OPPO และ Realme โทรศัพท์ดีย์ๆที่ไม่ควรมีติดบ้าน
สภาองค์กรของผู้บริโภคได้แจ้งเตือนอันตรายจากแอปพลิเคชันเถื่อนที่อยู่นอก Play Store ของทาง Google โดยเฉพาะแอปฯ ‘สินเชื่อความสุข’ หรือ ‘Fineasy’ ที่ฝังมาพร้อมระบบปฏิบัติการหลังการอัปเดตสมาร์ทโฟน Oppo และ realme
ทางสภาองค์กรผู้บริโภคให้ข้อมูลว่าแอปฯ ดังกล่าวไม่สามารถลบออกจากเครื่องได้ และยังสามารถส่งการแจ้งเตือนเชิญชวนให้กู้เงิน รวมถึงเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้ เช่น รายชื่อผู้ติดต่อและเบอร์โทรศัพท์ การที่แอปฯ นี้ฝังตัวอยู่ในระบบปฏิบัติการของสมาร์ทโฟน ทำให้ผู้ใช้งานทั่วไปไม่สามารถควบคุม ป้องกันการเข้าถึงข้อมูลส่วนตัว หรือถอนการติดตั้งได้ด้วย
ล่าสุดวันนี้ นาย อิฐบูรณ์ อ้นวงษา รองเลขาธิการสำนักงานสภาผู้บริโภค เรียกร้องให้บริษัท OPPO และ Realme เร่งเปิดเผยข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับแอปกู้เงินเถื่อน “Fineasy” และ “สินเชื่อความสุข” ที่แอบติดตั้งมากับสมาร์ทโฟน โดยให้เปิดเผยว่าใครเป็นผู้พัฒนาแอปฯ และใครเป็นผู้ดำเนินธุรกิจเงินกู้ดังกล่าวด้วย
สภาผู้บริโภคเสนอให้ทั้ง 2 บริษัทปรับปรุงระบบปฏิบัติการหรืออัปเดตแอปฯ เพื่อให้ผู้บริโภคสามารถถอนการติดตั้งได้ด้วยตัวเองโดยไม่ต้องเดินทางไปศูนย์บริการ เนื่องจากขณะนี้พบเสียงสะท้อนจากผู้บริโภคว่าการปลดล็อกแอปฯ ทำได้เฉพาะที่ศูนย์บริการขนาดใหญ่ ซึ่งสร้างภาระให้ผู้บริโภค หากบริษัทไม่สามารถดำเนินการได้ ควรจ่ายเงินเยียวยาค่าเดินทางค่าเสียเวลาให้ผู้บริโภค 2,000 บาทต่อรายเพื่อชดเชยค่าใช้จ่ายในการเดินทางมาที่ศูนย์บริการ
“แม้ทั้งสองบริษัทจะออกแถลงการณ์ว่าจะแก้ไขปัญหาโดยการลบแอปฯ แต่จนถึงขณะนี้ยังไม่มีมาตรการที่เป็นรูปธรรม สภาผู้บริโภคจึงตั้งคำถามว่า การที่ OPPO และ Realme ไม่เร่งแก้ไขปัญหาอย่างเด็ดขาดนั้น อาจเป็นเพราะมีผลประโยชน์ทางธุรกิจ หรือส่วนแบ่งรายได้ร่วมกับผู้พัฒนาแอปฯ กู้เงินเถื่อนหรือไม่ ติดตามข่าวซีพๆแบบนี้ได้ที่
#คิงส์โพธิ์ดำ
สภาองค์กรของผู้บริโภคได้แจ้งเตือนอันตรายจากแอปพลิเคชันเถื่อนที่อยู่นอก Play Store ของทาง Google โดยเฉพาะแอปฯ ‘สินเชื่อความสุข’ หรือ ‘Fineasy’ ที่ฝังมาพร้อมระบบปฏิบัติการหลังการอัปเดตสมาร์ทโฟน Oppo และ realme
ทางสภาองค์กรผู้บริโภคให้ข้อมูลว่าแอปฯ ดังกล่าวไม่สามารถลบออกจากเครื่องได้ และยังสามารถส่งการแจ้งเตือนเชิญชวนให้กู้เงิน รวมถึงเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้ เช่น รายชื่อผู้ติดต่อและเบอร์โทรศัพท์ การที่แอปฯ นี้ฝังตัวอยู่ในระบบปฏิบัติการของสมาร์ทโฟน ทำให้ผู้ใช้งานทั่วไปไม่สามารถควบคุม ป้องกันการเข้าถึงข้อมูลส่วนตัว หรือถอนการติดตั้งได้ด้วย
ล่าสุดวันนี้ นาย อิฐบูรณ์ อ้นวงษา รองเลขาธิการสำนักงานสภาผู้บริโภค เรียกร้องให้บริษัท OPPO และ Realme เร่งเปิดเผยข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับแอปกู้เงินเถื่อน “Fineasy” และ “สินเชื่อความสุข” ที่แอบติดตั้งมากับสมาร์ทโฟน โดยให้เปิดเผยว่าใครเป็นผู้พัฒนาแอปฯ และใครเป็นผู้ดำเนินธุรกิจเงินกู้ดังกล่าวด้วย
สภาผู้บริโภคเสนอให้ทั้ง 2 บริษัทปรับปรุงระบบปฏิบัติการหรืออัปเดตแอปฯ เพื่อให้ผู้บริโภคสามารถถอนการติดตั้งได้ด้วยตัวเองโดยไม่ต้องเดินทางไปศูนย์บริการ เนื่องจากขณะนี้พบเสียงสะท้อนจากผู้บริโภคว่าการปลดล็อกแอปฯ ทำได้เฉพาะที่ศูนย์บริการขนาดใหญ่ ซึ่งสร้างภาระให้ผู้บริโภค หากบริษัทไม่สามารถดำเนินการได้ ควรจ่ายเงินเยียวยาค่าเดินทางค่าเสียเวลาให้ผู้บริโภค 2,000 บาทต่อรายเพื่อชดเชยค่าใช้จ่ายในการเดินทางมาที่ศูนย์บริการ
“แม้ทั้งสองบริษัทจะออกแถลงการณ์ว่าจะแก้ไขปัญหาโดยการลบแอปฯ แต่จนถึงขณะนี้ยังไม่มีมาตรการที่เป็นรูปธรรม สภาผู้บริโภคจึงตั้งคำถามว่า การที่ OPPO และ Realme ไม่เร่งแก้ไขปัญหาอย่างเด็ดขาดนั้น อาจเป็นเพราะมีผลประโยชน์ทางธุรกิจ หรือส่วนแบ่งรายได้ร่วมกับผู้พัฒนาแอปฯ กู้เงินเถื่อนหรือไม่ ติดตามข่าวซีพๆแบบนี้ได้ที่
#คิงส์โพธิ์ดำ
OPPO และ Realme โทรศัพท์ดีย์ๆที่ไม่ควรมีติดบ้าน
สภาองค์กรของผู้บริโภคได้แจ้งเตือนอันตรายจากแอปพลิเคชันเถื่อนที่อยู่นอก Play Store ของทาง Google โดยเฉพาะแอปฯ ‘สินเชื่อความสุข’ หรือ ‘Fineasy’ ที่ฝังมาพร้อมระบบปฏิบัติการหลังการอัปเดตสมาร์ทโฟน Oppo และ realme
ทางสภาองค์กรผู้บริโภคให้ข้อมูลว่าแอปฯ ดังกล่าวไม่สามารถลบออกจากเครื่องได้ และยังสามารถส่งการแจ้งเตือนเชิญชวนให้กู้เงิน รวมถึงเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้ เช่น รายชื่อผู้ติดต่อและเบอร์โทรศัพท์ การที่แอปฯ นี้ฝังตัวอยู่ในระบบปฏิบัติการของสมาร์ทโฟน ทำให้ผู้ใช้งานทั่วไปไม่สามารถควบคุม ป้องกันการเข้าถึงข้อมูลส่วนตัว หรือถอนการติดตั้งได้ด้วย
ล่าสุดวันนี้ นาย อิฐบูรณ์ อ้นวงษา รองเลขาธิการสำนักงานสภาผู้บริโภค เรียกร้องให้บริษัท OPPO และ Realme เร่งเปิดเผยข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับแอปกู้เงินเถื่อน “Fineasy” และ “สินเชื่อความสุข” ที่แอบติดตั้งมากับสมาร์ทโฟน โดยให้เปิดเผยว่าใครเป็นผู้พัฒนาแอปฯ และใครเป็นผู้ดำเนินธุรกิจเงินกู้ดังกล่าวด้วย
สภาผู้บริโภคเสนอให้ทั้ง 2 บริษัทปรับปรุงระบบปฏิบัติการหรืออัปเดตแอปฯ เพื่อให้ผู้บริโภคสามารถถอนการติดตั้งได้ด้วยตัวเองโดยไม่ต้องเดินทางไปศูนย์บริการ เนื่องจากขณะนี้พบเสียงสะท้อนจากผู้บริโภคว่าการปลดล็อกแอปฯ ทำได้เฉพาะที่ศูนย์บริการขนาดใหญ่ ซึ่งสร้างภาระให้ผู้บริโภค หากบริษัทไม่สามารถดำเนินการได้ ควรจ่ายเงินเยียวยาค่าเดินทางค่าเสียเวลาให้ผู้บริโภค 2,000 บาทต่อรายเพื่อชดเชยค่าใช้จ่ายในการเดินทางมาที่ศูนย์บริการ
“แม้ทั้งสองบริษัทจะออกแถลงการณ์ว่าจะแก้ไขปัญหาโดยการลบแอปฯ แต่จนถึงขณะนี้ยังไม่มีมาตรการที่เป็นรูปธรรม สภาผู้บริโภคจึงตั้งคำถามว่า การที่ OPPO และ Realme ไม่เร่งแก้ไขปัญหาอย่างเด็ดขาดนั้น อาจเป็นเพราะมีผลประโยชน์ทางธุรกิจ หรือส่วนแบ่งรายได้ร่วมกับผู้พัฒนาแอปฯ กู้เงินเถื่อนหรือไม่ ติดตามข่าวซีพๆแบบนี้ได้ที่
#คิงส์โพธิ์ดำ
0 ความคิดเห็น
0 การแบ่งปัน
174 มุมมอง
0 รีวิว