• #พระสมเด็จวัดระฆัง# ..ผู้เขียนเคยคุยกับ บิ๊กเนมท่านนึง รุ่นใหญ่มาก...ในวงการ..ผู้เขียนถามท่านนั้นว่า...สมเด็จ..ที่เขาขายกัน 20 ล้าน 30 ล้าน..ถ้าพี่ซื้อผมแบบ พี่รู้ว่าผม ..เป็นมวย...ไม่ใช่ตาสีตาสาชาวบ้าน...เพื่อกดราคาซื้อ..พี่จะซื้อได้เท่าไร? ...(ในสภาพเดียวกัน) ..เขาตอบว่า สมมุตินะ ...ไม่เกิน 2 ล้าน...เราก็..ห๊ะ..ห่างขนาดนั้นเลยหรือ? ...(คือทราบอยู่แล้ว..แต่แสดงเพื่อให้เขาอธิบายต่อ) ...เขาพูดดังนี้...ขั้นแรก เครดิตพี่...คนที่เขาซื้อต่อ เขามั่นใจว่า พี่ของจริง...คือ รู้เป็นจริง และถ้ามีปัญหา .พี่..มีปัญญา กรอกลับได้...ซึ่งเอาแค่ 2 อย่างนี้...ส่วนใหญ่ "น้ำลาย" พูดส่งเดช..ก็มาก...แต่ตัวจริง เขามี...
    ..ฉะนั้น พวกที่ตามหาและ "เพ้อ" ว่าจะมีสมเด็จองค์ละ หลายสิบล้านมาขาย...ขอบอกว่า เลิกเถอะ...เพราะ 1. หาตามแบบที่เขาซื้อขายไม่ง่าย..และ 2. ถึงใช่...ก็ไม่มีใครซื้อคุณ...ในราคาแบบนั้น .(ดังที่เขียน)
    #พระสมเด็จวัดระฆัง# ..ผู้เขียนเคยคุยกับ บิ๊กเนมท่านนึง รุ่นใหญ่มาก...ในวงการ..ผู้เขียนถามท่านนั้นว่า...สมเด็จ..ที่เขาขายกัน 20 ล้าน 30 ล้าน..ถ้าพี่ซื้อผมแบบ พี่รู้ว่าผม ..เป็นมวย...ไม่ใช่ตาสีตาสาชาวบ้าน...เพื่อกดราคาซื้อ..พี่จะซื้อได้เท่าไร? ...(ในสภาพเดียวกัน) ..เขาตอบว่า สมมุตินะ ...ไม่เกิน 2 ล้าน...เราก็..ห๊ะ..ห่างขนาดนั้นเลยหรือ? ...(คือทราบอยู่แล้ว..แต่แสดงเพื่อให้เขาอธิบายต่อ) ...เขาพูดดังนี้...ขั้นแรก เครดิตพี่...คนที่เขาซื้อต่อ เขามั่นใจว่า พี่ของจริง...คือ รู้เป็นจริง และถ้ามีปัญหา .พี่..มีปัญญา กรอกลับได้...ซึ่งเอาแค่ 2 อย่างนี้...ส่วนใหญ่ "น้ำลาย" พูดส่งเดช..ก็มาก...แต่ตัวจริง เขามี... ..ฉะนั้น พวกที่ตามหาและ "เพ้อ" ว่าจะมีสมเด็จองค์ละ หลายสิบล้านมาขาย...ขอบอกว่า เลิกเถอะ...เพราะ 1. หาตามแบบที่เขาซื้อขายไม่ง่าย..และ 2. ถึงใช่...ก็ไม่มีใครซื้อคุณ...ในราคาแบบนั้น .(ดังที่เขียน)
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 30 มุมมอง 0 รีวิว


  • ในวงการเซียนพระทราบกันดีว่า จะไม่มี “พระเบญจภาคี” ได้เลย หากปราศจากบุคคลที่ชื่อ “ตรียัมปวาย” อันเป็นนามปากกาของปรมาจารย์ด้านพระเครื่องผู้มีชื่อเสียงโด่งดังระหว่างช่วงทศวรรษ 2490-2520 และเป็นแบบแผน และหลักยึดของเซียนพระต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน

    เนื่องจากเขาผู้นี้เอง เป็นผู้รวบรวมพระพิมพ์รุ่นเด่นๆ 5 สกุลมาบัญญัตินามเฉพาะขึ้นว่า “พระเบญจภาคี”

    นามจริงของตรียัมปวายคือ พันเอกพิเศษผจญ กิตติประวัติ



    ท่านเป็นคนเขียนบทความในหนังสือชุด “ปริอรรถาธิบายแห่งพระเครื่อง” โดยใช้นามปากกาว่า ตรียัมปวาย อันมาจากพิธีโล้ชิงช้า ที่สิ้นสุดไปในปี พศ 2478

    พุทธคุณพระเครื่อง

    ความนิยมของพระเครื่องเริ่มต้นขึ้นช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (พศ.2485) อันเป็นยุคที่ทั่วทุกหัวระแหงผู้คนอดอยากยากแค้น และหวาดระแวง เรื่องความปลอดภัยในชีวิต ผู้คนจึงต่างเสาะแสวงหาของดีมาคุ้มครองป้องกัน และเมื่อมีความนิยม มีราคาซื้อขาย อาชีพใหม่ก็เกิดขึ้น การลักลอบขุดกรุขโมยพระเครื่องมาขายผู้ดีบางกอกเพื่อประทังชีพ ความกลัวของผู้คน รวมถึงชายชาติทหารที่ต้องถูกเกณฑ์ไปออกรบ ก็จำเป็นต้องหาเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ



    ความหมายแห่งเบญจภาคี

    ตอนแรกตรียัมปวายเคยกำหนดว่าบรรดาพระเครื่องที่โดดเด่นในสยามนั้น ที่สุดของที่สุดมีแค่ 3 พิมพ์ทรง ได้แก่ พระสมเด็จวัดระฆัง พระนางพญาพิษณุโลก และพระรอดลำพูน รวมเรียกว่า “ไตรภาค” หรือ “ไตรภาคี”

    แต่แล้วจากนั้นไม่นานก็เพิ่มมาอีก 2 สกุลคือ พระซุ้มกอกำแพงเพชร กับพระผงสุพรรณ บัญญัตินามใหม่ว่า “เบญจภาคี” ราวต้นทศวรรษ 2490

    สำหรับการเลือกพระพิมพ์ 5 สกุลนี้มาเป็น “เพชรในเรือนมงกุฎ” นั้น ตรียัมปวายให้เหตุผลว่า เพราะมีความโดดเด่นด้านพุทธคุณ ด้านพุทธศิลป์ มีประวัติการสร้างหรือจารึกที่สืบค้นได้

    เนื่องจากในยุคนั้น ยังไม่เคยมีหลักยึดในการเล่นหาสะสมซื้อขขายอย่างหนึ่งอย่างใดเลย หลักการนี้ จึงเป็นหลักการแรก ในแง่ความนิยม ซึ่งยึดถือ และสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน







    ในวงการเซียนพระทราบกันดีว่า จะไม่มี “พระเบญจภาคี” ได้เลย หากปราศจากบุคคลที่ชื่อ “ตรียัมปวาย” อันเป็นนามปากกาของปรมาจารย์ด้านพระเครื่องผู้มีชื่อเสียงโด่งดังระหว่างช่วงทศวรรษ 2490-2520 และเป็นแบบแผน และหลักยึดของเซียนพระต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากเขาผู้นี้เอง เป็นผู้รวบรวมพระพิมพ์รุ่นเด่นๆ 5 สกุลมาบัญญัตินามเฉพาะขึ้นว่า “พระเบญจภาคี” นามจริงของตรียัมปวายคือ พันเอกพิเศษผจญ กิตติประวัติ ท่านเป็นคนเขียนบทความในหนังสือชุด “ปริอรรถาธิบายแห่งพระเครื่อง” โดยใช้นามปากกาว่า ตรียัมปวาย อันมาจากพิธีโล้ชิงช้า ที่สิ้นสุดไปในปี พศ 2478 พุทธคุณพระเครื่อง ความนิยมของพระเครื่องเริ่มต้นขึ้นช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (พศ.2485) อันเป็นยุคที่ทั่วทุกหัวระแหงผู้คนอดอยากยากแค้น และหวาดระแวง เรื่องความปลอดภัยในชีวิต ผู้คนจึงต่างเสาะแสวงหาของดีมาคุ้มครองป้องกัน และเมื่อมีความนิยม มีราคาซื้อขาย อาชีพใหม่ก็เกิดขึ้น การลักลอบขุดกรุขโมยพระเครื่องมาขายผู้ดีบางกอกเพื่อประทังชีพ ความกลัวของผู้คน รวมถึงชายชาติทหารที่ต้องถูกเกณฑ์ไปออกรบ ก็จำเป็นต้องหาเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ ความหมายแห่งเบญจภาคี ตอนแรกตรียัมปวายเคยกำหนดว่าบรรดาพระเครื่องที่โดดเด่นในสยามนั้น ที่สุดของที่สุดมีแค่ 3 พิมพ์ทรง ได้แก่ พระสมเด็จวัดระฆัง พระนางพญาพิษณุโลก และพระรอดลำพูน รวมเรียกว่า “ไตรภาค” หรือ “ไตรภาคี” แต่แล้วจากนั้นไม่นานก็เพิ่มมาอีก 2 สกุลคือ พระซุ้มกอกำแพงเพชร กับพระผงสุพรรณ บัญญัตินามใหม่ว่า “เบญจภาคี” ราวต้นทศวรรษ 2490 สำหรับการเลือกพระพิมพ์ 5 สกุลนี้มาเป็น “เพชรในเรือนมงกุฎ” นั้น ตรียัมปวายให้เหตุผลว่า เพราะมีความโดดเด่นด้านพุทธคุณ ด้านพุทธศิลป์ มีประวัติการสร้างหรือจารึกที่สืบค้นได้ เนื่องจากในยุคนั้น ยังไม่เคยมีหลักยึดในการเล่นหาสะสมซื้อขขายอย่างหนึ่งอย่างใดเลย หลักการนี้ จึงเป็นหลักการแรก ในแง่ความนิยม ซึ่งยึดถือ และสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 347 มุมมอง 0 รีวิว
  • พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์ใหญ่ หลวงวิจารณ์ฯ เนื้อศิลาธิคุณ หรือเนื้อหินอ่อน
    จากศิลาจารึกพระคาถาธรรมิกราช อาจารย์ประถม อาจสาคร กล่าวว่า สร้างโดยวิธีจารพระคาถาลงในแผ่นหินแล้วนำมาย่อยป่นในเนื้อพระ มีสรรพคุณทางกันอหิวาตกโรค หินอ่อนนี้ยังมีฝังอยู่ที่สระน้ำวัดระฆังและสระน้ำวัดอินทรวิหาร ถือว่าเป็นพระที่หายากมากในตระกูลพระสมเด็จฯ
    .
    เปิดบูชา ราคา 2,500 บาท ( ได้มาเพียงองค์เดียวเมื่อ 15 ปีที่แล้ว )
    .
    ศิลาธิคุณ กายสิทธิ์ของสมเด็จพุฒจารย์โต
    ศิลาธิคุณหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าฤาษีผสมแล้ว ถือเป็นมวลสารหลัก ที่ใช้สร้างพระสมเด็จนอกจากตัวประสาน (ปูนเพชร นํ้าตาลอ้อยและกล้วย) มีลักษณะภายนอก คล้ายหินอ่อน มีความร่วนตัวเปราะเมื่อพบครั้งแรกๆ เมื่อโดนอากาศ จะค่อยๆแข็งขึ้น อย่างเดียวกับศิลาแลง จึงนำมาเป็นส่วนผสม และมวลสารชนิดนี้เองทำให้เนื้อพระสมเด็จมีความแตกต่างจากเนื้อปูนผสมอื่นๆเป็นตัวทำให้พระสมเด็จมีความหนึกนุ่มที่สารถมองทางลึกได้(เนื้อมีความโปร่งใส)โดยมวลสารต่างๆจะถูกห่อหุ้มด้วยเนื้อศิลาธิคุณ นี่เอง นอกจากปรากฎเป็นเนื้อหลักแล้วส่วนศิลาธิคุณ ยังปรากฎให้สังเกตเห็นในพระสมเด็จเป็นก้อนเล็กๆเกือบทุกองค์ ชึงบางทีเข้าใจว่าเป็นก้อนผงวิเศษ ก็มีแต่ผู้ชำนาญจะแยกออกได้ว่าจุดขาวใสที่เห็นศิลาธิคุณหรือผงดินสอวิเศษ
    ตอนแรกไม่คิดว่า เรื่องศิลาธิคุณจะมีจริงเหมือนกัน และไม่คิดว่าจะได้มวลสารที่เกี่ยวข้องกับสมเด็จฯถึงเพียงนี้
    .
    ที่มาของมวลสาร เดิมครั้งเมื่อเปิดกรุเป็นทางการ กำนันชูชาติ มากสัมพันธ์ได้เช่าบูชาพระสมเด็จบางขุนพรหม มาหลายแสนบาท วัดจึงแถมก้อนที่อยู่ก้นกรุให้ 1 ชิ้น โดยวัดเองก็ไม่ทราบว่าอะไร ต่อมาผงนี้เกิดการเปลี่ยนมือมาอีก 2 ครั้ง โดยตั้งใจว่าจะใช้สร้างพระของหลวงพ่อแดง วัดเขาบันไดอิฐ ครูบาน้อย วัดบ้านปง ครูบาจันต๊ะ วัดหนองช้างคืน ฯลฯ ก็ไม่มีใครกล้าบดเป็นมวลสารเสียที
    พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์ใหญ่ หลวงวิจารณ์ฯ เนื้อศิลาธิคุณ หรือเนื้อหินอ่อน จากศิลาจารึกพระคาถาธรรมิกราช อาจารย์ประถม อาจสาคร กล่าวว่า สร้างโดยวิธีจารพระคาถาลงในแผ่นหินแล้วนำมาย่อยป่นในเนื้อพระ มีสรรพคุณทางกันอหิวาตกโรค หินอ่อนนี้ยังมีฝังอยู่ที่สระน้ำวัดระฆังและสระน้ำวัดอินทรวิหาร ถือว่าเป็นพระที่หายากมากในตระกูลพระสมเด็จฯ . เปิดบูชา ราคา 2,500 บาท ( ได้มาเพียงองค์เดียวเมื่อ 15 ปีที่แล้ว ) . ศิลาธิคุณ กายสิทธิ์ของสมเด็จพุฒจารย์โต ศิลาธิคุณหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าฤาษีผสมแล้ว ถือเป็นมวลสารหลัก ที่ใช้สร้างพระสมเด็จนอกจากตัวประสาน (ปูนเพชร นํ้าตาลอ้อยและกล้วย) มีลักษณะภายนอก คล้ายหินอ่อน มีความร่วนตัวเปราะเมื่อพบครั้งแรกๆ เมื่อโดนอากาศ จะค่อยๆแข็งขึ้น อย่างเดียวกับศิลาแลง จึงนำมาเป็นส่วนผสม และมวลสารชนิดนี้เองทำให้เนื้อพระสมเด็จมีความแตกต่างจากเนื้อปูนผสมอื่นๆเป็นตัวทำให้พระสมเด็จมีความหนึกนุ่มที่สารถมองทางลึกได้(เนื้อมีความโปร่งใส)โดยมวลสารต่างๆจะถูกห่อหุ้มด้วยเนื้อศิลาธิคุณ นี่เอง นอกจากปรากฎเป็นเนื้อหลักแล้วส่วนศิลาธิคุณ ยังปรากฎให้สังเกตเห็นในพระสมเด็จเป็นก้อนเล็กๆเกือบทุกองค์ ชึงบางทีเข้าใจว่าเป็นก้อนผงวิเศษ ก็มีแต่ผู้ชำนาญจะแยกออกได้ว่าจุดขาวใสที่เห็นศิลาธิคุณหรือผงดินสอวิเศษ ตอนแรกไม่คิดว่า เรื่องศิลาธิคุณจะมีจริงเหมือนกัน และไม่คิดว่าจะได้มวลสารที่เกี่ยวข้องกับสมเด็จฯถึงเพียงนี้ . ที่มาของมวลสาร เดิมครั้งเมื่อเปิดกรุเป็นทางการ กำนันชูชาติ มากสัมพันธ์ได้เช่าบูชาพระสมเด็จบางขุนพรหม มาหลายแสนบาท วัดจึงแถมก้อนที่อยู่ก้นกรุให้ 1 ชิ้น โดยวัดเองก็ไม่ทราบว่าอะไร ต่อมาผงนี้เกิดการเปลี่ยนมือมาอีก 2 ครั้ง โดยตั้งใจว่าจะใช้สร้างพระของหลวงพ่อแดง วัดเขาบันไดอิฐ ครูบาน้อย วัดบ้านปง ครูบาจันต๊ะ วัดหนองช้างคืน ฯลฯ ก็ไม่มีใครกล้าบดเป็นมวลสารเสียที
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 297 มุมมอง 0 รีวิว