• 🩸ภาวะแทรกโรคซ้อนจากไขมันในเลือดสูง🩸 1. โรคหลอดเลือดสมอง 2. โรคหลอดเลือดหัวใจ 3. โรคความดันสูง 4. เสื่อมสมรรถภาพ 5. อัมพฤกษ์ อัมพาต 6. โรคตับ 7. โรคไต👉แนะนำทานผลิตภัณฑ์ KO สารสกัดจากธรรมชาติมากกว่า 9 ชนิด มี อย.รับรอง ทานแล้วปลอดภัย🍀ผลิตภัณฑ์ K.O ❣️ ช่วยลดไขมันในเลือด ลดไตรกลีเซอไรด์ ฟื้นฟูการทำงานของระบบไหลเวียนของเลือดในร่างกาย. ✅ลดอาการ ปวดหัวบ่อย มึนหัว ไมเกรน ✅ลดไขมันในเลือด โคเลสเตอรอล ✅ฟื้นฟู เส้นเลือดในสมอง โรคหัวใจ อัมพาต ✅โลหิตจาง อาการชา อ่อนแรง ✅ช่วยให้เลือดไปเลี้ยงสมองได้ดีขึ้น👉แนะนำทานผลิตภัณฑ์เคโอ (K.O) ช่วยคุณได้จากอาการเหล่านี้…☎️ปรึกษา/สั่งซื้อ โทร 092-237-8484 คุณอ้อ.#ไมเกรน #ปวดหัวไมเกรน #เลือดข้น #เลือดหนืด #ไขมันในเลือดสูง #คอเลสเตอรอลสูง #ไตรกลีเซอร์ไลด์ #มึนหัว #ปวดเนื้อปวดตัว #เหนื่อยง่าย #เบาหวาน #เวียนหัว #บ้านหมุน #วูบบ่อย #น้ำในหูไม่เท่ากัน #ความดัน #เบาหวาน #เคโอคุณอ้อ #คุณอ้อเคโอ #เคโอ #ko
    🩸ภาวะแทรกโรคซ้อนจากไขมันในเลือดสูง🩸 1. โรคหลอดเลือดสมอง 2. โรคหลอดเลือดหัวใจ 3. โรคความดันสูง 4. เสื่อมสมรรถภาพ 5. อัมพฤกษ์ อัมพาต 6. โรคตับ 7. โรคไต👉แนะนำทานผลิตภัณฑ์ KO สารสกัดจากธรรมชาติมากกว่า 9 ชนิด มี อย.รับรอง ทานแล้วปลอดภัย🍀ผลิตภัณฑ์ K.O ❣️ ช่วยลดไขมันในเลือด ลดไตรกลีเซอไรด์ ฟื้นฟูการทำงานของระบบไหลเวียนของเลือดในร่างกาย. ✅ลดอาการ ปวดหัวบ่อย มึนหัว ไมเกรน ✅ลดไขมันในเลือด โคเลสเตอรอล ✅ฟื้นฟู เส้นเลือดในสมอง โรคหัวใจ อัมพาต ✅โลหิตจาง อาการชา อ่อนแรง ✅ช่วยให้เลือดไปเลี้ยงสมองได้ดีขึ้น👉แนะนำทานผลิตภัณฑ์เคโอ (K.O) ช่วยคุณได้จากอาการเหล่านี้…☎️ปรึกษา/สั่งซื้อ โทร 092-237-8484 คุณอ้อ.#ไมเกรน #ปวดหัวไมเกรน #เลือดข้น #เลือดหนืด #ไขมันในเลือดสูง #คอเลสเตอรอลสูง #ไตรกลีเซอร์ไลด์ #มึนหัว #ปวดเนื้อปวดตัว #เหนื่อยง่าย #เบาหวาน #เวียนหัว #บ้านหมุน #วูบบ่อย #น้ำในหูไม่เท่ากัน #ความดัน #เบาหวาน #เคโอคุณอ้อ #คุณอ้อเคโอ #เคโอ #ko
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 302 มุมมอง 0 รีวิว
  • 12/10/67

    "ใบบัวบก" กับผลข้างเคียง และความเสี่ยงที่ไม่มีใครเคยบอก

    บัวบก (ภาษาอังกฤษ: Gotu Kola หรือ Centella asiatica ) เป็นสมุนไพรที่มีชื่อเสียงในเรื่องสรรพคุณมากมาย หลายคนเชื่อว่าบัวบกสามารถช่วยบำรุงสมอง เสริมสร้างความจำ การคิด และช่วยให้ระบบประสาททำงานได้ดียิ่งขึ้น

    นอกจากนี้ ยังมีข้อสันนิษฐานว่าบัวบกอาจมีประโยชน์ต่อสุขภาพในด้านอื่นๆ อีกมากมาย อย่างไรก็ตาม ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับสรรพคุณของบัวบกยังคงมีอยู่อย่างจำกัด หลายคนอาจรับรู้ถึงประโยชน์ของบัวบก แต่อาจไม่ค่อยมีใครรับรู้ถึงผลข้างเคียงของบัวบกว่ามีอะไรบ้าง

    บัวบกกับผลข้างเคียง และความเสี่ยงที่ไม่มีใครเคยบอก
    การใช้บัวบกอาจก่อให้เกิดผลข้างเคียงได้ในบางราย เช่น ปวดศีรษะ ปวดท้อง หรือเวียนหัว เพื่อลดความเสี่ยงต่อผลข้างเคียงเหล่านี้ ควรเริ่มต้นด้วยการใช้บัวบกในปริมาณน้อย ๆ และค่อย ๆ เพิ่มปริมาณขึ้นอย่างช้า ๆ การใช้บัวบกเป็นประจำติดต่อกันไม่ควรเกิน 2-6 สัปดาห์ต่อครั้ง ควรหยุดพักการใช้เป็นเวลา 2 สัปดาห์ก่อนกลับมาใช้ใหม่

    สำหรับการใช้บัวบกแบบทาภายนอก อาจทำให้เกิดอาการระคายเคืองผิวหนังได้ ดังนั้นจึงควรทดสอบอาการแพ้ก่อนใช้โดยทาบัวบกในบริเวณผิวหนังเล็ก ๆ และสังเกตอาการแพ้เป็นเวลา 24-48 ชั่วโมง

     อย่าใช้บัวบกหากคุณ
    * กำลังตั้งครรภ์
    * กำลังให้นมบุตร
    * มีโรคตับอักเสบหรือโรคตับอื่น ๆ
    * มีกำหนดการผ่าตัดภายในสองสัปดาห์ข้างหน้า
    * มีอายุต่ำกว่า 18 ปี
    * มีประวัติเป็นมะเร็งผิวหนัง

    พูดคุยกับแพทย์ของคุณก่อนใช้บัวบกหากคุณ
    * มีโรคตับ
    * มีโรคเบาหวาน
    * มีคอเลสเตอรอลสูง
    * กำลังรับประทานยา เช่น ยาระงับประสาท เพื่อการนอนหลับหรือวิตกกังวล
    * กำลังใช้ยาขับปัสสาวะ

    cr:sanook
    12/10/67 "ใบบัวบก" กับผลข้างเคียง และความเสี่ยงที่ไม่มีใครเคยบอก บัวบก (ภาษาอังกฤษ: Gotu Kola หรือ Centella asiatica ) เป็นสมุนไพรที่มีชื่อเสียงในเรื่องสรรพคุณมากมาย หลายคนเชื่อว่าบัวบกสามารถช่วยบำรุงสมอง เสริมสร้างความจำ การคิด และช่วยให้ระบบประสาททำงานได้ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังมีข้อสันนิษฐานว่าบัวบกอาจมีประโยชน์ต่อสุขภาพในด้านอื่นๆ อีกมากมาย อย่างไรก็ตาม ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับสรรพคุณของบัวบกยังคงมีอยู่อย่างจำกัด หลายคนอาจรับรู้ถึงประโยชน์ของบัวบก แต่อาจไม่ค่อยมีใครรับรู้ถึงผลข้างเคียงของบัวบกว่ามีอะไรบ้าง บัวบกกับผลข้างเคียง และความเสี่ยงที่ไม่มีใครเคยบอก การใช้บัวบกอาจก่อให้เกิดผลข้างเคียงได้ในบางราย เช่น ปวดศีรษะ ปวดท้อง หรือเวียนหัว เพื่อลดความเสี่ยงต่อผลข้างเคียงเหล่านี้ ควรเริ่มต้นด้วยการใช้บัวบกในปริมาณน้อย ๆ และค่อย ๆ เพิ่มปริมาณขึ้นอย่างช้า ๆ การใช้บัวบกเป็นประจำติดต่อกันไม่ควรเกิน 2-6 สัปดาห์ต่อครั้ง ควรหยุดพักการใช้เป็นเวลา 2 สัปดาห์ก่อนกลับมาใช้ใหม่ สำหรับการใช้บัวบกแบบทาภายนอก อาจทำให้เกิดอาการระคายเคืองผิวหนังได้ ดังนั้นจึงควรทดสอบอาการแพ้ก่อนใช้โดยทาบัวบกในบริเวณผิวหนังเล็ก ๆ และสังเกตอาการแพ้เป็นเวลา 24-48 ชั่วโมง  อย่าใช้บัวบกหากคุณ * กำลังตั้งครรภ์ * กำลังให้นมบุตร * มีโรคตับอักเสบหรือโรคตับอื่น ๆ * มีกำหนดการผ่าตัดภายในสองสัปดาห์ข้างหน้า * มีอายุต่ำกว่า 18 ปี * มีประวัติเป็นมะเร็งผิวหนัง พูดคุยกับแพทย์ของคุณก่อนใช้บัวบกหากคุณ * มีโรคตับ * มีโรคเบาหวาน * มีคอเลสเตอรอลสูง * กำลังรับประทานยา เช่น ยาระงับประสาท เพื่อการนอนหลับหรือวิตกกังวล * กำลังใช้ยาขับปัสสาวะ cr:sanook
    Like
    1
    0 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 93 มุมมอง 0 รีวิว