วารสารถูกตั้งคำถามว่ามีความเที่ยงตรงหรือไม่?

ในระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา วงการวิชาการ อาทิ แพทย์ วิทยาศาสตร์เป็นต้น จะให้ความเชื่อถือว่า บทความใดที่ตีพิมพ์ในวารสาร ที่เรียกว่า peer reviewed journal เป็นที่เชื่อถือได้
เพราะมีคณะกรรมการที่อ่าน บทความ และพิจารณาหลักฐานที่มากระบวนการศึกษา และจะทำการให้ความเห็นว่า จะไม่รับ หรือรับ แต่มีเงื่อนไข ประเด็นต้องแก้ไขใหญ่ หรือเล็ก หรือต้องมีการทำการทดลองใหม่ในบางส่วนหรือไม่
วารสารที่มีชื่อเหล่านี้จะถูกนำไปอ้างอิงในวงวิชาการต่างๆทำให้รับรู้กันทั่วไป

ในการส่งบทความเพื่อ ไปตีพิมพ์ในวารสารนั้น
ผู้วิจัยจะต้องประกาศว่ามีผลประโยชน์ใดหรือไม่อย่างไร กับ บริษัทผลิตภัณฑ์ ยา วัคซีน รวมทั้งได้ค่าตอบแทนในรูปลักษณะใด ไม่ว่าจะเป็นที่ปรึกษา รับเงิน หรือสิ่งตอบแทน รวมค่าเดินทางค่าที่พัก เวลาไปบรรยายในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้นๆ และเชื่อมโยงมาถึงการใช้ผลิตภัณฑ์หรือวัคซีนเป็นต้น

แต่กรรมการผู้พิจารณา กลับไม่ต้องมีการแจงรายละเอียดชัดเจน เหล่านี้อาจมีเพียงแต่ว่า มีประเด็นที่ขัดแย้ง กับผู้ส่งบทความหรือผู้ทำวิจัย หรือไม่ หรือทำวิจัยในเรื่องเดียวกัน ที่อาจจะเป็นการนำข้อมูลดังกล่าวไปใช้ประโยชน์ส่วนตนได้

บทความนี้ที่ตีพิมพ์ในวารสารสมาคมแพทย์อเมริกัน (journal of American Medical Association JAMA) วันที่ 10 ตุลาคม 2024 ได้รายงานถึงหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับกรรมการผู้พิจารณาบทความ (reviewers) ว่า แท้จริงแล้ว เกินครึ่งของบุคคลกรรมการเหล่านี้ ต่างได้รับเงินสนับสนุนในการศึกษาวิจัย หรือเงินสนับสนุนในด้านผลิตภัณฑ์เครื่องมือ ต่างๆ จากบริษัทที่ตรงมาเข้าบุคคลนั้น หรือที่เข้ามายังบุคคลนั้น และสถาบันที่บุคคลนั้นอยู่

และเป็นประเด็นที่ตั้งคำถามถึง ความเที่ยงตรง integrity และ ความมีอิสระเที่ยงตรงในการตัดสิน ในการที่จะไม่รับ หรือรับตีพิมพ์บทความที่ส่งเข้ามา

และหลังจากที่มีการเปิดเผยข้อมูลดังกล่าว มีนักวิชาการและนักวิทยาศาสตร์ จากหลายสถาบัน ในต่างประเทศ รวมทั้งในสหรัฐอเมริกา ยุโรป และอังกฤษ ต่างให้ข้อมูลที่ตนเองประสบและถ่ายทอดในสื่อต่างๆโดยเฉพาะที่ประสบในช่วงโควิด
ที่เกี่ยวข้องกับการไม่ให้ลงตีพิมพ์ การใช้ยาบางตัว ที่มีการทดสอบแล้วว่าได้ผลทั้งๆที่ราคาถูก เข้าถึงได้ และจนกระทั่งถึงงานที่ตีพิมพ์ไปแล้วแต่บรรณาธิการถอดออก และ ที่สำคัญก็คือเรื่องผลกระทบของวัคซีนที่ ถึงชีวิตหรือพิการ
วารสารที่ถูกเปิดเผยเรื่องเหล่านี้ ที่กรรมการพิจารณาบทความได้รับเงินสนับสนุน ต่างก็เป็นวารสารชั้นนำ เช่น British Medical journal Lancet New England journal เป็นต้น
โดยมูลค่าของเงินสนับสนุนเหล่านี้มีจำนวนมากกว่า 1,000,000,000 เหรียญสหรัฐ

สูตรสำเร็จ เช่น เมื่อมีการพูด ผลกระทบของวัคซีน จะมีกลุ่มที่ออกมาวิจารณ์ว่า ไม่ได้ลงตีพิมพ์ในวารสารชั้นดี หรือตีพิมพ์ไปแล้วแต่บรรณาธิการสั่งถอดออกแสดงว่า เชื่อถือไม่ได้

แม้กระทั่ง บทความเรื่องโรคคล้ายวัวบ้าในมนุษย์หลังได้รับวัคซีนโควิดไปภายในช่วงสองสัปดาห์และเสียชีวิตภายในเวลาห้าเดือน จากคณะ ชองProf Luc Montagnier ซึ่งได้รับ รางวัล โนเบล จากการค้นพบไวรัสเอดส์ ถูกไม่รับพิจารณาในวารสาร จนกระทั่งตีพิมพ์ในวรสารในระดับรองลงมาและข้อมูลหลักฐานประกอบในบทความเป็นข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ที่คงเลือกได้ว่าน่าตื่นเต้นและประทับใจในการค้นพบและเชื่อมโยงการเกิดโรคคล้ายวัวบ้าในมนุษย์กับวัคซีนได้อย่างชัดเจน

https://jamanetwork.com/journals/jama/article-abstract/2824834?utm_source=substack&utm_medium=email

ศ นพ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา
ที่ปรึกษาวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก
มหาวิทยาลัยรังสิต

เชื่อถือได้หรือ? “หมอธีระวัฒน์” เผยวารสารการแพทย์ชื่อดังปล่อย กก.พิจารณาบทความรับผลประโยชน์จากบริษัทยา https://mgronline.com/qol/detail/9670000100753





Two years ago, we discussed the lack of evidence supporting the idea that peer review improves the quality of scientific research. 
Peer review is meant to guarantee the publication of high-quality research and enhance the quality of published manuscripts. The process should involve independent experts evaluating and assessing research for its quality and reliability.
However, a recent JAMA publication questions the integrity and independence of peer review. The research letter addresses the Payments by Drug and Medical Device Manufacturers to US Peer Reviewers of Major Medical Journals.
The authors identified peer reviewers for The BMJ, JAMA, The Lancet, and The New England Journal of Medicine (NEJM) using each journal’s 2022 reviewer list. They then used a US Open payments database to identify whether reviewers had received industry payments.
What did they find?
Between 2020 and 2022, 1155/1962 peer reviewers (59%) received at least one industry payment. More than half (54%) accepted general payments, while 32% received research payments.
Between 2020 and 2022, reviewers received over $1.2 billion in industry payments, including $1 billion to individuals or their institutions. Over the three years, the median general payment was $7,614.  
What does this mean?
Journals such as the BMJ pride themselves on their competing interest policy. Readers should know the author's competing interests if they publish an article. They ask reviewers to provide a fair, honest, and unbiased assessment of the manuscript's strengths and weaknesses. But how is that possible if you're on the payroll of pharma?
Furthermore, no one can identify who is being paid as there is no central database like the US where you can look up who is paying who. The voluntary nature of the system means companies can often conceal payments. For example, the drug industry’s self-regulatory body reprimanded  Novo Nordisk for failing to disclose approximately 500 payments worth £7.8m to over 150 recipients between 2020 and 2022.
This latest publication further enhances the status of peer review: it is broken.
A system that dates back over 200 years persists because no one can be bothered to address its shortcomings, and too many journals make hefty profits out of its inadequacies to affect the status quo.
THE JAMA authors consider that ‘additional research and transparency regarding industry payments in the peer review process are needed.” We think this will be another smokescreen to permit the current system to limp on. 
Editorial peer reviews are largely untested; their effects are uncertain and tainted by industry influence. The system needs a radical overhaul which starts with abandoning the current journal system that sucks in vast amounts of cash and distorts the research agenda.
The main reasons for the survival of a broken system are tied to the biomedical publication industry. For editors, peer review is a Kevlar shield, a sloping shoulders device - “it ain’t me guv” cop-out clause. For academic authors who have to climb the greasy pole, it’s a system that works both ways; for industry and all those who have to sell something, it’s a cheap advert chance. You only need to read our Antivirals series to understand how the system works and how the public was sold and continues to sell dummies. Rotten decision-makers only have to point to ghost-written trials in mega journals to justify their decisions.
You only have to look at our recent Zum Zum posts to see the devastating effects of this broken system. Or look up the Comirnaty series, which was written without data published in journals—it was regulatory data, the closest we are ever going to get to reality.
This post was written by two old geezers who have been peer-viewed and have peer-reviewed countless times.
Consider becoming a paid subscriber to receive new posts and support our work.

October 10, 2024
Payments by Drug and Medical Device Manufacturers to US Peer Reviewers of Major Medical Journals
David-Dan Nguyen, MDCM, MPH1,2; Anju Muramaya3,4; Anna-Lisa Nguyen, BHSc5; et al
วารสารถูกตั้งคำถามว่ามีความเที่ยงตรงหรือไม่? ในระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา วงการวิชาการ อาทิ แพทย์ วิทยาศาสตร์เป็นต้น จะให้ความเชื่อถือว่า บทความใดที่ตีพิมพ์ในวารสาร ที่เรียกว่า peer reviewed journal เป็นที่เชื่อถือได้ เพราะมีคณะกรรมการที่อ่าน บทความ และพิจารณาหลักฐานที่มากระบวนการศึกษา และจะทำการให้ความเห็นว่า จะไม่รับ หรือรับ แต่มีเงื่อนไข ประเด็นต้องแก้ไขใหญ่ หรือเล็ก หรือต้องมีการทำการทดลองใหม่ในบางส่วนหรือไม่ วารสารที่มีชื่อเหล่านี้จะถูกนำไปอ้างอิงในวงวิชาการต่างๆทำให้รับรู้กันทั่วไป ในการส่งบทความเพื่อ ไปตีพิมพ์ในวารสารนั้น ผู้วิจัยจะต้องประกาศว่ามีผลประโยชน์ใดหรือไม่อย่างไร กับ บริษัทผลิตภัณฑ์ ยา วัคซีน รวมทั้งได้ค่าตอบแทนในรูปลักษณะใด ไม่ว่าจะเป็นที่ปรึกษา รับเงิน หรือสิ่งตอบแทน รวมค่าเดินทางค่าที่พัก เวลาไปบรรยายในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้นๆ และเชื่อมโยงมาถึงการใช้ผลิตภัณฑ์หรือวัคซีนเป็นต้น แต่กรรมการผู้พิจารณา กลับไม่ต้องมีการแจงรายละเอียดชัดเจน เหล่านี้อาจมีเพียงแต่ว่า มีประเด็นที่ขัดแย้ง กับผู้ส่งบทความหรือผู้ทำวิจัย หรือไม่ หรือทำวิจัยในเรื่องเดียวกัน ที่อาจจะเป็นการนำข้อมูลดังกล่าวไปใช้ประโยชน์ส่วนตนได้ บทความนี้ที่ตีพิมพ์ในวารสารสมาคมแพทย์อเมริกัน (journal of American Medical Association JAMA) วันที่ 10 ตุลาคม 2024 ได้รายงานถึงหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับกรรมการผู้พิจารณาบทความ (reviewers) ว่า แท้จริงแล้ว เกินครึ่งของบุคคลกรรมการเหล่านี้ ต่างได้รับเงินสนับสนุนในการศึกษาวิจัย หรือเงินสนับสนุนในด้านผลิตภัณฑ์เครื่องมือ ต่างๆ จากบริษัทที่ตรงมาเข้าบุคคลนั้น หรือที่เข้ามายังบุคคลนั้น และสถาบันที่บุคคลนั้นอยู่ และเป็นประเด็นที่ตั้งคำถามถึง ความเที่ยงตรง integrity และ ความมีอิสระเที่ยงตรงในการตัดสิน ในการที่จะไม่รับ หรือรับตีพิมพ์บทความที่ส่งเข้ามา และหลังจากที่มีการเปิดเผยข้อมูลดังกล่าว มีนักวิชาการและนักวิทยาศาสตร์ จากหลายสถาบัน ในต่างประเทศ รวมทั้งในสหรัฐอเมริกา ยุโรป และอังกฤษ ต่างให้ข้อมูลที่ตนเองประสบและถ่ายทอดในสื่อต่างๆโดยเฉพาะที่ประสบในช่วงโควิด ที่เกี่ยวข้องกับการไม่ให้ลงตีพิมพ์ การใช้ยาบางตัว ที่มีการทดสอบแล้วว่าได้ผลทั้งๆที่ราคาถูก เข้าถึงได้ และจนกระทั่งถึงงานที่ตีพิมพ์ไปแล้วแต่บรรณาธิการถอดออก และ ที่สำคัญก็คือเรื่องผลกระทบของวัคซีนที่ ถึงชีวิตหรือพิการ วารสารที่ถูกเปิดเผยเรื่องเหล่านี้ ที่กรรมการพิจารณาบทความได้รับเงินสนับสนุน ต่างก็เป็นวารสารชั้นนำ เช่น British Medical journal Lancet New England journal เป็นต้น โดยมูลค่าของเงินสนับสนุนเหล่านี้มีจำนวนมากกว่า 1,000,000,000 เหรียญสหรัฐ สูตรสำเร็จ เช่น เมื่อมีการพูด ผลกระทบของวัคซีน จะมีกลุ่มที่ออกมาวิจารณ์ว่า ไม่ได้ลงตีพิมพ์ในวารสารชั้นดี หรือตีพิมพ์ไปแล้วแต่บรรณาธิการสั่งถอดออกแสดงว่า เชื่อถือไม่ได้ แม้กระทั่ง บทความเรื่องโรคคล้ายวัวบ้าในมนุษย์หลังได้รับวัคซีนโควิดไปภายในช่วงสองสัปดาห์และเสียชีวิตภายในเวลาห้าเดือน จากคณะ ชองProf Luc Montagnier ซึ่งได้รับ รางวัล โนเบล จากการค้นพบไวรัสเอดส์ ถูกไม่รับพิจารณาในวารสาร จนกระทั่งตีพิมพ์ในวรสารในระดับรองลงมาและข้อมูลหลักฐานประกอบในบทความเป็นข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ที่คงเลือกได้ว่าน่าตื่นเต้นและประทับใจในการค้นพบและเชื่อมโยงการเกิดโรคคล้ายวัวบ้าในมนุษย์กับวัคซีนได้อย่างชัดเจน https://jamanetwork.com/journals/jama/article-abstract/2824834?utm_source=substack&utm_medium=email ศ นพ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ที่ปรึกษาวิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต เชื่อถือได้หรือ? “หมอธีระวัฒน์” เผยวารสารการแพทย์ชื่อดังปล่อย กก.พิจารณาบทความรับผลประโยชน์จากบริษัทยา https://mgronline.com/qol/detail/9670000100753 Two years ago, we discussed the lack of evidence supporting the idea that peer review improves the quality of scientific research.  Peer review is meant to guarantee the publication of high-quality research and enhance the quality of published manuscripts. The process should involve independent experts evaluating and assessing research for its quality and reliability. However, a recent JAMA publication questions the integrity and independence of peer review. The research letter addresses the Payments by Drug and Medical Device Manufacturers to US Peer Reviewers of Major Medical Journals. The authors identified peer reviewers for The BMJ, JAMA, The Lancet, and The New England Journal of Medicine (NEJM) using each journal’s 2022 reviewer list. They then used a US Open payments database to identify whether reviewers had received industry payments. What did they find? Between 2020 and 2022, 1155/1962 peer reviewers (59%) received at least one industry payment. More than half (54%) accepted general payments, while 32% received research payments. Between 2020 and 2022, reviewers received over $1.2 billion in industry payments, including $1 billion to individuals or their institutions. Over the three years, the median general payment was $7,614.   What does this mean? Journals such as the BMJ pride themselves on their competing interest policy. Readers should know the author's competing interests if they publish an article. They ask reviewers to provide a fair, honest, and unbiased assessment of the manuscript's strengths and weaknesses. But how is that possible if you're on the payroll of pharma? Furthermore, no one can identify who is being paid as there is no central database like the US where you can look up who is paying who. The voluntary nature of the system means companies can often conceal payments. For example, the drug industry’s self-regulatory body reprimanded  Novo Nordisk for failing to disclose approximately 500 payments worth £7.8m to over 150 recipients between 2020 and 2022. This latest publication further enhances the status of peer review: it is broken. A system that dates back over 200 years persists because no one can be bothered to address its shortcomings, and too many journals make hefty profits out of its inadequacies to affect the status quo. THE JAMA authors consider that ‘additional research and transparency regarding industry payments in the peer review process are needed.” We think this will be another smokescreen to permit the current system to limp on.  Editorial peer reviews are largely untested; their effects are uncertain and tainted by industry influence. The system needs a radical overhaul which starts with abandoning the current journal system that sucks in vast amounts of cash and distorts the research agenda. The main reasons for the survival of a broken system are tied to the biomedical publication industry. For editors, peer review is a Kevlar shield, a sloping shoulders device - “it ain’t me guv” cop-out clause. For academic authors who have to climb the greasy pole, it’s a system that works both ways; for industry and all those who have to sell something, it’s a cheap advert chance. You only need to read our Antivirals series to understand how the system works and how the public was sold and continues to sell dummies. Rotten decision-makers only have to point to ghost-written trials in mega journals to justify their decisions. You only have to look at our recent Zum Zum posts to see the devastating effects of this broken system. Or look up the Comirnaty series, which was written without data published in journals—it was regulatory data, the closest we are ever going to get to reality. This post was written by two old geezers who have been peer-viewed and have peer-reviewed countless times. Consider becoming a paid subscriber to receive new posts and support our work. October 10, 2024 Payments by Drug and Medical Device Manufacturers to US Peer Reviewers of Major Medical Journals David-Dan Nguyen, MDCM, MPH1,2; Anju Muramaya3,4; Anna-Lisa Nguyen, BHSc5; et al
JAMANETWORK.COM
Payments by Drug and Medical Device Manufacturers to US Peer Reviewers of Major Medical Journals
This study characterizes payments by drug and medical device manufacturers to US peer reviewers of major medical journals.
Like
4
0 Comments 0 Shares 515 Views 0 Reviews