รัฐบาลอินเดียคาดว่าภายในปี ค.ศ. 2030 จะมีพนักงานชั่วคราวในอินเดียเพิ่มขึ้นมากกว่า 23 ล้านคน (จากเดิม 8 ล้านคนในปี 2024) ซึ่งแรงงานเหล่านี้ต้องทำงานอย่างหนัก ค่าจ้างต่ำ เหนื่อยล้า และขาดความมั่นคง ทั้งยังมีรายงานด้วยว่า วัยทำงานกลุ่มนี้ต้องเผชิญกับการโดนเหยียด ดูหมิ่น และการกีดกันการเข้าถึงสาธารณะประโยชน์ในทุก ๆ ทาง เหตุเพราะการแบ่งชนชั้นวรรณะในสังคมอินเดียยังฝังรากลึก

ยกตัวอย่างกรณีล่าสุดเมื่อเร็วๆ นี้ มีการแชร์เรื่องราวของไรเดอร์บริษัทแห่งหนึ่งบนโลกออนไลน์ เขาโดนเหยียดในขณะปฏิบัติหน้าที่ เพียงแค่จะมาส่งของให้ลูกค้า แต่กลับโดนยามหน้าตึกขวางไล่ไม่ให้ขึ้นลิฟต์ ซึ่งไรเดอร์คนดังกล่าว แท้จริงแล้วคือซีอีโอบริษัทส่งของปลอมตัวมาเป็นพนักงาน เพื่อพิสูจน์ข้อร้องเรียนที่ได้รับแจ้งจากพนักงานว่าโดนเหยียดจนทำงานไม่ได้

ที่มา https://www.bangkokbiznews.com/lifestyle/1150262

#Thaitimes
รัฐบาลอินเดียคาดว่าภายในปี ค.ศ. 2030 จะมีพนักงานชั่วคราวในอินเดียเพิ่มขึ้นมากกว่า 23 ล้านคน (จากเดิม 8 ล้านคนในปี 2024) ซึ่งแรงงานเหล่านี้ต้องทำงานอย่างหนัก ค่าจ้างต่ำ เหนื่อยล้า และขาดความมั่นคง ทั้งยังมีรายงานด้วยว่า วัยทำงานกลุ่มนี้ต้องเผชิญกับการโดนเหยียด ดูหมิ่น และการกีดกันการเข้าถึงสาธารณะประโยชน์ในทุก ๆ ทาง เหตุเพราะการแบ่งชนชั้นวรรณะในสังคมอินเดียยังฝังรากลึก ยกตัวอย่างกรณีล่าสุดเมื่อเร็วๆ นี้ มีการแชร์เรื่องราวของไรเดอร์บริษัทแห่งหนึ่งบนโลกออนไลน์ เขาโดนเหยียดในขณะปฏิบัติหน้าที่ เพียงแค่จะมาส่งของให้ลูกค้า แต่กลับโดนยามหน้าตึกขวางไล่ไม่ให้ขึ้นลิฟต์ ซึ่งไรเดอร์คนดังกล่าว แท้จริงแล้วคือซีอีโอบริษัทส่งของปลอมตัวมาเป็นพนักงาน เพื่อพิสูจน์ข้อร้องเรียนที่ได้รับแจ้งจากพนักงานว่าโดนเหยียดจนทำงานไม่ได้ ที่มา https://www.bangkokbiznews.com/lifestyle/1150262 #Thaitimes
WWW.BANGKOKBIZNEWS.COM
วัยทำงานอินเดียโดนเหยียดแรง คนส่งของถูกไล่ไม่ให้นั่งพักในที่สาธารณะ
วัยทำงานอินเดียโดนเหยียดรุนแรง โดยเฉพาะคนงานชั่วคราว คนส่งของ-แม่บ้าน ถูกมองว่าเป็นคนชนชั้นล่าง โดนไล่ไม่ให้แม้แต่นั่งพักหรือขึ้นลิฟต์ตัวเดียวกับคนรวย
Like
Sad
5
1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 551 มุมมอง 0 รีวิว