“ วัคซีนโควิดปลอดภัยในสตรีตั้งครรภ์จริงหรือ ? “

รวบรวมข้อมูลจาก CDC/FDA Vaccine Adverse Event Reporting System (VAERS) ตั้งแต่ 1 มกราคม 1990 ถึง 26 เมษายน 2024 เพื่อดูผลข้างเคียง (adverse effect, AE) ของวัคซีนโควิดที่มีต่อสตรีตั้งครรภ์เมื่อเทียบกับวัคซีนชนิดอื่น รวมระยะเวลาทั้งหมด 412 เดือน ยกเว้นวัคซีนโควิดที่เก็บรวบรวมได้แค่ 40 เดือนจาก 412 เดือน (1 ธันวาคม 2020 ถึง 26 เมษายน April 2024) โดยดู proportional reporting ratios (PRR) ตามระยะเวลา เปรียบเทียบ AEs ระหว่างวัคซีนโควิดที่มีต่อสตรีตั้งครรภ์กับวัคซีนชนิดอื่น ในกรณีที่หา PRR ไม่ได้ก็ใช้ Chi-square analysis และ Fisher’s exact tests แทน โดยยึดข้อกำหนดตาม CDC/FDA safety concern คือต้องระวังเรื่องความปลอดภัย ถ้า PRR ≥ 2 หรือ Chi-square ≥ 4

พบ 37 AE จากการฉีดวัคซีนโควิดในผู้ตั้งครรภ์ ได้แก่ : miscarriage, fetal chromosomal abnormality, fetal malformation, cervical insufficiency, premature rupture of membranes, premature labor, premature delivery, placental calcification, placental infarction, placental thrombosis, placenta accreta, placental abruption, placental insufficiency, placental disorder, fetal maternal hemorrhage, fetal growth restriction, reduced amniotic fluid volume, preeclampsia, fetal heart rate abnormality, fetal cardiac disorder, fetal vascular mal-perfusion, fetal arrhythmia, fetal distress, fetal biophysical profile abnormal, hemorrhage in pregnancy, fetal cardiac arrest, fetal death (stillbirth), premature infant death, neonatal asphyxia, neonatal dyspnea, neonatal infection, neonatal hemorrhage, insufficient breast milk, neonatal pneumonia, neonatal respiratory distress, neonatal respiratory distress syndrome, neonatal seizure.

ขออนุญาตไม่แปลเป็นภาษาไทยทั้งหมดเพราะอาจสื่อความหมายได้ไม่ชัดเจน แต่สำหรับผู้ที่สนใจหาข้อมูลก็สามารถหาคำแปลภาวะต่างๆด้านบนได้ไม่ยาก

Summary statistics for the deviation from the CDC/FDA safety signals mean (n, range) เป็นดังนี้ : PRR 69.3 (46, 5.37 - 499); z statistic 9.64 (46, 3.29 - 27.0); และ Chi-square was 74.7 (26, 28.9 - 148)

จะเห็นได้ว่าผลข้างเคียงจากวัคซีนโควิดในสตรีตั้งครรภ์สูงกว่า safety concern ที่ CDC/FDA กำหนดไว้มาก

และมีอีก 1 รายงานผลกระทบจากการฉีดวัคซีนโควิดที่มีต่อสตรีมีครรภ์จากการรวบรวมเคส 438 รายในประเทศซาอุดิอาระเบียช่วง มีค.-พค. 2022 โดยแบ่งกลุ่มศึกษาเป็น 2 กลุ่ม กลุ่ม A คือสตรีมีครรภ์ที่ไม่ได้รับวัคซีนเลยแม้แต่เข็มเดียว กลุ่ม B คือได้รับวัคซีนโควิดอย่างน้อย 1 เข็ม

พบว่ากลุ่ม B มีอัตราการแท้ง น้ำคร่ำน้อย รกผิดปกติ การเจริญเติบโตของทารกผิดปกติ มีปัญหาเรื่องการให้นม ความดันโลหิตสูง อาการอื่นๆทางระบบ เช่น อ่อนเพลียปวดหัวเจ็บหน้าอก การหายใจมีปัญหา มีปัญหาการนอนหลับ มากกว่ากลุ่ม A อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

เรียบเรียงโดย นพ.ดร. ชลธวัช สุวรรณปิยะศิริ

Reference :

https://www.preprints.org/manuscript/202406.2062/v1

https://journals.sagepub.com/doi/epdf/10.1177/25151355241285594?utm_source=substack&utm_medium=email
“ วัคซีนโควิดปลอดภัยในสตรีตั้งครรภ์จริงหรือ ? “ รวบรวมข้อมูลจาก CDC/FDA Vaccine Adverse Event Reporting System (VAERS) ตั้งแต่ 1 มกราคม 1990 ถึง 26 เมษายน 2024 เพื่อดูผลข้างเคียง (adverse effect, AE) ของวัคซีนโควิดที่มีต่อสตรีตั้งครรภ์เมื่อเทียบกับวัคซีนชนิดอื่น รวมระยะเวลาทั้งหมด 412 เดือน ยกเว้นวัคซีนโควิดที่เก็บรวบรวมได้แค่ 40 เดือนจาก 412 เดือน (1 ธันวาคม 2020 ถึง 26 เมษายน April 2024) โดยดู proportional reporting ratios (PRR) ตามระยะเวลา เปรียบเทียบ AEs ระหว่างวัคซีนโควิดที่มีต่อสตรีตั้งครรภ์กับวัคซีนชนิดอื่น ในกรณีที่หา PRR ไม่ได้ก็ใช้ Chi-square analysis และ Fisher’s exact tests แทน โดยยึดข้อกำหนดตาม CDC/FDA safety concern คือต้องระวังเรื่องความปลอดภัย ถ้า PRR ≥ 2 หรือ Chi-square ≥ 4 พบ 37 AE จากการฉีดวัคซีนโควิดในผู้ตั้งครรภ์ ได้แก่ : miscarriage, fetal chromosomal abnormality, fetal malformation, cervical insufficiency, premature rupture of membranes, premature labor, premature delivery, placental calcification, placental infarction, placental thrombosis, placenta accreta, placental abruption, placental insufficiency, placental disorder, fetal maternal hemorrhage, fetal growth restriction, reduced amniotic fluid volume, preeclampsia, fetal heart rate abnormality, fetal cardiac disorder, fetal vascular mal-perfusion, fetal arrhythmia, fetal distress, fetal biophysical profile abnormal, hemorrhage in pregnancy, fetal cardiac arrest, fetal death (stillbirth), premature infant death, neonatal asphyxia, neonatal dyspnea, neonatal infection, neonatal hemorrhage, insufficient breast milk, neonatal pneumonia, neonatal respiratory distress, neonatal respiratory distress syndrome, neonatal seizure. ขออนุญาตไม่แปลเป็นภาษาไทยทั้งหมดเพราะอาจสื่อความหมายได้ไม่ชัดเจน แต่สำหรับผู้ที่สนใจหาข้อมูลก็สามารถหาคำแปลภาวะต่างๆด้านบนได้ไม่ยาก Summary statistics for the deviation from the CDC/FDA safety signals mean (n, range) เป็นดังนี้ : PRR 69.3 (46, 5.37 - 499); z statistic 9.64 (46, 3.29 - 27.0); และ Chi-square was 74.7 (26, 28.9 - 148) จะเห็นได้ว่าผลข้างเคียงจากวัคซีนโควิดในสตรีตั้งครรภ์สูงกว่า safety concern ที่ CDC/FDA กำหนดไว้มาก และมีอีก 1 รายงานผลกระทบจากการฉีดวัคซีนโควิดที่มีต่อสตรีมีครรภ์จากการรวบรวมเคส 438 รายในประเทศซาอุดิอาระเบียช่วง มีค.-พค. 2022 โดยแบ่งกลุ่มศึกษาเป็น 2 กลุ่ม กลุ่ม A คือสตรีมีครรภ์ที่ไม่ได้รับวัคซีนเลยแม้แต่เข็มเดียว กลุ่ม B คือได้รับวัคซีนโควิดอย่างน้อย 1 เข็ม พบว่ากลุ่ม B มีอัตราการแท้ง น้ำคร่ำน้อย รกผิดปกติ การเจริญเติบโตของทารกผิดปกติ มีปัญหาเรื่องการให้นม ความดันโลหิตสูง อาการอื่นๆทางระบบ เช่น อ่อนเพลียปวดหัวเจ็บหน้าอก การหายใจมีปัญหา มีปัญหาการนอนหลับ มากกว่ากลุ่ม A อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เรียบเรียงโดย นพ.ดร. ชลธวัช สุวรรณปิยะศิริ Reference : https://www.preprints.org/manuscript/202406.2062/v1 https://journals.sagepub.com/doi/epdf/10.1177/25151355241285594?utm_source=substack&utm_medium=email
WWW.PREPRINTS.ORG
Are COVID-19 Vaccines in Pregnancy as Safe and Effective as the U.S. Government, Medical Organizations, and Pharmaceutical Industry Claim? Part I
Introduction: In Part I of this three-part series we report a retrospective, population-based cohort study assessing rates of adverse events (AEs) in pregnancy after COVID-19 vaccines compared to the same AEs after influenza vaccines and after all other vaccines. Methods: Data were collected from the U.S. Centers for Disease Control and prevention (CDC) and the U.S. Food and Drug Administration (FDA). The CDC/FDA Vaccine Adverse Event Reporting System (VAERS) database was queried from January 1, 1990, to April 26, 2024, for adverse events (AEs) involving pregnancy complications following COVID-19 vaccination. The time-period included 412 months for all vaccines except COVID-19 vaccines, having been used for only 40 of the 412 months (December 1, 2020, to April 26, 2024). Proportional reporting ratios (PRR) by time compared AEs after COVID-19 vaccination to those after influenza vaccination, and after all other vaccine products administered to pregnant women. In cases in which the PRR was not applicable, Chi-square analysis and Fisher’s exact tests were used according to CDC/FDA guidance. CDC/FDA stipulate a safety concern if a PRR is ≥ 2 or if a Chi-square is ≥ 4. Results: The CDC/FDA’s safety signals were breached for all 37 AEs following COVID-19 vaccination in pregnancy: miscarriage, fetal chromosomal abnormality, fetal malformation, cervical insufficiency, premature rupture of membranes, premature labor, premature delivery, placental calcification, placental infarction, placental thrombosis, placenta accreta, placental abruption, placental insufficiency, placental disorder, fetal maternal hemorrhage, fetal growth restriction, reduced amniotic fluid volume, preeclampsia, fetal heart rate abnormality, fetal cardiac disorder, fetal vascular mal-perfusion, fetal arrhythmia, fetal distress, fetal biophysical profile abnormal, hemorrhage in pregnancy, fetal cardiac arrest, fetal death (stillbirth), premature infant death, neonatal asphyxia, neonatal dyspnea, neonatal infection, neonatal hemorrhage, insufficient breast milk, neonatal pneumonia, neonatal respiratory distress, neonatal respiratory distress syndrome, and neonatal seizure. All p values were ≤ 0.001 with the majority being
Like
6
1 ความคิดเห็น 0 การแบ่งปัน 806 มุมมอง 0 รีวิว