7 ผัก ต้องปรุงสุกก่อนกิน
เมื่อนำผักมาปรุงอาหารด้วยความร้อน ทำให้ผนังเซลล์ของผักถูกทำลาย
ร่างกายมนุษย์จึงดูดซึมสารอาหารได้ดีขึ้น
1. แครอท(สุก) ร่างกายดูดซึมเบต้าแคโรทีนได้ดีขึ้น
และจะถูกเปลี่ยนเป็นไวตามิน Aมากขึ้น.
2. ผักโขม (สุก) ช่วยเพิ่มการดูดซึมธาตุเหล็กและแคลเซียม
รวมทั้งช่วยปลดปล่อยสารอาหารอื่นๆ ที่ถูกกักไว้ในผนังเซลล์.
3. มะเขือเทศ ปรุง(สุก)ผ่านความร้อน กับ น้ำมัน
ทำให้ สาร ไลโคปีน (Lycopene) ละลายออกมาได้ดีในน้ำมัน
ซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่ช่วยลดความเสี่ยงของโรคหัวใจและมะเร็ง.
4. ฟักทอง (สุก) เพิ่มการดูดซึมเบต้าแคโรทีนและสารต้านอนุมูลอิสระอื่นๆได้ดีขึ้น.
5. บรอกโคลี (สุก) เพิ่มการดูดซึมสารต้านอนุมูลอิสระ เช่น ลูทีน (lutein) และซีแซนทีน (zeaxanthin) ซึ่งมีผลดีต่อสุขภาพดวงตา.
6. พริกหวาน พริกหยวก (สุก) ช่วยเพิ่มการดูดซึมไวตามิน Aและสารต้านอนุมูลอิสระ.
7. กระหล่ำปลี (สุก)ช่วยลดสาร กอยโตรเจน (Goitrogens) อันตราย กับ ต่อมไทรอยด์
เมื่อนำผักมาปรุงอาหารด้วยความร้อน ทำให้ผนังเซลล์ของผักถูกทำลาย
ร่างกายมนุษย์จึงดูดซึมสารอาหารได้ดีขึ้น
1. แครอท(สุก) ร่างกายดูดซึมเบต้าแคโรทีนได้ดีขึ้น
และจะถูกเปลี่ยนเป็นไวตามิน Aมากขึ้น.
2. ผักโขม (สุก) ช่วยเพิ่มการดูดซึมธาตุเหล็กและแคลเซียม
รวมทั้งช่วยปลดปล่อยสารอาหารอื่นๆ ที่ถูกกักไว้ในผนังเซลล์.
3. มะเขือเทศ ปรุง(สุก)ผ่านความร้อน กับ น้ำมัน
ทำให้ สาร ไลโคปีน (Lycopene) ละลายออกมาได้ดีในน้ำมัน
ซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่ช่วยลดความเสี่ยงของโรคหัวใจและมะเร็ง.
4. ฟักทอง (สุก) เพิ่มการดูดซึมเบต้าแคโรทีนและสารต้านอนุมูลอิสระอื่นๆได้ดีขึ้น.
5. บรอกโคลี (สุก) เพิ่มการดูดซึมสารต้านอนุมูลอิสระ เช่น ลูทีน (lutein) และซีแซนทีน (zeaxanthin) ซึ่งมีผลดีต่อสุขภาพดวงตา.
6. พริกหวาน พริกหยวก (สุก) ช่วยเพิ่มการดูดซึมไวตามิน Aและสารต้านอนุมูลอิสระ.
7. กระหล่ำปลี (สุก)ช่วยลดสาร กอยโตรเจน (Goitrogens) อันตราย กับ ต่อมไทรอยด์
7 ผัก ต้องปรุงสุกก่อนกิน
เมื่อนำผักมาปรุงอาหารด้วยความร้อน ทำให้ผนังเซลล์ของผักถูกทำลาย
ร่างกายมนุษย์จึงดูดซึมสารอาหารได้ดีขึ้น
1. แครอท(สุก) ร่างกายดูดซึมเบต้าแคโรทีนได้ดีขึ้น
และจะถูกเปลี่ยนเป็นไวตามิน Aมากขึ้น.
2. ผักโขม (สุก) ช่วยเพิ่มการดูดซึมธาตุเหล็กและแคลเซียม
รวมทั้งช่วยปลดปล่อยสารอาหารอื่นๆ ที่ถูกกักไว้ในผนังเซลล์.
3. มะเขือเทศ ปรุง(สุก)ผ่านความร้อน กับ น้ำมัน
ทำให้ สาร ไลโคปีน (Lycopene) ละลายออกมาได้ดีในน้ำมัน
ซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่ช่วยลดความเสี่ยงของโรคหัวใจและมะเร็ง.
4. ฟักทอง (สุก) เพิ่มการดูดซึมเบต้าแคโรทีนและสารต้านอนุมูลอิสระอื่นๆได้ดีขึ้น.
5. บรอกโคลี (สุก) เพิ่มการดูดซึมสารต้านอนุมูลอิสระ เช่น ลูทีน (lutein) และซีแซนทีน (zeaxanthin) ซึ่งมีผลดีต่อสุขภาพดวงตา.
6. พริกหวาน พริกหยวก (สุก) ช่วยเพิ่มการดูดซึมไวตามิน Aและสารต้านอนุมูลอิสระ.
7. กระหล่ำปลี (สุก)ช่วยลดสาร กอยโตรเจน (Goitrogens) อันตราย กับ ต่อมไทรอยด์
0 ความคิดเห็น
0 การแบ่งปัน
60 มุมมอง
0 รีวิว