๒๘ กันยายน - วันพระราชทานธงชาติไทย
ประวัติธงไตรรงค์ เมื่อสยามได้ประกาศเข้าร่วมรบในสงครามโลกครั้งที่ ๑ เมื่อวันที่ ๒๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๖๐ รัชกาลที่ ๖ จึงได้มีพระราชประสงค์ในการเปลี่ยนแถบสีธงชาติสยามใหม่ จากเดิมที่เป็นริ้วแดงขาวสองสี ก็ให้เป็นสามสีดั่งเช่นธงชาติสำคัญของประเทศมหาอำนาจที่ร่วมรบเคียงบ่าเคียงไหล่ในนามว่าสัมพันธมิตร โดยพระองค์ได้ประกาศให้เพิ่มสีน้ำเงินแก่ลงบนแถบกลางของธงและประกาศไว้เมื่อวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๕๙ โดยพระองค์ได้พระราชทานนามธงชาติสยามแบบใหม่ที่ประกอบด้วยสีแดง สีขาว และสีน้ำเงินนี้ว่า “ไตรรงค์” และได้มีการประกาศใช้เป็นครั้งแรกในพระราชบัญญัติประกาศแก้ไขพระราชบัญญัติธงครั้งที่ ๒ ในวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๔๖๐
ข้อมูลและภาพจากเพจพิพิธภัณฑ์ธงชาติไทย
#Thaitimes
ประวัติธงไตรรงค์ เมื่อสยามได้ประกาศเข้าร่วมรบในสงครามโลกครั้งที่ ๑ เมื่อวันที่ ๒๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๖๐ รัชกาลที่ ๖ จึงได้มีพระราชประสงค์ในการเปลี่ยนแถบสีธงชาติสยามใหม่ จากเดิมที่เป็นริ้วแดงขาวสองสี ก็ให้เป็นสามสีดั่งเช่นธงชาติสำคัญของประเทศมหาอำนาจที่ร่วมรบเคียงบ่าเคียงไหล่ในนามว่าสัมพันธมิตร โดยพระองค์ได้ประกาศให้เพิ่มสีน้ำเงินแก่ลงบนแถบกลางของธงและประกาศไว้เมื่อวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๕๙ โดยพระองค์ได้พระราชทานนามธงชาติสยามแบบใหม่ที่ประกอบด้วยสีแดง สีขาว และสีน้ำเงินนี้ว่า “ไตรรงค์” และได้มีการประกาศใช้เป็นครั้งแรกในพระราชบัญญัติประกาศแก้ไขพระราชบัญญัติธงครั้งที่ ๒ ในวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๔๖๐
ข้อมูลและภาพจากเพจพิพิธภัณฑ์ธงชาติไทย
#Thaitimes
๒๘ กันยายน - วันพระราชทานธงชาติไทย
ประวัติธงไตรรงค์ เมื่อสยามได้ประกาศเข้าร่วมรบในสงครามโลกครั้งที่ ๑ เมื่อวันที่ ๒๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๖๐ รัชกาลที่ ๖ จึงได้มีพระราชประสงค์ในการเปลี่ยนแถบสีธงชาติสยามใหม่ จากเดิมที่เป็นริ้วแดงขาวสองสี ก็ให้เป็นสามสีดั่งเช่นธงชาติสำคัญของประเทศมหาอำนาจที่ร่วมรบเคียงบ่าเคียงไหล่ในนามว่าสัมพันธมิตร โดยพระองค์ได้ประกาศให้เพิ่มสีน้ำเงินแก่ลงบนแถบกลางของธงและประกาศไว้เมื่อวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๕๙ โดยพระองค์ได้พระราชทานนามธงชาติสยามแบบใหม่ที่ประกอบด้วยสีแดง สีขาว และสีน้ำเงินนี้ว่า “ไตรรงค์” และได้มีการประกาศใช้เป็นครั้งแรกในพระราชบัญญัติประกาศแก้ไขพระราชบัญญัติธงครั้งที่ ๒ ในวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๔๖๐
ข้อมูลและภาพจากเพจพิพิธภัณฑ์ธงชาติไทย
#Thaitimes