ผมไม่แน่ใจว่า “นายกรัฐมนตรี อ.อ.” เคยรู้เห็นเรื่องเกี่ยวกับ พรบ.การรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล ปี ๒๕๖๒ หรือไม่
หรือเธอถูกปิดบังไม่ให้รู้เรื่องนี้
หรือเคยศึกษาเรื่อง “กฎหมายทะเลหรือไม่?” ในฐานะที่เป็นนายกรัฐมนตรีมีความรับผิดชอบเรื่อง “ผลประโยชน์ของชาติทั้งมวล โดยเฉพาะผลประโยชน์ทางทะเล”
เอาละ “เรื่องมาตราส่วนแผ่นที่ระหว่างแผนที่ทางบกกับแผ่นที่ทางทะเลต่างกัน มาตรฐานการใช้มาตราส่วนต่างกัน แผนที่ทะเลมีมาตรฐานเดียวทั้งโลก แต่มาตราส่วนขึ้นอยู่กับขนาดของแผ่นที่ที่ใช้ว่าต้องการละเอียดมากน้อยอย่างไร ซึ่งมีมาแต่โบราณแต่มาตราส่วนแผ่นที่ทางบกนั้นแต่งต่างกันตามยุค ตามเวลา ที่มีการทำขึ้นเพื่อใช้ในข้อตกลง
แต่แผ่นที่ทะเลมีการกำหนดพิกัดตำบลสมมติบนผิวทะเลตามเส้นรุ้ง เส้นแวงที่มีฐานจากการวัดตำแหน่งของดวงดาวตามที่ Sextant เครื่องวัดมุมตามตำแหน่งของดวงดาวต่างๆ ที่กระทำต่อพื้นผิวทะเล
ทำให้วิธี “คำนวณลากเส้นมัธยฐานเลขาคณิตสมุทรศาสตร์เป็นสากล”
ดังนั้นการกำหนดเส้นมัธยฐานทางทะเลเพื่อแบ่งเขตทะเลจึงพิสูจน์ได้ง่ายเป็นสากลตาม กฎหมายทะเล ที่สหประชาชาติประกาศใช้
พรบ.ประกาศเขตไหล่ทวีปในอ่าวไทยของไทย พ.ศ.๒๕๑๖ (ค.ศ.๑๙๗๓) ก็เป็นไปตาม “หลักกฎหมายทะเลของสหประชาชาติว่าด้วยการกำหนดเขตไหล่ทวีป แต่เขตไหล่ทวีปไม่ละเอียดพอ ทำให้สหประชาชาติจึงออกกฎหมายทะเล ฉบับปี ค.ศ. ๑๙๘๒ (พ.ศ.๒๕๑๕) เพื่อ “ขยายความไหล่ทวีปที่มีขนาดไม่เท่ากันในพื้นที่ทะเลต่างๆ และแก้ไขด้วยการกำหนดเป็นระยะทาง ๒๐๐ ไมล์ทะเล” แต่ก็ยังใช้หลักการทางนิตินัยเดิมเป็นหลัก
It was not until 1982 with the UN Convention on the Law of the Sea (UNCLOS) that the 200 nautical mile exclusive economic zone was formally adopted.
ตัวแปรหลักๆ เรื่อง “พื้นที่ไหล่ทวีป (ก่อน พ.ศ.๒๕ค๑๕) เปลี่ยนเป็นเขตเศรษฐกิจจำเพาะ ๒๐๐ ไมล์ทะเล” แต่พื้นฐานการลากเส้นกำหนดเขตทะเลเป็นไปตาม “กฎหมายทะเล” ก่อนหน้านี้ คือ ๑. แนวเส้นชายฝั่งทะเลของไทยและวัดออกไป ๒๐๐ ไมล์ทะเลจากแนวเขตทะเลต่อเนื่องที่น้ำลงต่ำสุด โดยลากตามหลักกฎหมายทะเล ๒๕๑๕ (ค.ศ.๑๙๘๒) ๒. เกาะกูดเป็นของไทยตามสนธิสัญญาสยาม/ฝรั่งเศส และเกาะกูดตามกฎหมายทะเลนั้นมีทะเลอาณาเขตของมันเอง แม้ติดกับชาบฝั่งทะเลของกัมพูชาก็ตามก็มีกฎหมายกำหนดวิธีกำหนดเขตชายฝั่งของเกาะกูด
ดังนั้นเรื่อง “พื้นที่ไหล่ทวีปหรือเขตเศรษฐกิจจำเพาะ ๒๐๐ ไมล์ทะเลไม่มีการทับซ้อนกัน” อย่างแน่นอน (ศึกษาเพิ่มเติมจาก IILSS - International Institue for Law of the Sea Studies ซึ่งเป็นองค์กรที่ปรึกษากฎหมายทะเลอิสระ)
ไม่ทราบว่านายกรัฐมนตรี อ.อ.รู้เรื่องหรือเปล่า (เห็นท่าทางจะใช้ IPad ได้คล่องแคล่ว).
:Vachara Riddhagni
หรือเธอถูกปิดบังไม่ให้รู้เรื่องนี้
หรือเคยศึกษาเรื่อง “กฎหมายทะเลหรือไม่?” ในฐานะที่เป็นนายกรัฐมนตรีมีความรับผิดชอบเรื่อง “ผลประโยชน์ของชาติทั้งมวล โดยเฉพาะผลประโยชน์ทางทะเล”
เอาละ “เรื่องมาตราส่วนแผ่นที่ระหว่างแผนที่ทางบกกับแผ่นที่ทางทะเลต่างกัน มาตรฐานการใช้มาตราส่วนต่างกัน แผนที่ทะเลมีมาตรฐานเดียวทั้งโลก แต่มาตราส่วนขึ้นอยู่กับขนาดของแผ่นที่ที่ใช้ว่าต้องการละเอียดมากน้อยอย่างไร ซึ่งมีมาแต่โบราณแต่มาตราส่วนแผ่นที่ทางบกนั้นแต่งต่างกันตามยุค ตามเวลา ที่มีการทำขึ้นเพื่อใช้ในข้อตกลง
แต่แผ่นที่ทะเลมีการกำหนดพิกัดตำบลสมมติบนผิวทะเลตามเส้นรุ้ง เส้นแวงที่มีฐานจากการวัดตำแหน่งของดวงดาวตามที่ Sextant เครื่องวัดมุมตามตำแหน่งของดวงดาวต่างๆ ที่กระทำต่อพื้นผิวทะเล
ทำให้วิธี “คำนวณลากเส้นมัธยฐานเลขาคณิตสมุทรศาสตร์เป็นสากล”
ดังนั้นการกำหนดเส้นมัธยฐานทางทะเลเพื่อแบ่งเขตทะเลจึงพิสูจน์ได้ง่ายเป็นสากลตาม กฎหมายทะเล ที่สหประชาชาติประกาศใช้
พรบ.ประกาศเขตไหล่ทวีปในอ่าวไทยของไทย พ.ศ.๒๕๑๖ (ค.ศ.๑๙๗๓) ก็เป็นไปตาม “หลักกฎหมายทะเลของสหประชาชาติว่าด้วยการกำหนดเขตไหล่ทวีป แต่เขตไหล่ทวีปไม่ละเอียดพอ ทำให้สหประชาชาติจึงออกกฎหมายทะเล ฉบับปี ค.ศ. ๑๙๘๒ (พ.ศ.๒๕๑๕) เพื่อ “ขยายความไหล่ทวีปที่มีขนาดไม่เท่ากันในพื้นที่ทะเลต่างๆ และแก้ไขด้วยการกำหนดเป็นระยะทาง ๒๐๐ ไมล์ทะเล” แต่ก็ยังใช้หลักการทางนิตินัยเดิมเป็นหลัก
It was not until 1982 with the UN Convention on the Law of the Sea (UNCLOS) that the 200 nautical mile exclusive economic zone was formally adopted.
ตัวแปรหลักๆ เรื่อง “พื้นที่ไหล่ทวีป (ก่อน พ.ศ.๒๕ค๑๕) เปลี่ยนเป็นเขตเศรษฐกิจจำเพาะ ๒๐๐ ไมล์ทะเล” แต่พื้นฐานการลากเส้นกำหนดเขตทะเลเป็นไปตาม “กฎหมายทะเล” ก่อนหน้านี้ คือ ๑. แนวเส้นชายฝั่งทะเลของไทยและวัดออกไป ๒๐๐ ไมล์ทะเลจากแนวเขตทะเลต่อเนื่องที่น้ำลงต่ำสุด โดยลากตามหลักกฎหมายทะเล ๒๕๑๕ (ค.ศ.๑๙๘๒) ๒. เกาะกูดเป็นของไทยตามสนธิสัญญาสยาม/ฝรั่งเศส และเกาะกูดตามกฎหมายทะเลนั้นมีทะเลอาณาเขตของมันเอง แม้ติดกับชาบฝั่งทะเลของกัมพูชาก็ตามก็มีกฎหมายกำหนดวิธีกำหนดเขตชายฝั่งของเกาะกูด
ดังนั้นเรื่อง “พื้นที่ไหล่ทวีปหรือเขตเศรษฐกิจจำเพาะ ๒๐๐ ไมล์ทะเลไม่มีการทับซ้อนกัน” อย่างแน่นอน (ศึกษาเพิ่มเติมจาก IILSS - International Institue for Law of the Sea Studies ซึ่งเป็นองค์กรที่ปรึกษากฎหมายทะเลอิสระ)
ไม่ทราบว่านายกรัฐมนตรี อ.อ.รู้เรื่องหรือเปล่า (เห็นท่าทางจะใช้ IPad ได้คล่องแคล่ว).
:Vachara Riddhagni
ผมไม่แน่ใจว่า “นายกรัฐมนตรี อ.อ.” เคยรู้เห็นเรื่องเกี่ยวกับ พรบ.การรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล ปี ๒๕๖๒ หรือไม่
หรือเธอถูกปิดบังไม่ให้รู้เรื่องนี้
หรือเคยศึกษาเรื่อง “กฎหมายทะเลหรือไม่?” ในฐานะที่เป็นนายกรัฐมนตรีมีความรับผิดชอบเรื่อง “ผลประโยชน์ของชาติทั้งมวล โดยเฉพาะผลประโยชน์ทางทะเล”
เอาละ “เรื่องมาตราส่วนแผ่นที่ระหว่างแผนที่ทางบกกับแผ่นที่ทางทะเลต่างกัน มาตรฐานการใช้มาตราส่วนต่างกัน แผนที่ทะเลมีมาตรฐานเดียวทั้งโลก แต่มาตราส่วนขึ้นอยู่กับขนาดของแผ่นที่ที่ใช้ว่าต้องการละเอียดมากน้อยอย่างไร ซึ่งมีมาแต่โบราณแต่มาตราส่วนแผ่นที่ทางบกนั้นแต่งต่างกันตามยุค ตามเวลา ที่มีการทำขึ้นเพื่อใช้ในข้อตกลง
แต่แผ่นที่ทะเลมีการกำหนดพิกัดตำบลสมมติบนผิวทะเลตามเส้นรุ้ง เส้นแวงที่มีฐานจากการวัดตำแหน่งของดวงดาวตามที่ Sextant เครื่องวัดมุมตามตำแหน่งของดวงดาวต่างๆ ที่กระทำต่อพื้นผิวทะเล
ทำให้วิธี “คำนวณลากเส้นมัธยฐานเลขาคณิตสมุทรศาสตร์เป็นสากล”
ดังนั้นการกำหนดเส้นมัธยฐานทางทะเลเพื่อแบ่งเขตทะเลจึงพิสูจน์ได้ง่ายเป็นสากลตาม กฎหมายทะเล ที่สหประชาชาติประกาศใช้
พรบ.ประกาศเขตไหล่ทวีปในอ่าวไทยของไทย พ.ศ.๒๕๑๖ (ค.ศ.๑๙๗๓) ก็เป็นไปตาม “หลักกฎหมายทะเลของสหประชาชาติว่าด้วยการกำหนดเขตไหล่ทวีป แต่เขตไหล่ทวีปไม่ละเอียดพอ ทำให้สหประชาชาติจึงออกกฎหมายทะเล ฉบับปี ค.ศ. ๑๙๘๒ (พ.ศ.๒๕๑๕) เพื่อ “ขยายความไหล่ทวีปที่มีขนาดไม่เท่ากันในพื้นที่ทะเลต่างๆ และแก้ไขด้วยการกำหนดเป็นระยะทาง ๒๐๐ ไมล์ทะเล” แต่ก็ยังใช้หลักการทางนิตินัยเดิมเป็นหลัก
It was not until 1982 with the UN Convention on the Law of the Sea (UNCLOS) that the 200 nautical mile exclusive economic zone was formally adopted.
ตัวแปรหลักๆ เรื่อง “พื้นที่ไหล่ทวีป (ก่อน พ.ศ.๒๕ค๑๕) เปลี่ยนเป็นเขตเศรษฐกิจจำเพาะ ๒๐๐ ไมล์ทะเล” แต่พื้นฐานการลากเส้นกำหนดเขตทะเลเป็นไปตาม “กฎหมายทะเล” ก่อนหน้านี้ คือ ๑. แนวเส้นชายฝั่งทะเลของไทยและวัดออกไป ๒๐๐ ไมล์ทะเลจากแนวเขตทะเลต่อเนื่องที่น้ำลงต่ำสุด โดยลากตามหลักกฎหมายทะเล ๒๕๑๕ (ค.ศ.๑๙๘๒) ๒. เกาะกูดเป็นของไทยตามสนธิสัญญาสยาม/ฝรั่งเศส และเกาะกูดตามกฎหมายทะเลนั้นมีทะเลอาณาเขตของมันเอง แม้ติดกับชาบฝั่งทะเลของกัมพูชาก็ตามก็มีกฎหมายกำหนดวิธีกำหนดเขตชายฝั่งของเกาะกูด
ดังนั้นเรื่อง “พื้นที่ไหล่ทวีปหรือเขตเศรษฐกิจจำเพาะ ๒๐๐ ไมล์ทะเลไม่มีการทับซ้อนกัน” อย่างแน่นอน (ศึกษาเพิ่มเติมจาก IILSS - International Institue for Law of the Sea Studies ซึ่งเป็นองค์กรที่ปรึกษากฎหมายทะเลอิสระ)
ไม่ทราบว่านายกรัฐมนตรี อ.อ.รู้เรื่องหรือเปล่า (เห็นท่าทางจะใช้ IPad ได้คล่องแคล่ว).
:Vachara Riddhagni
0 ความคิดเห็น
0 การแบ่งปัน
98 มุมมอง
0 รีวิว