เวลาพูดถึงปัญหาชิป ขาดตลาด เรามักนึกถึงโรงงานเจอวิกฤต หรือจีน–ไต้หวันมีเรื่องกัน แต่รอบนี้ PwC เผยว่า ภัยคุกคามตัวจริงที่กำลังมา คือความเสี่ยงเรื่อง "ทองแดง" (copper)
ทองแดงไม่ใช่แค่วัตถุดิบทั่วไป → มันคือ "เส้นเลือด" ของชิปยุคใหม่ ใช้เป็นสายส่งสัญญาณในอินเตอร์คอนเน็กต์ระดับนาโน → เพราะเหนี่ยวนำกระแสไฟดี ทนความร้อนดี กว่าการใช้อลูมิเนียมแบบเดิม
แต่ปัญหาคือ — เหมืองทองแดงต้องใช้น้ำมหาศาลในการสกัด → และประเทศผู้ผลิตหลักอย่าง ชิลี (อันดับ 1 ของโลก) กำลังเจอภาวะแห้งแล้งรุนแรง → PwC คาดว่า 25% ของกำลังผลิตทองแดงในชิลีจะเสี่ยงภายใน 2035 และแตะ 75–100% ภายใน 2050
สถานการณ์จะยิ่งน่ากังวลขึ้น หากการปล่อยคาร์บอนไม่ลดลง → เพราะไม่ใช่แค่ชิลี — แต่ 17 ประเทศที่ส่งทองแดงให้วงการชิป จะเจอภัยแล้งใน 10 ปีข้างหน้า
ในขณะที่บางประเทศเริ่มลงทุนสร้างโรงกลั่นน้ำทะเล และรีไซเคิลน้ำ → แต่ประเทศที่ไม่มีชายฝั่ง หรือน้ำทะเลใช้งานไม่ได้ ก็อาจหมดทางเลือก
PwC คาดว่าภายในปี 2035 → 32% ของการผลิตชิปทั่วโลกจะพึ่งพาทองแดงจากแหล่งที่เสี่ยงภัยแล้ง
• และตัวเลขจะพุ่งเป็น 58% ในปี 2050 หากไม่ลดการปล่อยคาร์บอน
ชิลีคือผู้ผลิตทองแดงรายใหญ่สุดของโลก แต่ต้องพึ่งน้ำจำนวนมากในการทำเหมือง
• ปัจจุบัน 25% ของเหมืองในชิลีกำลังเผชิญภัยแล้ง
• อาจเพิ่มเป็น 75–100% ภายใน 2050
ทองแดงคือวัสดุหลักของ “interconnects” ในชิปยุคใหม่
• เพราะค่าความต้านทานต่ำและทนการเสื่อมสภาพ (electromigration) ดีกว่าอลูมิเนียม
PwC แนะให้แก้ปัญหา 3 ทาง:
• ลงทุนเทคโนโลยีรีไซเคิลน้ำและโรงกลั่นน้ำทะเล
• พัฒนา “วัสดุทดแทนทองแดง”
• กระจายซัพพลายเชน ไม่ให้กระจุกในประเทศที่เสี่ยงภัยแล้ง
บทเรียนจากวิกฤตชิปในยุคโควิด-19 (2020):
• เสียหาย GDP สหรัฐฯ ไป 1% และเยอรมนี 2.4%
• ตอกย้ำความเปราะบางของห่วงโซ่อุปทาน
https://www.techspot.com/news/108596-drought-stricken-copper-mines-may-disrupt-one-third.html
ทองแดงไม่ใช่แค่วัตถุดิบทั่วไป → มันคือ "เส้นเลือด" ของชิปยุคใหม่ ใช้เป็นสายส่งสัญญาณในอินเตอร์คอนเน็กต์ระดับนาโน → เพราะเหนี่ยวนำกระแสไฟดี ทนความร้อนดี กว่าการใช้อลูมิเนียมแบบเดิม
แต่ปัญหาคือ — เหมืองทองแดงต้องใช้น้ำมหาศาลในการสกัด → และประเทศผู้ผลิตหลักอย่าง ชิลี (อันดับ 1 ของโลก) กำลังเจอภาวะแห้งแล้งรุนแรง → PwC คาดว่า 25% ของกำลังผลิตทองแดงในชิลีจะเสี่ยงภายใน 2035 และแตะ 75–100% ภายใน 2050
สถานการณ์จะยิ่งน่ากังวลขึ้น หากการปล่อยคาร์บอนไม่ลดลง → เพราะไม่ใช่แค่ชิลี — แต่ 17 ประเทศที่ส่งทองแดงให้วงการชิป จะเจอภัยแล้งใน 10 ปีข้างหน้า
ในขณะที่บางประเทศเริ่มลงทุนสร้างโรงกลั่นน้ำทะเล และรีไซเคิลน้ำ → แต่ประเทศที่ไม่มีชายฝั่ง หรือน้ำทะเลใช้งานไม่ได้ ก็อาจหมดทางเลือก
PwC คาดว่าภายในปี 2035 → 32% ของการผลิตชิปทั่วโลกจะพึ่งพาทองแดงจากแหล่งที่เสี่ยงภัยแล้ง
• และตัวเลขจะพุ่งเป็น 58% ในปี 2050 หากไม่ลดการปล่อยคาร์บอน
ชิลีคือผู้ผลิตทองแดงรายใหญ่สุดของโลก แต่ต้องพึ่งน้ำจำนวนมากในการทำเหมือง
• ปัจจุบัน 25% ของเหมืองในชิลีกำลังเผชิญภัยแล้ง
• อาจเพิ่มเป็น 75–100% ภายใน 2050
ทองแดงคือวัสดุหลักของ “interconnects” ในชิปยุคใหม่
• เพราะค่าความต้านทานต่ำและทนการเสื่อมสภาพ (electromigration) ดีกว่าอลูมิเนียม
PwC แนะให้แก้ปัญหา 3 ทาง:
• ลงทุนเทคโนโลยีรีไซเคิลน้ำและโรงกลั่นน้ำทะเล
• พัฒนา “วัสดุทดแทนทองแดง”
• กระจายซัพพลายเชน ไม่ให้กระจุกในประเทศที่เสี่ยงภัยแล้ง
บทเรียนจากวิกฤตชิปในยุคโควิด-19 (2020):
• เสียหาย GDP สหรัฐฯ ไป 1% และเยอรมนี 2.4%
• ตอกย้ำความเปราะบางของห่วงโซ่อุปทาน
https://www.techspot.com/news/108596-drought-stricken-copper-mines-may-disrupt-one-third.html
เวลาพูดถึงปัญหาชิป ขาดตลาด เรามักนึกถึงโรงงานเจอวิกฤต หรือจีน–ไต้หวันมีเรื่องกัน แต่รอบนี้ PwC เผยว่า ภัยคุกคามตัวจริงที่กำลังมา คือความเสี่ยงเรื่อง "ทองแดง" (copper)
ทองแดงไม่ใช่แค่วัตถุดิบทั่วไป → มันคือ "เส้นเลือด" ของชิปยุคใหม่ ใช้เป็นสายส่งสัญญาณในอินเตอร์คอนเน็กต์ระดับนาโน → เพราะเหนี่ยวนำกระแสไฟดี ทนความร้อนดี กว่าการใช้อลูมิเนียมแบบเดิม
แต่ปัญหาคือ — เหมืองทองแดงต้องใช้น้ำมหาศาลในการสกัด → และประเทศผู้ผลิตหลักอย่าง ชิลี (อันดับ 1 ของโลก) กำลังเจอภาวะแห้งแล้งรุนแรง → PwC คาดว่า 25% ของกำลังผลิตทองแดงในชิลีจะเสี่ยงภายใน 2035 และแตะ 75–100% ภายใน 2050
สถานการณ์จะยิ่งน่ากังวลขึ้น หากการปล่อยคาร์บอนไม่ลดลง → เพราะไม่ใช่แค่ชิลี — แต่ 17 ประเทศที่ส่งทองแดงให้วงการชิป จะเจอภัยแล้งใน 10 ปีข้างหน้า
ในขณะที่บางประเทศเริ่มลงทุนสร้างโรงกลั่นน้ำทะเล และรีไซเคิลน้ำ → แต่ประเทศที่ไม่มีชายฝั่ง หรือน้ำทะเลใช้งานไม่ได้ ก็อาจหมดทางเลือก
✅ PwC คาดว่าภายในปี 2035 → 32% ของการผลิตชิปทั่วโลกจะพึ่งพาทองแดงจากแหล่งที่เสี่ยงภัยแล้ง
• และตัวเลขจะพุ่งเป็น 58% ในปี 2050 หากไม่ลดการปล่อยคาร์บอน
✅ ชิลีคือผู้ผลิตทองแดงรายใหญ่สุดของโลก แต่ต้องพึ่งน้ำจำนวนมากในการทำเหมือง
• ปัจจุบัน 25% ของเหมืองในชิลีกำลังเผชิญภัยแล้ง
• อาจเพิ่มเป็น 75–100% ภายใน 2050
✅ ทองแดงคือวัสดุหลักของ “interconnects” ในชิปยุคใหม่
• เพราะค่าความต้านทานต่ำและทนการเสื่อมสภาพ (electromigration) ดีกว่าอลูมิเนียม
✅ PwC แนะให้แก้ปัญหา 3 ทาง:
• ลงทุนเทคโนโลยีรีไซเคิลน้ำและโรงกลั่นน้ำทะเล
• พัฒนา “วัสดุทดแทนทองแดง”
• กระจายซัพพลายเชน ไม่ให้กระจุกในประเทศที่เสี่ยงภัยแล้ง
✅ บทเรียนจากวิกฤตชิปในยุคโควิด-19 (2020):
• เสียหาย GDP สหรัฐฯ ไป 1% และเยอรมนี 2.4%
• ตอกย้ำความเปราะบางของห่วงโซ่อุปทาน
https://www.techspot.com/news/108596-drought-stricken-copper-mines-may-disrupt-one-third.html
0 ความคิดเห็น
0 การแบ่งปัน
90 มุมมอง
0 รีวิว