้วย

    สีม่วงเป็นสีที่นิยมใช้ผูกเน็คไทมากที่สุดในหมู่หัวหน้าคณะผู้แทนต่างประเทศในวันนี้ เชื่อกันว่าสีม่วงเป็นสัญลักษณ์ของความมั่นใจ, ดังนั้นอาจไม่ใช่เรื่องบังเอิญ

    #BRICS2024
    .
    🇨🇳XI JINPING CALLS ON BRICS MEMBERS TO PLAY LEADING ROLE IN REFORMING GLOBAL ECONOMIC GOVERNANCE SYSTEM

    In addition to members of the group, the meeting in the outreach/BRICS+ format is also attended by delegations from various countries in Asia, Africa, the Middle East, and Latin America. Leaders from CIS countries, as well as representatives of international organizations such as the UN, are also in attendance.

    Purple is the most popular color for ties among the foreign delegation heads today. It’s believed that purple symbolizes a person's confidence, so maybe it’s not a coincidence.

    #BRICS2024
    .
    3:42 PM · Oct 24, 2024 · 5,846 Views
    https://x.com/SputnikInt/status/1849370973100737013
    🇨🇳สีจิ้นผิงเรียกร้องให้สมาชิกกลุ่ม BRICS มีบทบาทนำในการปฏิรูประบบการกำกับดูแลเศรษฐกิจโลก นอกจากสมาชิกในกลุ่มแล้ว, การประชุมในรูปแบบการติดต่อ/BRICS+ ยังมีผู้แทนจากประเทศต่างๆในเอเชีย, แอฟริกา, ตะวันออกกลาง, และละตินอเมริกาเข้าร่วมด้วย ผู้นำจากประเทศ CIS, รวมถึงตัวแทนจากองค์กรระหว่างประเทศ เช่น สหประชาชาติ, ก็เข้าร่วมด้วย สีม่วงเป็นสีที่นิยมใช้ผูกเน็คไทมากที่สุดในหมู่หัวหน้าคณะผู้แทนต่างประเทศในวันนี้ เชื่อกันว่าสีม่วงเป็นสัญลักษณ์ของความมั่นใจ, ดังนั้นอาจไม่ใช่เรื่องบังเอิญ #BRICS2024 . 🇨🇳XI JINPING CALLS ON BRICS MEMBERS TO PLAY LEADING ROLE IN REFORMING GLOBAL ECONOMIC GOVERNANCE SYSTEM In addition to members of the group, the meeting in the outreach/BRICS+ format is also attended by delegations from various countries in Asia, Africa, the Middle East, and Latin America. Leaders from CIS countries, as well as representatives of international organizations such as the UN, are also in attendance. Purple is the most popular color for ties among the foreign delegation heads today. It’s believed that purple symbolizes a person's confidence, so maybe it’s not a coincidence. #BRICS2024 . 3:42 PM · Oct 24, 2024 · 5,846 Views https://x.com/SputnikInt/status/1849370973100737013
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 185 มุมมอง 57 0 รีวิว
  • การประชุมสุดยอดกลุ่ม BRICS ที่เมืองคาซานแสดงให้เห็นถึงการถ่วงดุลกับกลุ่ม G7 ที่กำลังประสบปัญหา

    Paolo Raffone, ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยด้านกิจการภูมิรัฐศาสตร์ CIPI Foundation ซึ่งตั้งอยู่ในบรัสเซลส์

    จากมุมมองเชิงยุทธศาสตร์, กลุ่ม BRICS ที่เมืองคาซานแสดงให้เห็นถึงการถ่วงดุลกับกลุ่ม G7, ที่กำลังประสบปัญหา ในช่วงเวลาที่มีสมาชิกหลักหลายคนจากการประชุมสองปีครั้งของเครือจักรภพ [เลือก] กลุ่ม BRICS แทน, 🤣และในช่วงเวลาที่สหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรปกำลังสร้างความหวาดกลัวให้กับความไม่แน่นอนของสถาบันในประเทศและระหว่างประเทศของตนเอง🤣

    การเข้าร่วมของเลขาธิการสหประชาชาติ, กูเตอร์เรส, ยืนยันเจตนารมณ์ที่สันติและร่วมมือกันภายในระบบพหุภาคี 🤣นักวิจารณ์อุดมการณ์ของกลุ่ม BRICS ต่างผิดหวังที่ไม่มีการได้ยินหรือเขียนแถลงการณ์ที่เป็นการยั่วยุใดๆ🤣

    คำประกาศ [การประชุมสุดยอดที่เมืองคาซาน] ระบุอย่างเงียบๆแต่เด็ดขาดว่า แม้กลุ่มผู้มีอำนาจสูงสุดจะคัดค้าน แต่เส้นทางสู่การมีตัวแทนและความรับผิดชอบที่สมดุลยิ่งขึ้นในกิจการโลกก็ไม่สามารถหยุดยั้งได้อีกต่อไป มันเป็นเพียงเรื่องของเวลาไม่ใช่เรื่องของทิศทางหรือผลลัพธ์
    #BRICS2024
    .
    BRICS SUMMIT IN KAZAN PROVES A COUNTERBALANCE TO THE AILING G7

    Paolo Raffone, director of the Brussels-based CIPI Foundation geopolitical affairs think tank

    From a strategic point of view, BRICS in Kazan counterbalance the ailing G7, at a time that sees several key members of the ongoing bi-annual meeting of The Commonwealth [choosing] BRICS instead, and when the US and the EU are peddling of fear in the uncertainty of their own national and international institutions.

    The attendance by the UN Secretary general, Guterres, confirms their peaceful and cooperative intentions within the multilateral system. To the dismay of the ideological critics of BRICS no incendiary statements were heard or written.

    The [Kazan Summit] declaration is quietly but resolutely stating that despite the hegemons’ opposition the path towards a more balanced representation and responsibility in world affairs cannot be stopped anymore. It’s just a matter of time not of direction and outcome.
    #BRICS2024
    .
    1:10 AM · Oct 24, 2024 · 3,192 Views
    https://x.com/SputnikInt/status/1849151432210989399
    การประชุมสุดยอดกลุ่ม BRICS ที่เมืองคาซานแสดงให้เห็นถึงการถ่วงดุลกับกลุ่ม G7 ที่กำลังประสบปัญหา Paolo Raffone, ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยด้านกิจการภูมิรัฐศาสตร์ CIPI Foundation ซึ่งตั้งอยู่ในบรัสเซลส์ จากมุมมองเชิงยุทธศาสตร์, กลุ่ม BRICS ที่เมืองคาซานแสดงให้เห็นถึงการถ่วงดุลกับกลุ่ม G7, ที่กำลังประสบปัญหา ในช่วงเวลาที่มีสมาชิกหลักหลายคนจากการประชุมสองปีครั้งของเครือจักรภพ [เลือก] กลุ่ม BRICS แทน, 🤣และในช่วงเวลาที่สหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรปกำลังสร้างความหวาดกลัวให้กับความไม่แน่นอนของสถาบันในประเทศและระหว่างประเทศของตนเอง🤣 การเข้าร่วมของเลขาธิการสหประชาชาติ, กูเตอร์เรส, ยืนยันเจตนารมณ์ที่สันติและร่วมมือกันภายในระบบพหุภาคี 🤣นักวิจารณ์อุดมการณ์ของกลุ่ม BRICS ต่างผิดหวังที่ไม่มีการได้ยินหรือเขียนแถลงการณ์ที่เป็นการยั่วยุใดๆ🤣 คำประกาศ [การประชุมสุดยอดที่เมืองคาซาน] ระบุอย่างเงียบๆแต่เด็ดขาดว่า แม้กลุ่มผู้มีอำนาจสูงสุดจะคัดค้าน แต่เส้นทางสู่การมีตัวแทนและความรับผิดชอบที่สมดุลยิ่งขึ้นในกิจการโลกก็ไม่สามารถหยุดยั้งได้อีกต่อไป มันเป็นเพียงเรื่องของเวลาไม่ใช่เรื่องของทิศทางหรือผลลัพธ์ #BRICS2024 . BRICS SUMMIT IN KAZAN PROVES A COUNTERBALANCE TO THE AILING G7 Paolo Raffone, director of the Brussels-based CIPI Foundation geopolitical affairs think tank From a strategic point of view, BRICS in Kazan counterbalance the ailing G7, at a time that sees several key members of the ongoing bi-annual meeting of The Commonwealth [choosing] BRICS instead, and when the US and the EU are peddling of fear in the uncertainty of their own national and international institutions. The attendance by the UN Secretary general, Guterres, confirms their peaceful and cooperative intentions within the multilateral system. To the dismay of the ideological critics of BRICS no incendiary statements were heard or written. The [Kazan Summit] declaration is quietly but resolutely stating that despite the hegemons’ opposition the path towards a more balanced representation and responsibility in world affairs cannot be stopped anymore. It’s just a matter of time not of direction and outcome. #BRICS2024 . 1:10 AM · Oct 24, 2024 · 3,192 Views https://x.com/SputnikInt/status/1849151432210989399
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 52 มุมมอง 0 รีวิว
  • 24 ตุลาคม 2567-Thai-PAN ร่วมกับ นิตยสารฉลาดซื้อ มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค แถลงผลการตรวจสารพิษในองุ่นไชน์มัสแคททั้งหมด 24 ตัวอย่าง ถ่ายทอดสดจากห้องประชุมชั้น 2 มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค
    โดย..
    1. คุณปรกชล อู๋ทรัพย์ - เครือข่ายเตือนภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืช Thai-PAN
    2. คุณทัศนีย์ แน่นอุดร - นิตยสารฉลาดซื้อ มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค
    3. ภญ. สุภาวดี ธีระวัฒน์สกุล ผู้อำนวยการกองอาหาร - สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
    4. ดร.วัฒนศักดิ์ ศรรุ่ง ผู้อำนวยการกองด่านอาหารและยา - สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
    ชวนตั้งคำถาม โดย คุณกรรณิการ์ กิจติเวชกุล

    สรุปผลตรวจวันนี้
    1. ประเทศผู้ผลิตองุ่นไชน์มัสแคท 24 ตัวอย่าง ที่สุ่มซื้อมาจากการสั่งออนไลน์ 2 ตัวอย่าง มาจากร้านค้าและตลาด 7 ตัวอย่าง และจากโมเดิร์นเทรด 15 ตัวอย่าง สามารถระบุได้เพียง 9 ตัวอย่างว่ามาจากประเทศจีน อีก 15 ตัวอย่างไม่สามารถระบุแหล่งที่มาได้

    2. 95.8% ของตัวอย่างองุ่นไชน์มัสแคทหรือ 23 จาก 24 ตัวอย่าง พบสารพิษตกค้างเกินค่าที่กฎหมายกำหนด แบ่งเป็น 2 กรณี 1) องุ่น 1 ตัวอย่าง พบสารคลอร์ไพริฟอสซึ่งเป็นวัตถุอันตรายชนิดที่ 4 ทั้งนี้ตามกฎหมายต้องตรวจไม่พบเนื่องจากยกเลิกค่า MRL แล้ว 2) องุ่นอีก 22 ตัวอย่าง พบสารพิษตกค้าง 14 ชนิด เกินค่าดีฟอลต์ลิมิต (สารพิษตกค้างที่ไม่มีค่า MRL ตามกฎหมายกำหนดให้พบได้ไม่เกินค่าดีฟอลต์ลิมิต 0.01 mg/kg) ซึ่งสารเหล่านี้อาจยังไม่มีการประเมินความปลอดภัย

    3. พบสารพิษตกค้างทั้งหมด 50 ชนิด พบว่าเป็นวัตถุอันตรายชนิดที่ 3 จำนวน 26 ชนิด เป็นวัตถุอันตรายชนิดที่ 4 (ยกเลิกการใช้ในประเทศไทย) จำนวน 2 ชนิด ได้แก่ Chlorpyrifos และ Endrin aldehyde และเป็นสารที่อยู่นอกบัญชีวัตถุอันตรายมากถึง 22 ชนิด ซึ่งเป็นสารที่ยังไม่มีการประเมินใดๆภายใต้กฎหมายไทย

    4. จากสารพิษตกค้าง 50 ชนิด มีสารประเภทดูดซึม (Systemic pesticide) 37 ชนิด หรือคิดเป็น 74% ของสารพิษตกค้าง โดยสารกลุ่มนี้มีโอกาสตกค้างอยู่ในเนื้อเยื่อขององุ่น ซึ่งการล้างสารกลุ่มนี้ออกจากเนื้อเยื่อพืชคงไม่ใช่เรื่องที่ทำได้โดยง่าย

    5. องุ่นไชน์มัสแคทแต่ละตัวอย่างพบสารพิษตกค้างระหว่าง 7-18 ชนิด โดยจำนวน 23 จาก 24 ตัวอย่างพบสารพิษตกค้างเกินค่าที่กฎหมายกำหนด 1-6 ชนิด

    ที่มา https://www.facebook.com/share/v/C6K7h2P7pNNFv5ZY/?mibextid=CTbP7E

    #Thaitimes
    24 ตุลาคม 2567-Thai-PAN ร่วมกับ นิตยสารฉลาดซื้อ มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค แถลงผลการตรวจสารพิษในองุ่นไชน์มัสแคททั้งหมด 24 ตัวอย่าง ถ่ายทอดสดจากห้องประชุมชั้น 2 มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค โดย.. 1. คุณปรกชล อู๋ทรัพย์ - เครือข่ายเตือนภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืช Thai-PAN 2. คุณทัศนีย์ แน่นอุดร - นิตยสารฉลาดซื้อ มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค 3. ภญ. สุภาวดี ธีระวัฒน์สกุล ผู้อำนวยการกองอาหาร - สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา 4. ดร.วัฒนศักดิ์ ศรรุ่ง ผู้อำนวยการกองด่านอาหารและยา - สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ชวนตั้งคำถาม โดย คุณกรรณิการ์ กิจติเวชกุล สรุปผลตรวจวันนี้ 1. ประเทศผู้ผลิตองุ่นไชน์มัสแคท 24 ตัวอย่าง ที่สุ่มซื้อมาจากการสั่งออนไลน์ 2 ตัวอย่าง มาจากร้านค้าและตลาด 7 ตัวอย่าง และจากโมเดิร์นเทรด 15 ตัวอย่าง สามารถระบุได้เพียง 9 ตัวอย่างว่ามาจากประเทศจีน อีก 15 ตัวอย่างไม่สามารถระบุแหล่งที่มาได้ 2. 95.8% ของตัวอย่างองุ่นไชน์มัสแคทหรือ 23 จาก 24 ตัวอย่าง พบสารพิษตกค้างเกินค่าที่กฎหมายกำหนด แบ่งเป็น 2 กรณี 1) องุ่น 1 ตัวอย่าง พบสารคลอร์ไพริฟอสซึ่งเป็นวัตถุอันตรายชนิดที่ 4 ทั้งนี้ตามกฎหมายต้องตรวจไม่พบเนื่องจากยกเลิกค่า MRL แล้ว 2) องุ่นอีก 22 ตัวอย่าง พบสารพิษตกค้าง 14 ชนิด เกินค่าดีฟอลต์ลิมิต (สารพิษตกค้างที่ไม่มีค่า MRL ตามกฎหมายกำหนดให้พบได้ไม่เกินค่าดีฟอลต์ลิมิต 0.01 mg/kg) ซึ่งสารเหล่านี้อาจยังไม่มีการประเมินความปลอดภัย 3. พบสารพิษตกค้างทั้งหมด 50 ชนิด พบว่าเป็นวัตถุอันตรายชนิดที่ 3 จำนวน 26 ชนิด เป็นวัตถุอันตรายชนิดที่ 4 (ยกเลิกการใช้ในประเทศไทย) จำนวน 2 ชนิด ได้แก่ Chlorpyrifos และ Endrin aldehyde และเป็นสารที่อยู่นอกบัญชีวัตถุอันตรายมากถึง 22 ชนิด ซึ่งเป็นสารที่ยังไม่มีการประเมินใดๆภายใต้กฎหมายไทย 4. จากสารพิษตกค้าง 50 ชนิด มีสารประเภทดูดซึม (Systemic pesticide) 37 ชนิด หรือคิดเป็น 74% ของสารพิษตกค้าง โดยสารกลุ่มนี้มีโอกาสตกค้างอยู่ในเนื้อเยื่อขององุ่น ซึ่งการล้างสารกลุ่มนี้ออกจากเนื้อเยื่อพืชคงไม่ใช่เรื่องที่ทำได้โดยง่าย 5. องุ่นไชน์มัสแคทแต่ละตัวอย่างพบสารพิษตกค้างระหว่าง 7-18 ชนิด โดยจำนวน 23 จาก 24 ตัวอย่างพบสารพิษตกค้างเกินค่าที่กฎหมายกำหนด 1-6 ชนิด ที่มา https://www.facebook.com/share/v/C6K7h2P7pNNFv5ZY/?mibextid=CTbP7E #Thaitimes
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 270 มุมมอง 0 รีวิว
  • สหรัฐฯ กู้เงิน ๒.๒ ล้านล้านดอลลาร์ในช่วง ๑๒ เดือนที่ผ่านมา เป็นเงินฟรี - เหมือนบัตรเครดิตขนาดยักษ์, ที่ไม่ต้องชำระคืน (🤣ทั้งหมดนั้นคือดอลลาร์กงเต้กที่พิมพ์ออกมา โดยไม่ต้องมีทองค้ำไงล่ะ🤣)

    ในอินเดีย, ทั้งประเทศต้องทำงาน ๖ เดือน จึงจะได้เงินจำนวนนั้น

    ระบบที่ทุจริตนี้คือสาเหตุที่ BRICS และ การลดการใช้เงินดอลลาร์กำลังเกิดขึ้น
    .
    US borrowed $2.2 trillion over the last 12 months. It’s free money - like a giant credit card, which you never have to pay back.

    In India, the entire country must work for 6 months to earn that kind of money.

    This rigged system is why BRICS & de-dollarization are happening.
    .
    11:45 PM · Oct 23, 2024 · 40.9K Views
    https://x.com/Kanthan2030/status/1849129926521446413
    สหรัฐฯ กู้เงิน ๒.๒ ล้านล้านดอลลาร์ในช่วง ๑๒ เดือนที่ผ่านมา เป็นเงินฟรี - เหมือนบัตรเครดิตขนาดยักษ์, ที่ไม่ต้องชำระคืน (🤣ทั้งหมดนั้นคือดอลลาร์กงเต้กที่พิมพ์ออกมา โดยไม่ต้องมีทองค้ำไงล่ะ🤣) ในอินเดีย, ทั้งประเทศต้องทำงาน ๖ เดือน จึงจะได้เงินจำนวนนั้น ระบบที่ทุจริตนี้คือสาเหตุที่ BRICS และ การลดการใช้เงินดอลลาร์กำลังเกิดขึ้น . US borrowed $2.2 trillion over the last 12 months. It’s free money - like a giant credit card, which you never have to pay back. In India, the entire country must work for 6 months to earn that kind of money. This rigged system is why BRICS & de-dollarization are happening. . 11:45 PM · Oct 23, 2024 · 40.9K Views https://x.com/Kanthan2030/status/1849129926521446413
    Haha
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 33 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🇨🇳 ประธานาธิบดีจีน สี จิ้นผิง กล่าวว่า กลุ่ม BRICS จะต้องส่งเสริมระบบการเงินใหม่

    “มีความจำเป็นเร่งด่วนที่จะต้องปฏิรูปโครงสร้างการเงินระหว่างประเทศ, และกลุ่ม BRICS จะต้องมีบทบาทนำในการส่งเสริมระบบใหม่ที่สะท้อนการเปลี่ยนแปลงอย่างลึกซึ้งในดุลอำนาจทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศได้ดีกว่า”
    .
    JUST IN: 🇨🇳 Chinese President Xi Jinping says BRICS must promote a new financial system.

    "There is an urgent need to reform the international financial architecture, and BRICS must play a leading role in promoting a new system that better reflects the profound changes in the international economic balance of power."
    .
    10:05 PM · Oct 23, 2024 · 513.1K Views
    https://x.com/BRICSinfo/status/1849104870030111109
    🇨🇳 ประธานาธิบดีจีน สี จิ้นผิง กล่าวว่า กลุ่ม BRICS จะต้องส่งเสริมระบบการเงินใหม่ “มีความจำเป็นเร่งด่วนที่จะต้องปฏิรูปโครงสร้างการเงินระหว่างประเทศ, และกลุ่ม BRICS จะต้องมีบทบาทนำในการส่งเสริมระบบใหม่ที่สะท้อนการเปลี่ยนแปลงอย่างลึกซึ้งในดุลอำนาจทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศได้ดีกว่า” . JUST IN: 🇨🇳 Chinese President Xi Jinping says BRICS must promote a new financial system. "There is an urgent need to reform the international financial architecture, and BRICS must play a leading role in promoting a new system that better reflects the profound changes in the international economic balance of power." . 10:05 PM · Oct 23, 2024 · 513.1K Views https://x.com/BRICSinfo/status/1849104870030111109
    Like
    1
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 33 มุมมอง 0 รีวิว
  • คำสั่งที่ต้องปฏิบัติตามของดอลลาร์ จะพิสูจน์ความล่มสลายเมื่อมหาอำนาจเกิดใหม่รวมตัวกัน – นักวิเคราะห์

    Chintamani Mahapatra, ผู้ก่อตั้งและประธานของ Kalinga Institute of Indo-Pacific Studies:

    “ประเทศต่างๆกำลังแสวงหาวิธีและช่องทางในการทำการค้าและธุรกิจนอกกรอบโครงสร้างการเงินที่สหรัฐฯครอบงำ เนื่องจากพวกเขาเบื่อหน่ายกับการที่สหรัฐฯ กำหนดเงื่อนไขกับหลายประเทศ, โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การป้องกันไม่ให้ประเทศต่างๆ ทำธุรกิจกับประเทศที่อยู่ภายใต้การคว่ำบาตรของสหรัฐฯ”

    “ชาติตะวันตกที่รวมกันจะพยายามไม่อนุญาตให้มีระบบทางเลือกอื่นเกิดขึ้น และชาติที่ไม่ใช่ตะวันตกก็แทบจะไม่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเลย ประเทศต่างๆมีการพึ่งพากันที่ซับซ้อน ดังนั้น, จึงไม่สามารถเขียนคำไว้อาลัยของระบบที่ดอลลาร์สหรัฐครอบงำได้ในขณะนี้ เศรษฐกิจอื่นๆจะต้องปรับปรุงจนถึงจุดที่อิทธิพลของสหรัฐฯลดลงอีก, และในกรณีนั้น ระบบทางเลือกจะเกิดขึ้นได้อย่างง่ายดาย”
    .
    Dollar’s diktat will prove its downfall once emerging powers unite – analyst

    Chintamani Mahapatra, founder and chairman of the Kalinga Institute of Indo-Pacific Studies:

    “Countries are seeking ways and means of conducting trade and business outside the US-dominated financial architecture because they are fed up with the US dictating terms to multiple countries, especially by preventing countries from doing business with countries under US sanctions.”

    “The combined West will try not to allow an alternative system from rising. And the non-West is hardly united. Countries have complex interdependence. Thus, one cannot write the obituary of the dollar dominated system at the moment. Other economies have to improve to a point where the relative US domination declines further, and in that case the alternative system will easily emerge.”
    .
    11:28 PM · Oct 21, 2024 · 4,540 Views
    https://x.com/SputnikInt/status/1848401007660634292
    คำสั่งที่ต้องปฏิบัติตามของดอลลาร์ จะพิสูจน์ความล่มสลายเมื่อมหาอำนาจเกิดใหม่รวมตัวกัน – นักวิเคราะห์ Chintamani Mahapatra, ผู้ก่อตั้งและประธานของ Kalinga Institute of Indo-Pacific Studies: “ประเทศต่างๆกำลังแสวงหาวิธีและช่องทางในการทำการค้าและธุรกิจนอกกรอบโครงสร้างการเงินที่สหรัฐฯครอบงำ เนื่องจากพวกเขาเบื่อหน่ายกับการที่สหรัฐฯ กำหนดเงื่อนไขกับหลายประเทศ, โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การป้องกันไม่ให้ประเทศต่างๆ ทำธุรกิจกับประเทศที่อยู่ภายใต้การคว่ำบาตรของสหรัฐฯ” “ชาติตะวันตกที่รวมกันจะพยายามไม่อนุญาตให้มีระบบทางเลือกอื่นเกิดขึ้น และชาติที่ไม่ใช่ตะวันตกก็แทบจะไม่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเลย ประเทศต่างๆมีการพึ่งพากันที่ซับซ้อน ดังนั้น, จึงไม่สามารถเขียนคำไว้อาลัยของระบบที่ดอลลาร์สหรัฐครอบงำได้ในขณะนี้ เศรษฐกิจอื่นๆจะต้องปรับปรุงจนถึงจุดที่อิทธิพลของสหรัฐฯลดลงอีก, และในกรณีนั้น ระบบทางเลือกจะเกิดขึ้นได้อย่างง่ายดาย” . Dollar’s diktat will prove its downfall once emerging powers unite – analyst Chintamani Mahapatra, founder and chairman of the Kalinga Institute of Indo-Pacific Studies: “Countries are seeking ways and means of conducting trade and business outside the US-dominated financial architecture because they are fed up with the US dictating terms to multiple countries, especially by preventing countries from doing business with countries under US sanctions.” “The combined West will try not to allow an alternative system from rising. And the non-West is hardly united. Countries have complex interdependence. Thus, one cannot write the obituary of the dollar dominated system at the moment. Other economies have to improve to a point where the relative US domination declines further, and in that case the alternative system will easily emerge.” . 11:28 PM · Oct 21, 2024 · 4,540 Views https://x.com/SputnikInt/status/1848401007660634292
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 39 มุมมอง 0 รีวิว
  • ฝันร้าย ผวา ผจญภัย สมองเสื่อม

    หมอดื้อ ได้นำข้อมูลบทความทางวิทยาศาสตร์วิชาการ ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการนอน ทั้งนอนน้อยนอนนานก็ไม่ดี งีบหลับกลางวันนานกว่าครึ่งชั่วโมงหรือ งีบบ่อยๆ ส่อ ถึงภาวะสมองเสื่อมรวมทั้งโน้มนำให้รุนแรงมากขึ้น รวมทั้งการงีบหลับแล้วสะดุ้งตื่นกลับมีปัญญาบังเกิด ทั้งหมดนี้หาอ่านได้ในไทยรัฐคอลัมน์สุขภาพพรรษาหมอดื้อ

    ทั้งนี้ จะพบว่าเรื่องของการนอนเป็นเรื่องมหัศจรรย์และเกี่ยวข้องกับสุขภาวะทางกายและทางสมอง อย่างชัดเจน ทั้งนี้ยังพ่วงเกี่ยวกับเรื่องความฝัน

    ดังที่พูดกันมาแต่โบร่ำโบราณ ว่านอนหลับฝันดีนะ เพราะในเวลาไม่นานมานี้เอง พบว่านอนแล้วฝันร้าย (nightmare) ฝันผวา (night terror) โดยที่มีพฤติกรรมหวาดกลัวถึงกับกรีดร้องหรือมีการเหวี่ยงแขนขา แบบฝันผจญภัยสุ่มเสี่ยงกับสมองไม่ดีสมองเสื่อมเร็วมากขึ้น

    รายงานในวารสารแลนเซท e clinical medicine เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2023 จาก ภาควิชาประสาทวิทยา และศูนย์ Centre for Brain Health โรงพยาบาลและ มหาวิทยาลัย เบอร์มิงแฮม ประเทศอังกฤษ พบว่าเด็กทุกคนที่เกิดมาในอังกฤษในช่วงสัปดาห์เดียวกันในปี 1958 และมีการประเมินโดยสอบถามจากมารดาเมื่อเด็กอายุได้เจ็ดขวบในปี 1965 และ 11 ขวบในปี 1969 ว่าเด็กประสบกับฝันร้ายหรือฝันผวาหรือไม่ในช่วงระยะเวลาสามเดือนที่ผ่านมา
    โดยมี จำนวนเด็ก 6991 ราย ซึ่งเป็นผู้หญิง 51% พบว่า 78.2% นั้นไม่มีฝันร้ายเลยและ 17.9% มีฝันร้ายอยู่บ้างแต่ 3.8% มีฝันร้ายเป็นประจำตลอดเวลา

    ในปี 2008 เมื่อถึงอายุครบ 50 ปีพบว่ามีถึง 262 รายที่มีความผิดปกติทางสมองพุทธิปัญญา (cognitive impairment) และห้ารายเป็น พาร์กินสัน

    ทั้งนี้หลังจากที่ปรับตัวแปรและปัจจัยร่วมต่างๆ สรุปได้ว่าการที่มีฝันร้ายเป็นประจำและยิ่งบ่อยยิ่งมากในระหว่างเป็นเด็กนั้น จะสุ่มเสี่ยงแปรตามกับการที่จะมีความผิดปกติทางสมองดังกล่าว โดยมีนัยยะสำคัญทางสถิติไม่ว่าจะเป็นผู้ชายหรือผู้หญิง
    และเมื่อเทียบกับกลุ่มที่ไม่เคยมีฝันร้ายเลย กลุ่มที่ฝันร้ายเป็นประจำนั้นจะมีความเสี่ยงสำหรับความเสื่อมทางสมองหรือโรคพาร์กินสันที่อายุ 50 ปีสูงขึ้น 85%
    หรือมีโอกาสเป็นภาวะที่เป็นสมองเสื่อมมากขึ้น 76% และมากขึ้นเจ็ดเท่าสำหรับโรคพาร์กินสัน

    โอกาสเป็นภาวะสมองเสื่อมมากขึ้นในลักษณะนี้ ยังพบได้เช่นกัน ในกลุ่มวัยกลางคนและที่สูงวัยมาก (older adults)ที่แม้ว่าจะมีสุขภาพดีก็ตาม แต่มีฝันร้ายอย่างน้อย อาทิตย์ละหนึ่งครั้ง โดยมีโอกาสเพิ่มขึ้นสี่เท่าเมื่อติดตามไปในอีกประมาณ 10 ปีข้างหน้า โดยในคนสูงวัยมากนั้น มีโอกาสเพิ่มขึ้นสองเท่า รายงานในวารสารเดียวกันจากสถาบันเดียวกันในวันที่ 21 กันยายน 2022

    รายงานนี้ ได้ทำการวิเคราะห์คนวัยกลางคนที่มีอายุระหว่าง 35 ถึง 64 ปีเป็นจำนวน 605 รายและติดตามไป 13 ปีรวมทั้งผู้สูงวัยมาก ที่อายุมากกว่าหรือเท่ากับ 79 ปีเป็นจำนวน 2600 รายและติดตามไปเจ็ดปี ทั้งนี้หลังจากที่ได้ทำการปรับปัจจัยตัวแปรต่างๆทั้งสิ้น

    และผู้วิจัยได้ตั้งสมมุติฐานที่จะอธิบายความสัมพันธ์เหล่านี้กับภาวะสมองเสื่อม

    ประการแรกก็คือมีความเป็นไปได้ที่ฝันร้ายฝันผวาเป็นอาการแรกเริ่มของโรคสมองเสื่อมแบบต่างๆทั้ง พาร์กินสัน สมองเสื่อมแบบ Lewy bodies (dementia with Lewy bodies DLB) รวมทั้ง อัลไซเมอร์ ดังที่ได้เคยมีรายงานว่าก่อนหน้า และเกิดจากความเสื่อมของสมองบริเวณหน้าผากทางด้านขวาซึ่งทำหน้าที่ในการลดทอน อารมณ์แปรปรวนในด้านลบระหว่างการฝันในช่วงที่ลูกตามีการเคลื่อนไหวเร็ว (REM sleep) ซึ่งในระยะต่อมาพบว่ายิ่งมีฝันร้ายฝันผวาในผู้ป่วยที่เป็นพาร์กินสัน จะมีความสัมพันธ์กับความเหี่ยวของสมองกลีบขมับหน้าผากทางด้านขวาทั้งที่เปลือกสมองและในสมองส่วนสีขาว (grey and white matter)
    รวมทั้งมีรายงานในระยะต่อมาว่าภาวะฝันในช่วง REM จะเกิดขึ้นก่อนหน้า ที่จะมีอาการของโรคพาร์กินสัน หรือ DLB ถึง 50 ปี แต่ทั้งนี้ความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างฝันผวาในช่วงตั้งแต่เด็กที่ประเมินตั้งแต่อายุเจ็ดขวบไม่น่าจะอธิบายว่าเด็กในอายุขณะนั้น ที่สมองกำลังมีการพัฒนาจะเกิดพยาธิสภาพผิดปกติแล้วที่อายุยังน้อยมาก

    โดยที่ ฝันร้ายฝัน ผวาต่างๆเหล่านี้อาจจะมีความสัมพันธ์เป็นเหตุหรือปัจจัยที่ทำให้เกิดสมองเสื่อม ตามหลังดังรายงานในประชากรวัยกลางคนและที่สูงวัยมาก

    โดยกลไกที่อาจเป็นไปได้จะอยู่ที่วงจรของการนอนจะไม่เป็นสุข ถูกกระตุกเป็นระยะและส่งผลให้การเคลียร์หรือระบายขยะด้วยระบบ glymphatic system ทำงานไม่เต็มที่ โดยที่ทราบกันดีแล้วว่าการนอนหลับลึกจะทำให้ท่อระบายขยะเหล่านี้กว้างขวางขึ้นอย่างน้อย 60% และการที่ระบายขยะได้ไม่ดีทำให้มีการสะสมมากขึ้น
    เรื่อย ๆ ของโปรตีนพิษบิดเกรียว อมิลอยด์ ทาว และ อัลฟ่า ซินนูคลีอิน
    และการนอนที่ไม่เป็นสุขมีฝันผวาในวัยเด็กเรื่อยมาอาจจะขัดขวางการพัฒนาทางสมอง และทำให้ต้นทุนของสมองลดน้อยถอยลงตามลำดับ และทำให้ถูกทำลายได้เร็วและมากขึ้นเมื่อมีปัจจัยอย่างอื่นเข้ามา
    กระทบ ทั้งนี้รวมทั้งปัจจัยทางด้านพันธุกรรมอีกด้วย

    แม้ว่ารายงานนี้จะเป็นการวิเคราะห์จากการติดตามระยะยาวแต่ก็ยังไม่สามารถอธิบายกลไกได้อย่างถ่องแท้ แต่ก็ไม่สามารถที่จะมองข้ามไปได้

    การผ่อนคลายหรือบรรเทาภาวะฝันร้ายฝันผวาที่เกิดขึ้นในช่วงการนอน REM ที่ประกอบด้วยทั้ง ภาพและอารมณ์ก้าวร้าว ความขัดแย้งกับบุคคลอื่น ความล้มเหลวในชีวิตและผสมปนเปไปด้วยความกลัว ความโกรธและความ เศร้าสลด อาจทำได้ด้วย พฤติกรรมบำบัด (Imagery reversal therapy) โดยนักจิตวิทยา ที่สอนให้ปรับเปลี่ยนฝันร้ายที่ส่งผลในทางลบให้ออกมาเป็นทางบวก และเปรียบเสมือนกับเป็นการวาดความฝันใหม่ และในขณะที่มีการสอนอบรมนั้นในเวลากลางวัน มีการเปิดเสียงคลอไปด้วยเพื่อสร้างจินตนภาพในทางสดใสและสร้างสรรค์และในขณะกลางคืนนั้นขณะที่หลับก็ให้มีเสียงเปิดไปด้วย
    เป็นการศึกษาโดยคณะในสวิตเซอร์แลนด์ที่ทดสอบวิธีดังกล่าวกับผู้ที่ได้รับความทรมานจากฝันร้ายเป็นจำนวน 36 รายและพบว่าได้ผล เป็นที่น่าพอใจ

    กล่าวโดยสรุปการนอนดีนอนหลับไม่ใช่เป็นแต่เพียงระยะเวลาของการนอน หกถึง 8 ชั่วโมงเท่านั้น แต่ต้องรวมถึงคุณภาพของการนอนที่หลับลึกไม่กระท่อนกระแท่นและไม่แทรกด้วยฝันร้าย ฝันผวา ฝันผจญภัย

    การเจริญสติในทางสร้างสรรค์ ไม่คิดร้ายเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เป็นหนทาง ของความสงบสุขโดยทั่ว

    ศ นพ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา
    ที่ปรึกษาวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก
    มหาวิทยาลัยรังสิต
    ฝันร้าย ผวา ผจญภัย สมองเสื่อม หมอดื้อ ได้นำข้อมูลบทความทางวิทยาศาสตร์วิชาการ ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการนอน ทั้งนอนน้อยนอนนานก็ไม่ดี งีบหลับกลางวันนานกว่าครึ่งชั่วโมงหรือ งีบบ่อยๆ ส่อ ถึงภาวะสมองเสื่อมรวมทั้งโน้มนำให้รุนแรงมากขึ้น รวมทั้งการงีบหลับแล้วสะดุ้งตื่นกลับมีปัญญาบังเกิด ทั้งหมดนี้หาอ่านได้ในไทยรัฐคอลัมน์สุขภาพพรรษาหมอดื้อ ทั้งนี้ จะพบว่าเรื่องของการนอนเป็นเรื่องมหัศจรรย์และเกี่ยวข้องกับสุขภาวะทางกายและทางสมอง อย่างชัดเจน ทั้งนี้ยังพ่วงเกี่ยวกับเรื่องความฝัน ดังที่พูดกันมาแต่โบร่ำโบราณ ว่านอนหลับฝันดีนะ เพราะในเวลาไม่นานมานี้เอง พบว่านอนแล้วฝันร้าย (nightmare) ฝันผวา (night terror) โดยที่มีพฤติกรรมหวาดกลัวถึงกับกรีดร้องหรือมีการเหวี่ยงแขนขา แบบฝันผจญภัยสุ่มเสี่ยงกับสมองไม่ดีสมองเสื่อมเร็วมากขึ้น รายงานในวารสารแลนเซท e clinical medicine เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2023 จาก ภาควิชาประสาทวิทยา และศูนย์ Centre for Brain Health โรงพยาบาลและ มหาวิทยาลัย เบอร์มิงแฮม ประเทศอังกฤษ พบว่าเด็กทุกคนที่เกิดมาในอังกฤษในช่วงสัปดาห์เดียวกันในปี 1958 และมีการประเมินโดยสอบถามจากมารดาเมื่อเด็กอายุได้เจ็ดขวบในปี 1965 และ 11 ขวบในปี 1969 ว่าเด็กประสบกับฝันร้ายหรือฝันผวาหรือไม่ในช่วงระยะเวลาสามเดือนที่ผ่านมา โดยมี จำนวนเด็ก 6991 ราย ซึ่งเป็นผู้หญิง 51% พบว่า 78.2% นั้นไม่มีฝันร้ายเลยและ 17.9% มีฝันร้ายอยู่บ้างแต่ 3.8% มีฝันร้ายเป็นประจำตลอดเวลา ในปี 2008 เมื่อถึงอายุครบ 50 ปีพบว่ามีถึง 262 รายที่มีความผิดปกติทางสมองพุทธิปัญญา (cognitive impairment) และห้ารายเป็น พาร์กินสัน ทั้งนี้หลังจากที่ปรับตัวแปรและปัจจัยร่วมต่างๆ สรุปได้ว่าการที่มีฝันร้ายเป็นประจำและยิ่งบ่อยยิ่งมากในระหว่างเป็นเด็กนั้น จะสุ่มเสี่ยงแปรตามกับการที่จะมีความผิดปกติทางสมองดังกล่าว โดยมีนัยยะสำคัญทางสถิติไม่ว่าจะเป็นผู้ชายหรือผู้หญิง และเมื่อเทียบกับกลุ่มที่ไม่เคยมีฝันร้ายเลย กลุ่มที่ฝันร้ายเป็นประจำนั้นจะมีความเสี่ยงสำหรับความเสื่อมทางสมองหรือโรคพาร์กินสันที่อายุ 50 ปีสูงขึ้น 85% หรือมีโอกาสเป็นภาวะที่เป็นสมองเสื่อมมากขึ้น 76% และมากขึ้นเจ็ดเท่าสำหรับโรคพาร์กินสัน โอกาสเป็นภาวะสมองเสื่อมมากขึ้นในลักษณะนี้ ยังพบได้เช่นกัน ในกลุ่มวัยกลางคนและที่สูงวัยมาก (older adults)ที่แม้ว่าจะมีสุขภาพดีก็ตาม แต่มีฝันร้ายอย่างน้อย อาทิตย์ละหนึ่งครั้ง โดยมีโอกาสเพิ่มขึ้นสี่เท่าเมื่อติดตามไปในอีกประมาณ 10 ปีข้างหน้า โดยในคนสูงวัยมากนั้น มีโอกาสเพิ่มขึ้นสองเท่า รายงานในวารสารเดียวกันจากสถาบันเดียวกันในวันที่ 21 กันยายน 2022 รายงานนี้ ได้ทำการวิเคราะห์คนวัยกลางคนที่มีอายุระหว่าง 35 ถึง 64 ปีเป็นจำนวน 605 รายและติดตามไป 13 ปีรวมทั้งผู้สูงวัยมาก ที่อายุมากกว่าหรือเท่ากับ 79 ปีเป็นจำนวน 2600 รายและติดตามไปเจ็ดปี ทั้งนี้หลังจากที่ได้ทำการปรับปัจจัยตัวแปรต่างๆทั้งสิ้น และผู้วิจัยได้ตั้งสมมุติฐานที่จะอธิบายความสัมพันธ์เหล่านี้กับภาวะสมองเสื่อม ประการแรกก็คือมีความเป็นไปได้ที่ฝันร้ายฝันผวาเป็นอาการแรกเริ่มของโรคสมองเสื่อมแบบต่างๆทั้ง พาร์กินสัน สมองเสื่อมแบบ Lewy bodies (dementia with Lewy bodies DLB) รวมทั้ง อัลไซเมอร์ ดังที่ได้เคยมีรายงานว่าก่อนหน้า และเกิดจากความเสื่อมของสมองบริเวณหน้าผากทางด้านขวาซึ่งทำหน้าที่ในการลดทอน อารมณ์แปรปรวนในด้านลบระหว่างการฝันในช่วงที่ลูกตามีการเคลื่อนไหวเร็ว (REM sleep) ซึ่งในระยะต่อมาพบว่ายิ่งมีฝันร้ายฝันผวาในผู้ป่วยที่เป็นพาร์กินสัน จะมีความสัมพันธ์กับความเหี่ยวของสมองกลีบขมับหน้าผากทางด้านขวาทั้งที่เปลือกสมองและในสมองส่วนสีขาว (grey and white matter) รวมทั้งมีรายงานในระยะต่อมาว่าภาวะฝันในช่วง REM จะเกิดขึ้นก่อนหน้า ที่จะมีอาการของโรคพาร์กินสัน หรือ DLB ถึง 50 ปี แต่ทั้งนี้ความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างฝันผวาในช่วงตั้งแต่เด็กที่ประเมินตั้งแต่อายุเจ็ดขวบไม่น่าจะอธิบายว่าเด็กในอายุขณะนั้น ที่สมองกำลังมีการพัฒนาจะเกิดพยาธิสภาพผิดปกติแล้วที่อายุยังน้อยมาก โดยที่ ฝันร้ายฝัน ผวาต่างๆเหล่านี้อาจจะมีความสัมพันธ์เป็นเหตุหรือปัจจัยที่ทำให้เกิดสมองเสื่อม ตามหลังดังรายงานในประชากรวัยกลางคนและที่สูงวัยมาก โดยกลไกที่อาจเป็นไปได้จะอยู่ที่วงจรของการนอนจะไม่เป็นสุข ถูกกระตุกเป็นระยะและส่งผลให้การเคลียร์หรือระบายขยะด้วยระบบ glymphatic system ทำงานไม่เต็มที่ โดยที่ทราบกันดีแล้วว่าการนอนหลับลึกจะทำให้ท่อระบายขยะเหล่านี้กว้างขวางขึ้นอย่างน้อย 60% และการที่ระบายขยะได้ไม่ดีทำให้มีการสะสมมากขึ้น เรื่อย ๆ ของโปรตีนพิษบิดเกรียว อมิลอยด์ ทาว และ อัลฟ่า ซินนูคลีอิน และการนอนที่ไม่เป็นสุขมีฝันผวาในวัยเด็กเรื่อยมาอาจจะขัดขวางการพัฒนาทางสมอง และทำให้ต้นทุนของสมองลดน้อยถอยลงตามลำดับ และทำให้ถูกทำลายได้เร็วและมากขึ้นเมื่อมีปัจจัยอย่างอื่นเข้ามา กระทบ ทั้งนี้รวมทั้งปัจจัยทางด้านพันธุกรรมอีกด้วย แม้ว่ารายงานนี้จะเป็นการวิเคราะห์จากการติดตามระยะยาวแต่ก็ยังไม่สามารถอธิบายกลไกได้อย่างถ่องแท้ แต่ก็ไม่สามารถที่จะมองข้ามไปได้ การผ่อนคลายหรือบรรเทาภาวะฝันร้ายฝันผวาที่เกิดขึ้นในช่วงการนอน REM ที่ประกอบด้วยทั้ง ภาพและอารมณ์ก้าวร้าว ความขัดแย้งกับบุคคลอื่น ความล้มเหลวในชีวิตและผสมปนเปไปด้วยความกลัว ความโกรธและความ เศร้าสลด อาจทำได้ด้วย พฤติกรรมบำบัด (Imagery reversal therapy) โดยนักจิตวิทยา ที่สอนให้ปรับเปลี่ยนฝันร้ายที่ส่งผลในทางลบให้ออกมาเป็นทางบวก และเปรียบเสมือนกับเป็นการวาดความฝันใหม่ และในขณะที่มีการสอนอบรมนั้นในเวลากลางวัน มีการเปิดเสียงคลอไปด้วยเพื่อสร้างจินตนภาพในทางสดใสและสร้างสรรค์และในขณะกลางคืนนั้นขณะที่หลับก็ให้มีเสียงเปิดไปด้วย เป็นการศึกษาโดยคณะในสวิตเซอร์แลนด์ที่ทดสอบวิธีดังกล่าวกับผู้ที่ได้รับความทรมานจากฝันร้ายเป็นจำนวน 36 รายและพบว่าได้ผล เป็นที่น่าพอใจ กล่าวโดยสรุปการนอนดีนอนหลับไม่ใช่เป็นแต่เพียงระยะเวลาของการนอน หกถึง 8 ชั่วโมงเท่านั้น แต่ต้องรวมถึงคุณภาพของการนอนที่หลับลึกไม่กระท่อนกระแท่นและไม่แทรกด้วยฝันร้าย ฝันผวา ฝันผจญภัย การเจริญสติในทางสร้างสรรค์ ไม่คิดร้ายเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เป็นหนทาง ของความสงบสุขโดยทั่ว ศ นพ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ที่ปรึกษาวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต
    Like
    4
    0 ความคิดเห็น 1 การแบ่งปัน 382 มุมมอง 0 รีวิว
  • 🧵💲 เหตุการณ์สำคัญใดบ้างที่นำไปสู่การล่มสลายของระบบดอลลาร์ทั่วโลก?

    การประชุมประจำปี ๒๐๒๔ ของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) และกลุ่มธนาคารโลก (WBG) จะเปิดขึ้นในวันที่ ๒๑ ตุลาคม เพื่อมุ่งเน้นไปที่หนี้สาธารณะทั่วโลกที่พุ่งสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว, ซึ่งคาดว่าจะสูงถึง ๑๐๐ ล้านล้านดอลลาร์ภายในสิ้นปีนี้ หนี้, ส่วนใหญ่, เกิดจากการกู้ยืมเงินของสหรัฐฯมากเกินไป, โดยปัจจุบันหนี้ของรัฐบาลอยู่ที่ ๓๕.๖๘ ล้านล้านดอลลาร์
    .
    ในขณะเดียวกัน, ส่วนแบ่งของสหรัฐฯในเศรษฐกิจโลกที่คำนวณโดยใช้ความเท่าเทียมของอำนาจซื้อได้แตะระดับต่ำสุดในประวัติศาสตร์, โดยร่วงลงต่ำกว่า ๑๕%, จากการวิเคราะห์ของธนาคารโลกและกองทุนการเงินระหว่างประเทศของสปุตนิก คาดว่าจะลดลงอีก, โดยแตะระดับ ๑๔.๗๖% เมื่อสิ้นสุดวาระของประธานาธิบดีโจ ไบเดน
    .
    ระบบการเงินของสหรัฐฯและระบบดอลลาร์ทั่วโลก เริ่มสูญเสียอิทธิพลเมื่อใด?

    ◻️ สหรัฐฯคาดว่ามี ๔๘-๕๒% ของ GDP ทั่วโลก และประมาณ ๖๐% ของการผลิตภาคอุตสาหกรรมทั่วโลกในปี ๑๙๔๔
    .
    ◻️ อเมริกาได้รับสถานะมหาอำนาจทางเศรษฐกิจเมื่อสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ ๒, เมื่อมีการสร้างระบบการเงินระหว่างประเทศที่เรียกว่าระบบเบรตตันวูดส์ขึ้นในเดือนกรกฎาคม ๑๙๔๔ การประชุมเบรตตันวูดส์ได้แต่งตั้งให้ดอลลาร์สหรัฐฯเป็นสกุลเงินสำรองของโลกอย่างเป็นทางการ, โดยมีทองคำสำรองที่ใหญ่ที่สุดในโลกหนุนหลังอยู่ สกุลเงินอื่นๆจะถูกผูกไว้กับค่าของดอลลาร์สหรัฐฯ
    .
    ◻️ กฎเกณฑ์ระหว่างประเทศสำหรับการค้าระหว่างประเทศได้ถูกกำหนดไว้ในข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า (GATT) ในปี ๑๙๔๗ ในปี ๑๙๙๕, ข้อตกลงดังกล่าวได้ถูกแปลงเป็นองค์การการค้าโลก (WTO) สหรัฐอเมริกาใช้ "เครื่องมือ" เหล่านี้เพื่อรักษาอิทธิพลทางภูมิรัฐศาสตร์ในยุโรปและญี่ปุ่น ยุโรปตะวันออก, สหภาพโซเวียต, และจีน ยังคงอยู่ภายนอกเขตการขยายตัวของอเมริกา
    .
    ◻️ ภายใต้แผนการมาร์แชลล์, สหรัฐฯจัดสรรเงิน, โดยส่วนใหญ่อยู่ในรูปแบบของเงินช่วยเหลือ, เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจยุโรปที่ได้รับผลกระทบจากสงคราม ในเวลาเดียวกัน, สหรัฐฯยังได้ส่งคำสั่งซื้อที่ทำกำไรมหาศาลให้กับบริษัทในอเมริกา, กระตุ้นเศรษฐกิจของตนเองไปพร้อมกับเสริมสร้างอิทธิพลที่มีต่อระบบเศรษฐกิจของยุโรปตะวันตก ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศของสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นจากประมาณ ๒๐๐ พันล้านดอลลาร์ในปี ๑๙๔๐ เป็นมากกว่า ๕๐๐ พันล้านดอลลาร์ในปี ๑๙๖๐
    .
    🧵💲 What were the milestones leading to the global dollar system’s collapse?

    The 2024 Annual Meetings of the International Monetary Fund (IMF) and the World Bank Group (WBG) are opening on October 21 to focus on skyrocketing global public debt, which is expected to reach $100 trillion by the end of this year. The debt, in large part, is driven by the borrowing binge of the US, where the government debt currently stands at $35.68 trillion.
    .
    Meanwhile, the US’ share of the global economy calculated using purchasing power parity has reached a historic low, plunging below 15%, Sputnik’s analysis of World Bank and IMF calculations has showed. It is expected to sag further, to reach 14.76% by the end of President Joe Biden's term.
    .
    When did US finances and the global dollar system start losing clout?

    ◻️ The US is estimated to have accounted for 48-52% of global GDP and about 60% of global industrial production in 1944.
    .
    ◻️ America secured its economic superpower status at the end of WWII, when the international monetary system known as the Bretton Woods system was forged in July 1944. The Bretton Woods Conference officially crowned the US dollar as the global reserve currency, backed by the world’s largest gold reserves. Other currencies were pegged to the US dollar’s value.
    .
    ◻️ International rules for foreign trade were laid out in the General Agreement on Tariffs and Trade (GATT) in 1947. In 1995, the agreement was transformed into the WTO. The US wielded these “tools” to secure geopolitical influence across Europe and Japan. Eastern Europe, the USSR, and China remained outside the zone of American expansion.
    .
    ◻️ Under the Marshall Plan, the US provided money, chiefly in the form of grants, to rebuild war-ravaged European economies. At the same time, it funneled lucrative orders to American companies, stimulating its own economy while solidifying its influence over Western Europe's economic systems. US gross national product rose from about $200 billion in 1940 to more than $500 billion in 1960.
    .
    10:27 PM · Oct 21, 2024 · 8,506 Views
    https://x.com/SputnikInt/status/1848385613361225740
    🧵💲 เหตุการณ์สำคัญใดบ้างที่นำไปสู่การล่มสลายของระบบดอลลาร์ทั่วโลก? การประชุมประจำปี ๒๐๒๔ ของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) และกลุ่มธนาคารโลก (WBG) จะเปิดขึ้นในวันที่ ๒๑ ตุลาคม เพื่อมุ่งเน้นไปที่หนี้สาธารณะทั่วโลกที่พุ่งสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว, ซึ่งคาดว่าจะสูงถึง ๑๐๐ ล้านล้านดอลลาร์ภายในสิ้นปีนี้ หนี้, ส่วนใหญ่, เกิดจากการกู้ยืมเงินของสหรัฐฯมากเกินไป, โดยปัจจุบันหนี้ของรัฐบาลอยู่ที่ ๓๕.๖๘ ล้านล้านดอลลาร์ . ในขณะเดียวกัน, ส่วนแบ่งของสหรัฐฯในเศรษฐกิจโลกที่คำนวณโดยใช้ความเท่าเทียมของอำนาจซื้อได้แตะระดับต่ำสุดในประวัติศาสตร์, โดยร่วงลงต่ำกว่า ๑๕%, จากการวิเคราะห์ของธนาคารโลกและกองทุนการเงินระหว่างประเทศของสปุตนิก คาดว่าจะลดลงอีก, โดยแตะระดับ ๑๔.๗๖% เมื่อสิ้นสุดวาระของประธานาธิบดีโจ ไบเดน . ระบบการเงินของสหรัฐฯและระบบดอลลาร์ทั่วโลก เริ่มสูญเสียอิทธิพลเมื่อใด? ◻️ สหรัฐฯคาดว่ามี ๔๘-๕๒% ของ GDP ทั่วโลก และประมาณ ๖๐% ของการผลิตภาคอุตสาหกรรมทั่วโลกในปี ๑๙๔๔ . ◻️ อเมริกาได้รับสถานะมหาอำนาจทางเศรษฐกิจเมื่อสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ ๒, เมื่อมีการสร้างระบบการเงินระหว่างประเทศที่เรียกว่าระบบเบรตตันวูดส์ขึ้นในเดือนกรกฎาคม ๑๙๔๔ การประชุมเบรตตันวูดส์ได้แต่งตั้งให้ดอลลาร์สหรัฐฯเป็นสกุลเงินสำรองของโลกอย่างเป็นทางการ, โดยมีทองคำสำรองที่ใหญ่ที่สุดในโลกหนุนหลังอยู่ สกุลเงินอื่นๆจะถูกผูกไว้กับค่าของดอลลาร์สหรัฐฯ . ◻️ กฎเกณฑ์ระหว่างประเทศสำหรับการค้าระหว่างประเทศได้ถูกกำหนดไว้ในข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า (GATT) ในปี ๑๙๔๗ ในปี ๑๙๙๕, ข้อตกลงดังกล่าวได้ถูกแปลงเป็นองค์การการค้าโลก (WTO) สหรัฐอเมริกาใช้ "เครื่องมือ" เหล่านี้เพื่อรักษาอิทธิพลทางภูมิรัฐศาสตร์ในยุโรปและญี่ปุ่น ยุโรปตะวันออก, สหภาพโซเวียต, และจีน ยังคงอยู่ภายนอกเขตการขยายตัวของอเมริกา . ◻️ ภายใต้แผนการมาร์แชลล์, สหรัฐฯจัดสรรเงิน, โดยส่วนใหญ่อยู่ในรูปแบบของเงินช่วยเหลือ, เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจยุโรปที่ได้รับผลกระทบจากสงคราม ในเวลาเดียวกัน, สหรัฐฯยังได้ส่งคำสั่งซื้อที่ทำกำไรมหาศาลให้กับบริษัทในอเมริกา, กระตุ้นเศรษฐกิจของตนเองไปพร้อมกับเสริมสร้างอิทธิพลที่มีต่อระบบเศรษฐกิจของยุโรปตะวันตก ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศของสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นจากประมาณ ๒๐๐ พันล้านดอลลาร์ในปี ๑๙๔๐ เป็นมากกว่า ๕๐๐ พันล้านดอลลาร์ในปี ๑๙๖๐ . 🧵💲 What were the milestones leading to the global dollar system’s collapse? The 2024 Annual Meetings of the International Monetary Fund (IMF) and the World Bank Group (WBG) are opening on October 21 to focus on skyrocketing global public debt, which is expected to reach $100 trillion by the end of this year. The debt, in large part, is driven by the borrowing binge of the US, where the government debt currently stands at $35.68 trillion. . Meanwhile, the US’ share of the global economy calculated using purchasing power parity has reached a historic low, plunging below 15%, Sputnik’s analysis of World Bank and IMF calculations has showed. It is expected to sag further, to reach 14.76% by the end of President Joe Biden's term. . When did US finances and the global dollar system start losing clout? ◻️ The US is estimated to have accounted for 48-52% of global GDP and about 60% of global industrial production in 1944. . ◻️ America secured its economic superpower status at the end of WWII, when the international monetary system known as the Bretton Woods system was forged in July 1944. The Bretton Woods Conference officially crowned the US dollar as the global reserve currency, backed by the world’s largest gold reserves. Other currencies were pegged to the US dollar’s value. . ◻️ International rules for foreign trade were laid out in the General Agreement on Tariffs and Trade (GATT) in 1947. In 1995, the agreement was transformed into the WTO. The US wielded these “tools” to secure geopolitical influence across Europe and Japan. Eastern Europe, the USSR, and China remained outside the zone of American expansion. . ◻️ Under the Marshall Plan, the US provided money, chiefly in the form of grants, to rebuild war-ravaged European economies. At the same time, it funneled lucrative orders to American companies, stimulating its own economy while solidifying its influence over Western Europe's economic systems. US gross national product rose from about $200 billion in 1940 to more than $500 billion in 1960. . 10:27 PM · Oct 21, 2024 · 8,506 Views https://x.com/SputnikInt/status/1848385613361225740
    Like
    Wow
    2
    8 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 817 มุมมอง 0 รีวิว
  • ระบบการสื่อสารของท่าเรือไฮฟาของอิสราเอลถูกแฮ็ก และมีการแจ้งเตือนว่าใกล้แล้วที่จะมีการโจมตีท่าเรือด้วยขีปนาวุธ – Kann
    .
    ⚡️JUST IN

    The communication systems of the Israeli port of Haifa are hacked and warning of an imminent missile strike on the port – Kann
    .
    12:03 AM · Oct 22, 2024 · 222.4K Views
    https://x.com/IranObserver0/status/1848409742177407418
    ระบบการสื่อสารของท่าเรือไฮฟาของอิสราเอลถูกแฮ็ก และมีการแจ้งเตือนว่าใกล้แล้วที่จะมีการโจมตีท่าเรือด้วยขีปนาวุธ – Kann . ⚡️JUST IN The communication systems of the Israeli port of Haifa are hacked and warning of an imminent missile strike on the port – Kann . 12:03 AM · Oct 22, 2024 · 222.4K Views https://x.com/IranObserver0/status/1848409742177407418
    Like
    Haha
    Wow
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 26 มุมมอง 0 รีวิว
  • ระบบป้องกันขีปนาวุธพิสัยไกลอาร์มานของอิหร่านเข้าสู่ระยะทดสอบปฏิบัติการแล้ว, ตามภาพถ่ายดาวเทียม

    อาร์มานสามารถตรวจจับขีปนาวุธและโดรนได้ในระยะ ๑๘๐ กิโลเมตร
    .
    ⚡️BREAKING

    Iran's Arman Ballistic Missile Defence System has reached the Operational Test Phase, according to Satellite Images

    Arman can detect missiles and drones at a range of 180 kilometres
    .
    8:30 PM · Oct 21, 2024 · 212.4K Views
    https://x.com/IranObserver0/status/1848356241979924893
    ระบบป้องกันขีปนาวุธพิสัยไกลอาร์มานของอิหร่านเข้าสู่ระยะทดสอบปฏิบัติการแล้ว, ตามภาพถ่ายดาวเทียม อาร์มานสามารถตรวจจับขีปนาวุธและโดรนได้ในระยะ ๑๘๐ กิโลเมตร . ⚡️BREAKING Iran's Arman Ballistic Missile Defence System has reached the Operational Test Phase, according to Satellite Images Arman can detect missiles and drones at a range of 180 kilometres . 8:30 PM · Oct 21, 2024 · 212.4K Views https://x.com/IranObserver0/status/1848356241979924893
    Like
    3
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 40 มุมมอง 0 รีวิว
  • “ วัคซีนโควิดปลอดภัยในสตรีตั้งครรภ์จริงหรือ ? “

    รวบรวมข้อมูลจาก CDC/FDA Vaccine Adverse Event Reporting System (VAERS) ตั้งแต่ 1 มกราคม 1990 ถึง 26 เมษายน 2024 เพื่อดูผลข้างเคียง (adverse effect, AE) ของวัคซีนโควิดที่มีต่อสตรีตั้งครรภ์เมื่อเทียบกับวัคซีนชนิดอื่น รวมระยะเวลาทั้งหมด 412 เดือน ยกเว้นวัคซีนโควิดที่เก็บรวบรวมได้แค่ 40 เดือนจาก 412 เดือน (1 ธันวาคม 2020 ถึง 26 เมษายน April 2024) โดยดู proportional reporting ratios (PRR) ตามระยะเวลา เปรียบเทียบ AEs ระหว่างวัคซีนโควิดที่มีต่อสตรีตั้งครรภ์กับวัคซีนชนิดอื่น ในกรณีที่หา PRR ไม่ได้ก็ใช้ Chi-square analysis และ Fisher’s exact tests แทน โดยยึดข้อกำหนดตาม CDC/FDA safety concern คือต้องระวังเรื่องความปลอดภัย ถ้า PRR ≥ 2 หรือ Chi-square ≥ 4

    พบ 37 AE จากการฉีดวัคซีนโควิดในผู้ตั้งครรภ์ ได้แก่ : miscarriage, fetal chromosomal abnormality, fetal malformation, cervical insufficiency, premature rupture of membranes, premature labor, premature delivery, placental calcification, placental infarction, placental thrombosis, placenta accreta, placental abruption, placental insufficiency, placental disorder, fetal maternal hemorrhage, fetal growth restriction, reduced amniotic fluid volume, preeclampsia, fetal heart rate abnormality, fetal cardiac disorder, fetal vascular mal-perfusion, fetal arrhythmia, fetal distress, fetal biophysical profile abnormal, hemorrhage in pregnancy, fetal cardiac arrest, fetal death (stillbirth), premature infant death, neonatal asphyxia, neonatal dyspnea, neonatal infection, neonatal hemorrhage, insufficient breast milk, neonatal pneumonia, neonatal respiratory distress, neonatal respiratory distress syndrome, neonatal seizure.

    ขออนุญาตไม่แปลเป็นภาษาไทยทั้งหมดเพราะอาจสื่อความหมายได้ไม่ชัดเจน แต่สำหรับผู้ที่สนใจหาข้อมูลก็สามารถหาคำแปลภาวะต่างๆด้านบนได้ไม่ยาก

    Summary statistics for the deviation from the CDC/FDA safety signals mean (n, range) เป็นดังนี้ : PRR 69.3 (46, 5.37 - 499); z statistic 9.64 (46, 3.29 - 27.0); และ Chi-square was 74.7 (26, 28.9 - 148)

    จะเห็นได้ว่าผลข้างเคียงจากวัคซีนโควิดในสตรีตั้งครรภ์สูงกว่า safety concern ที่ CDC/FDA กำหนดไว้มาก

    และมีอีก 1 รายงานผลกระทบจากการฉีดวัคซีนโควิดที่มีต่อสตรีมีครรภ์จากการรวบรวมเคส 438 รายในประเทศซาอุดิอาระเบียช่วง มีค.-พค. 2022 โดยแบ่งกลุ่มศึกษาเป็น 2 กลุ่ม กลุ่ม A คือสตรีมีครรภ์ที่ไม่ได้รับวัคซีนเลยแม้แต่เข็มเดียว กลุ่ม B คือได้รับวัคซีนโควิดอย่างน้อย 1 เข็ม

    พบว่ากลุ่ม B มีอัตราการแท้ง น้ำคร่ำน้อย รกผิดปกติ การเจริญเติบโตของทารกผิดปกติ มีปัญหาเรื่องการให้นม ความดันโลหิตสูง อาการอื่นๆทางระบบ เช่น อ่อนเพลียปวดหัวเจ็บหน้าอก การหายใจมีปัญหา มีปัญหาการนอนหลับ มากกว่ากลุ่ม A อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

    เรียบเรียงโดย นพ.ดร. ชลธวัช สุวรรณปิยะศิริ

    Reference :

    https://www.preprints.org/manuscript/202406.2062/v1

    https://journals.sagepub.com/doi/epdf/10.1177/25151355241285594?utm_source=substack&utm_medium=email
    “ วัคซีนโควิดปลอดภัยในสตรีตั้งครรภ์จริงหรือ ? “ รวบรวมข้อมูลจาก CDC/FDA Vaccine Adverse Event Reporting System (VAERS) ตั้งแต่ 1 มกราคม 1990 ถึง 26 เมษายน 2024 เพื่อดูผลข้างเคียง (adverse effect, AE) ของวัคซีนโควิดที่มีต่อสตรีตั้งครรภ์เมื่อเทียบกับวัคซีนชนิดอื่น รวมระยะเวลาทั้งหมด 412 เดือน ยกเว้นวัคซีนโควิดที่เก็บรวบรวมได้แค่ 40 เดือนจาก 412 เดือน (1 ธันวาคม 2020 ถึง 26 เมษายน April 2024) โดยดู proportional reporting ratios (PRR) ตามระยะเวลา เปรียบเทียบ AEs ระหว่างวัคซีนโควิดที่มีต่อสตรีตั้งครรภ์กับวัคซีนชนิดอื่น ในกรณีที่หา PRR ไม่ได้ก็ใช้ Chi-square analysis และ Fisher’s exact tests แทน โดยยึดข้อกำหนดตาม CDC/FDA safety concern คือต้องระวังเรื่องความปลอดภัย ถ้า PRR ≥ 2 หรือ Chi-square ≥ 4 พบ 37 AE จากการฉีดวัคซีนโควิดในผู้ตั้งครรภ์ ได้แก่ : miscarriage, fetal chromosomal abnormality, fetal malformation, cervical insufficiency, premature rupture of membranes, premature labor, premature delivery, placental calcification, placental infarction, placental thrombosis, placenta accreta, placental abruption, placental insufficiency, placental disorder, fetal maternal hemorrhage, fetal growth restriction, reduced amniotic fluid volume, preeclampsia, fetal heart rate abnormality, fetal cardiac disorder, fetal vascular mal-perfusion, fetal arrhythmia, fetal distress, fetal biophysical profile abnormal, hemorrhage in pregnancy, fetal cardiac arrest, fetal death (stillbirth), premature infant death, neonatal asphyxia, neonatal dyspnea, neonatal infection, neonatal hemorrhage, insufficient breast milk, neonatal pneumonia, neonatal respiratory distress, neonatal respiratory distress syndrome, neonatal seizure. ขออนุญาตไม่แปลเป็นภาษาไทยทั้งหมดเพราะอาจสื่อความหมายได้ไม่ชัดเจน แต่สำหรับผู้ที่สนใจหาข้อมูลก็สามารถหาคำแปลภาวะต่างๆด้านบนได้ไม่ยาก Summary statistics for the deviation from the CDC/FDA safety signals mean (n, range) เป็นดังนี้ : PRR 69.3 (46, 5.37 - 499); z statistic 9.64 (46, 3.29 - 27.0); และ Chi-square was 74.7 (26, 28.9 - 148) จะเห็นได้ว่าผลข้างเคียงจากวัคซีนโควิดในสตรีตั้งครรภ์สูงกว่า safety concern ที่ CDC/FDA กำหนดไว้มาก และมีอีก 1 รายงานผลกระทบจากการฉีดวัคซีนโควิดที่มีต่อสตรีมีครรภ์จากการรวบรวมเคส 438 รายในประเทศซาอุดิอาระเบียช่วง มีค.-พค. 2022 โดยแบ่งกลุ่มศึกษาเป็น 2 กลุ่ม กลุ่ม A คือสตรีมีครรภ์ที่ไม่ได้รับวัคซีนเลยแม้แต่เข็มเดียว กลุ่ม B คือได้รับวัคซีนโควิดอย่างน้อย 1 เข็ม พบว่ากลุ่ม B มีอัตราการแท้ง น้ำคร่ำน้อย รกผิดปกติ การเจริญเติบโตของทารกผิดปกติ มีปัญหาเรื่องการให้นม ความดันโลหิตสูง อาการอื่นๆทางระบบ เช่น อ่อนเพลียปวดหัวเจ็บหน้าอก การหายใจมีปัญหา มีปัญหาการนอนหลับ มากกว่ากลุ่ม A อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เรียบเรียงโดย นพ.ดร. ชลธวัช สุวรรณปิยะศิริ Reference : https://www.preprints.org/manuscript/202406.2062/v1 https://journals.sagepub.com/doi/epdf/10.1177/25151355241285594?utm_source=substack&utm_medium=email
    WWW.PREPRINTS.ORG
    Are COVID-19 Vaccines in Pregnancy as Safe and Effective as the U.S. Government, Medical Organizations, and Pharmaceutical Industry Claim? Part I
    Introduction: In Part I of this three-part series we report a retrospective, population-based cohort study assessing rates of adverse events (AEs) in pregnancy after COVID-19 vaccines compared to the same AEs after influenza vaccines and after all other vaccines. Methods: Data were collected from the U.S. Centers for Disease Control and prevention (CDC) and the U.S. Food and Drug Administration (FDA). The CDC/FDA Vaccine Adverse Event Reporting System (VAERS) database was queried from January 1, 1990, to April 26, 2024, for adverse events (AEs) involving pregnancy complications following COVID-19 vaccination. The time-period included 412 months for all vaccines except COVID-19 vaccines, having been used for only 40 of the 412 months (December 1, 2020, to April 26, 2024). Proportional reporting ratios (PRR) by time compared AEs after COVID-19 vaccination to those after influenza vaccination, and after all other vaccine products administered to pregnant women. In cases in which the PRR was not applicable, Chi-square analysis and Fisher’s exact tests were used according to CDC/FDA guidance. CDC/FDA stipulate a safety concern if a PRR is ≥ 2 or if a Chi-square is ≥ 4. Results: The CDC/FDA’s safety signals were breached for all 37 AEs following COVID-19 vaccination in pregnancy: miscarriage, fetal chromosomal abnormality, fetal malformation, cervical insufficiency, premature rupture of membranes, premature labor, premature delivery, placental calcification, placental infarction, placental thrombosis, placenta accreta, placental abruption, placental insufficiency, placental disorder, fetal maternal hemorrhage, fetal growth restriction, reduced amniotic fluid volume, preeclampsia, fetal heart rate abnormality, fetal cardiac disorder, fetal vascular mal-perfusion, fetal arrhythmia, fetal distress, fetal biophysical profile abnormal, hemorrhage in pregnancy, fetal cardiac arrest, fetal death (stillbirth), premature infant death, neonatal asphyxia, neonatal dyspnea, neonatal infection, neonatal hemorrhage, insufficient breast milk, neonatal pneumonia, neonatal respiratory distress, neonatal respiratory distress syndrome, and neonatal seizure. All p values were ≤ 0.001 with the majority being
    Like
    6
    1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 339 มุมมอง 0 รีวิว
  • วารสารถูกตั้งคำถามว่ามีความเที่ยงตรงหรือไม่?

    ในระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา วงการวิชาการ อาทิ แพทย์ วิทยาศาสตร์เป็นต้น จะให้ความเชื่อถือว่า บทความใดที่ตีพิมพ์ในวารสาร ที่เรียกว่า peer reviewed journal เป็นที่เชื่อถือได้
    เพราะมีคณะกรรมการที่อ่าน บทความ และพิจารณาหลักฐานที่มากระบวนการศึกษา และจะทำการให้ความเห็นว่า จะไม่รับ หรือรับ แต่มีเงื่อนไข ประเด็นต้องแก้ไขใหญ่ หรือเล็ก หรือต้องมีการทำการทดลองใหม่ในบางส่วนหรือไม่
    วารสารที่มีชื่อเหล่านี้จะถูกนำไปอ้างอิงในวงวิชาการต่างๆทำให้รับรู้กันทั่วไป

    ในการส่งบทความเพื่อ ไปตีพิมพ์ในวารสารนั้น
    ผู้วิจัยจะต้องประกาศว่ามีผลประโยชน์ใดหรือไม่อย่างไร กับ บริษัทผลิตภัณฑ์ ยา วัคซีน รวมทั้งได้ค่าตอบแทนในรูปลักษณะใด ไม่ว่าจะเป็นที่ปรึกษา รับเงิน หรือสิ่งตอบแทน รวมค่าเดินทางค่าที่พัก เวลาไปบรรยายในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้นๆ และเชื่อมโยงมาถึงการใช้ผลิตภัณฑ์หรือวัคซีนเป็นต้น

    แต่กรรมการผู้พิจารณา กลับไม่ต้องมีการแจงรายละเอียดชัดเจน เหล่านี้อาจมีเพียงแต่ว่า มีประเด็นที่ขัดแย้ง กับผู้ส่งบทความหรือผู้ทำวิจัย หรือไม่ หรือทำวิจัยในเรื่องเดียวกัน ที่อาจจะเป็นการนำข้อมูลดังกล่าวไปใช้ประโยชน์ส่วนตนได้

    บทความนี้ที่ตีพิมพ์ในวารสารสมาคมแพทย์อเมริกัน (journal of American Medical Association JAMA) วันที่ 10 ตุลาคม 2024 ได้รายงานถึงหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับกรรมการผู้พิจารณาบทความ (reviewers) ว่า แท้จริงแล้ว เกินครึ่งของบุคคลกรรมการเหล่านี้ ต่างได้รับเงินสนับสนุนในการศึกษาวิจัย หรือเงินสนับสนุนในด้านผลิตภัณฑ์เครื่องมือ ต่างๆ จากบริษัทที่ตรงมาเข้าบุคคลนั้น หรือที่เข้ามายังบุคคลนั้น และสถาบันที่บุคคลนั้นอยู่

    และเป็นประเด็นที่ตั้งคำถามถึง ความเที่ยงตรง integrity และ ความมีอิสระเที่ยงตรงในการตัดสิน ในการที่จะไม่รับ หรือรับตีพิมพ์บทความที่ส่งเข้ามา

    และหลังจากที่มีการเปิดเผยข้อมูลดังกล่าว มีนักวิชาการและนักวิทยาศาสตร์ จากหลายสถาบัน ในต่างประเทศ รวมทั้งในสหรัฐอเมริกา ยุโรป และอังกฤษ ต่างให้ข้อมูลที่ตนเองประสบและถ่ายทอดในสื่อต่างๆโดยเฉพาะที่ประสบในช่วงโควิด
    ที่เกี่ยวข้องกับการไม่ให้ลงตีพิมพ์ การใช้ยาบางตัว ที่มีการทดสอบแล้วว่าได้ผลทั้งๆที่ราคาถูก เข้าถึงได้ และจนกระทั่งถึงงานที่ตีพิมพ์ไปแล้วแต่บรรณาธิการถอดออก และ ที่สำคัญก็คือเรื่องผลกระทบของวัคซีนที่ ถึงชีวิตหรือพิการ
    วารสารที่ถูกเปิดเผยเรื่องเหล่านี้ ที่กรรมการพิจารณาบทความได้รับเงินสนับสนุน ต่างก็เป็นวารสารชั้นนำ เช่น British Medical journal Lancet New England journal เป็นต้น
    โดยมูลค่าของเงินสนับสนุนเหล่านี้มีจำนวนมากกว่า 1,000,000,000 เหรียญสหรัฐ

    สูตรสำเร็จ เช่น เมื่อมีการพูด ผลกระทบของวัคซีน จะมีกลุ่มที่ออกมาวิจารณ์ว่า ไม่ได้ลงตีพิมพ์ในวารสารชั้นดี หรือตีพิมพ์ไปแล้วแต่บรรณาธิการสั่งถอดออกแสดงว่า เชื่อถือไม่ได้

    แม้กระทั่ง บทความเรื่องโรคคล้ายวัวบ้าในมนุษย์หลังได้รับวัคซีนโควิดไปภายในช่วงสองสัปดาห์และเสียชีวิตภายในเวลาห้าเดือน จากคณะ ชองProf Luc Montagnier ซึ่งได้รับ รางวัล โนเบล จากการค้นพบไวรัสเอดส์ ถูกไม่รับพิจารณาในวารสาร จนกระทั่งตีพิมพ์ในวรสารในระดับรองลงมาและข้อมูลหลักฐานประกอบในบทความเป็นข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ที่คงเลือกได้ว่าน่าตื่นเต้นและประทับใจในการค้นพบและเชื่อมโยงการเกิดโรคคล้ายวัวบ้าในมนุษย์กับวัคซีนได้อย่างชัดเจน

    https://jamanetwork.com/journals/jama/article-abstract/2824834?utm_source=substack&utm_medium=email

    ศ นพ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา
    ที่ปรึกษาวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก
    มหาวิทยาลัยรังสิต

    เชื่อถือได้หรือ? “หมอธีระวัฒน์” เผยวารสารการแพทย์ชื่อดังปล่อย กก.พิจารณาบทความรับผลประโยชน์จากบริษัทยา https://mgronline.com/qol/detail/9670000100753





    Two years ago, we discussed the lack of evidence supporting the idea that peer review improves the quality of scientific research. 
    Peer review is meant to guarantee the publication of high-quality research and enhance the quality of published manuscripts. The process should involve independent experts evaluating and assessing research for its quality and reliability.
    However, a recent JAMA publication questions the integrity and independence of peer review. The research letter addresses the Payments by Drug and Medical Device Manufacturers to US Peer Reviewers of Major Medical Journals.
    The authors identified peer reviewers for The BMJ, JAMA, The Lancet, and The New England Journal of Medicine (NEJM) using each journal’s 2022 reviewer list. They then used a US Open payments database to identify whether reviewers had received industry payments.
    What did they find?
    Between 2020 and 2022, 1155/1962 peer reviewers (59%) received at least one industry payment. More than half (54%) accepted general payments, while 32% received research payments.
    Between 2020 and 2022, reviewers received over $1.2 billion in industry payments, including $1 billion to individuals or their institutions. Over the three years, the median general payment was $7,614.  
    What does this mean?
    Journals such as the BMJ pride themselves on their competing interest policy. Readers should know the author's competing interests if they publish an article. They ask reviewers to provide a fair, honest, and unbiased assessment of the manuscript's strengths and weaknesses. But how is that possible if you're on the payroll of pharma?
    Furthermore, no one can identify who is being paid as there is no central database like the US where you can look up who is paying who. The voluntary nature of the system means companies can often conceal payments. For example, the drug industry’s self-regulatory body reprimanded  Novo Nordisk for failing to disclose approximately 500 payments worth £7.8m to over 150 recipients between 2020 and 2022.
    This latest publication further enhances the status of peer review: it is broken.
    A system that dates back over 200 years persists because no one can be bothered to address its shortcomings, and too many journals make hefty profits out of its inadequacies to affect the status quo.
    THE JAMA authors consider that ‘additional research and transparency regarding industry payments in the peer review process are needed.” We think this will be another smokescreen to permit the current system to limp on. 
    Editorial peer reviews are largely untested; their effects are uncertain and tainted by industry influence. The system needs a radical overhaul which starts with abandoning the current journal system that sucks in vast amounts of cash and distorts the research agenda.
    The main reasons for the survival of a broken system are tied to the biomedical publication industry. For editors, peer review is a Kevlar shield, a sloping shoulders device - “it ain’t me guv” cop-out clause. For academic authors who have to climb the greasy pole, it’s a system that works both ways; for industry and all those who have to sell something, it’s a cheap advert chance. You only need to read our Antivirals series to understand how the system works and how the public was sold and continues to sell dummies. Rotten decision-makers only have to point to ghost-written trials in mega journals to justify their decisions.
    You only have to look at our recent Zum Zum posts to see the devastating effects of this broken system. Or look up the Comirnaty series, which was written without data published in journals—it was regulatory data, the closest we are ever going to get to reality.
    This post was written by two old geezers who have been peer-viewed and have peer-reviewed countless times.
    Consider becoming a paid subscriber to receive new posts and support our work.

    October 10, 2024
    Payments by Drug and Medical Device Manufacturers to US Peer Reviewers of Major Medical Journals
    David-Dan Nguyen, MDCM, MPH1,2; Anju Muramaya3,4; Anna-Lisa Nguyen, BHSc5; et al
    วารสารถูกตั้งคำถามว่ามีความเที่ยงตรงหรือไม่? ในระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา วงการวิชาการ อาทิ แพทย์ วิทยาศาสตร์เป็นต้น จะให้ความเชื่อถือว่า บทความใดที่ตีพิมพ์ในวารสาร ที่เรียกว่า peer reviewed journal เป็นที่เชื่อถือได้ เพราะมีคณะกรรมการที่อ่าน บทความ และพิจารณาหลักฐานที่มากระบวนการศึกษา และจะทำการให้ความเห็นว่า จะไม่รับ หรือรับ แต่มีเงื่อนไข ประเด็นต้องแก้ไขใหญ่ หรือเล็ก หรือต้องมีการทำการทดลองใหม่ในบางส่วนหรือไม่ วารสารที่มีชื่อเหล่านี้จะถูกนำไปอ้างอิงในวงวิชาการต่างๆทำให้รับรู้กันทั่วไป ในการส่งบทความเพื่อ ไปตีพิมพ์ในวารสารนั้น ผู้วิจัยจะต้องประกาศว่ามีผลประโยชน์ใดหรือไม่อย่างไร กับ บริษัทผลิตภัณฑ์ ยา วัคซีน รวมทั้งได้ค่าตอบแทนในรูปลักษณะใด ไม่ว่าจะเป็นที่ปรึกษา รับเงิน หรือสิ่งตอบแทน รวมค่าเดินทางค่าที่พัก เวลาไปบรรยายในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้นๆ และเชื่อมโยงมาถึงการใช้ผลิตภัณฑ์หรือวัคซีนเป็นต้น แต่กรรมการผู้พิจารณา กลับไม่ต้องมีการแจงรายละเอียดชัดเจน เหล่านี้อาจมีเพียงแต่ว่า มีประเด็นที่ขัดแย้ง กับผู้ส่งบทความหรือผู้ทำวิจัย หรือไม่ หรือทำวิจัยในเรื่องเดียวกัน ที่อาจจะเป็นการนำข้อมูลดังกล่าวไปใช้ประโยชน์ส่วนตนได้ บทความนี้ที่ตีพิมพ์ในวารสารสมาคมแพทย์อเมริกัน (journal of American Medical Association JAMA) วันที่ 10 ตุลาคม 2024 ได้รายงานถึงหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับกรรมการผู้พิจารณาบทความ (reviewers) ว่า แท้จริงแล้ว เกินครึ่งของบุคคลกรรมการเหล่านี้ ต่างได้รับเงินสนับสนุนในการศึกษาวิจัย หรือเงินสนับสนุนในด้านผลิตภัณฑ์เครื่องมือ ต่างๆ จากบริษัทที่ตรงมาเข้าบุคคลนั้น หรือที่เข้ามายังบุคคลนั้น และสถาบันที่บุคคลนั้นอยู่ และเป็นประเด็นที่ตั้งคำถามถึง ความเที่ยงตรง integrity และ ความมีอิสระเที่ยงตรงในการตัดสิน ในการที่จะไม่รับ หรือรับตีพิมพ์บทความที่ส่งเข้ามา และหลังจากที่มีการเปิดเผยข้อมูลดังกล่าว มีนักวิชาการและนักวิทยาศาสตร์ จากหลายสถาบัน ในต่างประเทศ รวมทั้งในสหรัฐอเมริกา ยุโรป และอังกฤษ ต่างให้ข้อมูลที่ตนเองประสบและถ่ายทอดในสื่อต่างๆโดยเฉพาะที่ประสบในช่วงโควิด ที่เกี่ยวข้องกับการไม่ให้ลงตีพิมพ์ การใช้ยาบางตัว ที่มีการทดสอบแล้วว่าได้ผลทั้งๆที่ราคาถูก เข้าถึงได้ และจนกระทั่งถึงงานที่ตีพิมพ์ไปแล้วแต่บรรณาธิการถอดออก และ ที่สำคัญก็คือเรื่องผลกระทบของวัคซีนที่ ถึงชีวิตหรือพิการ วารสารที่ถูกเปิดเผยเรื่องเหล่านี้ ที่กรรมการพิจารณาบทความได้รับเงินสนับสนุน ต่างก็เป็นวารสารชั้นนำ เช่น British Medical journal Lancet New England journal เป็นต้น โดยมูลค่าของเงินสนับสนุนเหล่านี้มีจำนวนมากกว่า 1,000,000,000 เหรียญสหรัฐ สูตรสำเร็จ เช่น เมื่อมีการพูด ผลกระทบของวัคซีน จะมีกลุ่มที่ออกมาวิจารณ์ว่า ไม่ได้ลงตีพิมพ์ในวารสารชั้นดี หรือตีพิมพ์ไปแล้วแต่บรรณาธิการสั่งถอดออกแสดงว่า เชื่อถือไม่ได้ แม้กระทั่ง บทความเรื่องโรคคล้ายวัวบ้าในมนุษย์หลังได้รับวัคซีนโควิดไปภายในช่วงสองสัปดาห์และเสียชีวิตภายในเวลาห้าเดือน จากคณะ ชองProf Luc Montagnier ซึ่งได้รับ รางวัล โนเบล จากการค้นพบไวรัสเอดส์ ถูกไม่รับพิจารณาในวารสาร จนกระทั่งตีพิมพ์ในวรสารในระดับรองลงมาและข้อมูลหลักฐานประกอบในบทความเป็นข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ที่คงเลือกได้ว่าน่าตื่นเต้นและประทับใจในการค้นพบและเชื่อมโยงการเกิดโรคคล้ายวัวบ้าในมนุษย์กับวัคซีนได้อย่างชัดเจน https://jamanetwork.com/journals/jama/article-abstract/2824834?utm_source=substack&utm_medium=email ศ นพ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ที่ปรึกษาวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต เชื่อถือได้หรือ? “หมอธีระวัฒน์” เผยวารสารการแพทย์ชื่อดังปล่อย กก.พิจารณาบทความรับผลประโยชน์จากบริษัทยา https://mgronline.com/qol/detail/9670000100753 Two years ago, we discussed the lack of evidence supporting the idea that peer review improves the quality of scientific research.  Peer review is meant to guarantee the publication of high-quality research and enhance the quality of published manuscripts. The process should involve independent experts evaluating and assessing research for its quality and reliability. However, a recent JAMA publication questions the integrity and independence of peer review. The research letter addresses the Payments by Drug and Medical Device Manufacturers to US Peer Reviewers of Major Medical Journals. The authors identified peer reviewers for The BMJ, JAMA, The Lancet, and The New England Journal of Medicine (NEJM) using each journal’s 2022 reviewer list. They then used a US Open payments database to identify whether reviewers had received industry payments. What did they find? Between 2020 and 2022, 1155/1962 peer reviewers (59%) received at least one industry payment. More than half (54%) accepted general payments, while 32% received research payments. Between 2020 and 2022, reviewers received over $1.2 billion in industry payments, including $1 billion to individuals or their institutions. Over the three years, the median general payment was $7,614.   What does this mean? Journals such as the BMJ pride themselves on their competing interest policy. Readers should know the author's competing interests if they publish an article. They ask reviewers to provide a fair, honest, and unbiased assessment of the manuscript's strengths and weaknesses. But how is that possible if you're on the payroll of pharma? Furthermore, no one can identify who is being paid as there is no central database like the US where you can look up who is paying who. The voluntary nature of the system means companies can often conceal payments. For example, the drug industry’s self-regulatory body reprimanded  Novo Nordisk for failing to disclose approximately 500 payments worth £7.8m to over 150 recipients between 2020 and 2022. This latest publication further enhances the status of peer review: it is broken. A system that dates back over 200 years persists because no one can be bothered to address its shortcomings, and too many journals make hefty profits out of its inadequacies to affect the status quo. THE JAMA authors consider that ‘additional research and transparency regarding industry payments in the peer review process are needed.” We think this will be another smokescreen to permit the current system to limp on.  Editorial peer reviews are largely untested; their effects are uncertain and tainted by industry influence. The system needs a radical overhaul which starts with abandoning the current journal system that sucks in vast amounts of cash and distorts the research agenda. The main reasons for the survival of a broken system are tied to the biomedical publication industry. For editors, peer review is a Kevlar shield, a sloping shoulders device - “it ain’t me guv” cop-out clause. For academic authors who have to climb the greasy pole, it’s a system that works both ways; for industry and all those who have to sell something, it’s a cheap advert chance. You only need to read our Antivirals series to understand how the system works and how the public was sold and continues to sell dummies. Rotten decision-makers only have to point to ghost-written trials in mega journals to justify their decisions. You only have to look at our recent Zum Zum posts to see the devastating effects of this broken system. Or look up the Comirnaty series, which was written without data published in journals—it was regulatory data, the closest we are ever going to get to reality. This post was written by two old geezers who have been peer-viewed and have peer-reviewed countless times. Consider becoming a paid subscriber to receive new posts and support our work. October 10, 2024 Payments by Drug and Medical Device Manufacturers to US Peer Reviewers of Major Medical Journals David-Dan Nguyen, MDCM, MPH1,2; Anju Muramaya3,4; Anna-Lisa Nguyen, BHSc5; et al
    JAMANETWORK.COM
    Payments by Drug and Medical Device Manufacturers to US Peer Reviewers of Major Medical Journals
    This study characterizes payments by drug and medical device manufacturers to US peer reviewers of major medical journals.
    Like
    4
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 380 มุมมอง 0 รีวิว
Pages Boosts